1 / 62

การดำเนินงานเด็กวัยเรียน ปี ๒๕๕๖

การดำเนินงานเด็กวัยเรียน ปี ๒๕๕๖. นางวิไลพร คลีกร นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ. วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน. ตัวชี้วัดสำคัญ งานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี 2556.

yovela
Télécharger la présentation

การดำเนินงานเด็กวัยเรียน ปี ๒๕๕๖

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงานเด็กวัยเรียนปี ๒๕๕๖ นางวิไลพร คลีกร นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ

  2. วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัดสำคัญงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี 2556 1.อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2.อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี ผลกระทบระดับชาติ 10 ปี เด็ก สตรี อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 18 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน (ปี 55 : 29.1) อัตราตายทารก ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพพันคน (ปท.ปี 53 : 7.0) อัตราตายปริกำเนิด ไม่เกิน 9 ต่อการเกิดพันคน (ปี 54 : 5.8) ผลลัพธ์ 3 -5 ปี เด็กเรียน วัยรุ่น อัตราการคลอดในหญิงอายุ 15 -19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อประชากรพันคน (ปี 54 : 54.5) ร้อยละเด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน ไม่เกิน 15 (-) เด็ก สตรี ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอด ไม่เกิน 5 (-) อัตราของภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอดไม่เกิน 25 ต่อการเกิดมีชีพพันคน (ปี 55 : 17.3) ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่า 60 (ปี 55: 48.7) ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกิน 7 (ปี 55 : 8.5) ร้อยละของเด็กแรกเกิด – ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ไม่น้อยกว่า 50 (ปี 55 : 63.3) ร้อยละของเด็กที่ติดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก ไม่เกิน 2 (ปี 55 : 1.9) เด็กเรียน วัยรุ่น ร้อยละของเด็กวัยเรียน (0 -12 ปี) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า 70 (ปี 55 : ส่วนสูงระดับดี 82.5 รูปร่างสมส่วน 72.3) ร้อยละเด็กวัยเรียน (12 ปี) ปราศจากฟันผุ ร้อยละ 55 (สำรวจ ปี 50 : 51.4) สูงอายุ ร้อยละผู้สูงอายุ ผู้พิการได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ ไม่น้อยกว่า 80 (-) จำนวนอำเภอผ่านเกณฑ์อำเภอ 80 ปียังแจ๋ว อย่างน้อยจังหวัดละ 1 อำเภอ (-) ผู้สูงอายุ 80 ปี ยังแจ๋วร้อยละ 30 (-) อำเภอที่เข้าร่วมโครงการมีตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลต้นแบบด้านการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ร้อยละ 20 (ปี 54-55 : 126 ตำบล) ผู้สูงอายุมีฟันใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 20 ซี่ ร้อยละ 60 (สำรวจ ปี 50 : 50.1) วัยทำงาน ร้อยละสตรีที่มีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่า 80 (ปี 55 : 91) ร้อยละของสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่า 80 (-) สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ()- ร้อยละชายอายุ 15 ปีขึ้นไปมีรอบเอวน้อยกว่า 90 cmsมากกว่า 85 (ปี 55 : 87) ร้อยละหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไปมีรอบเอวน้อยกว่า 80 cmsมากกว่า 70 (ปี 55 : 81.2) เด็กปฐมวัย ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่า 90 (ปี 55 : 98.4) ร้อยละของเด็กปฐมวัย (3 ปี) มีปัญหาฟันผุไม่เกิน 60 (สำรวจ ปี 50 : 55.4) ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีน้ำหนักตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 85 (ปี 55 : 92.2) ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีส่วนสูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูงและสูงรวมกัน ไม่น้อยกว่า 95 (ปี 55 : 91.2) ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า 90 (ปี 55 : 90.2) ผลลัพธ์ 1-2 ปี • สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพ • ร้อยละของโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม (ควบคุมน้ำหวานและขนมกรุบกรอบ )ไม่น้อยกว่า 75 (ปี 54: 53.8) • ร้านอาหารและแผงลอยผ่าน CFGT ร้อยละ 85 (ปท. 87.1 เขต 85.03) • ตลาดสดน่าซื้อ ร้อยละ 80 หรือเพิ่มขึ้นจังหวัดละ 1 แห่ง (ปท. 89.4 เขต 83.3) • ตลาดนัดน่าซื้อจังหวัดละ 1 แห่ง ( - ) • อำเภออาหารปลอดภัย 1 จังหวัด 1 อำเภอ ( - ) • สถานบริการสาธารณสุขสังกัด สธ. ดำเนินการกิจกรรม GREEN ได้ครบ เขตละ 25 แห่ง(ปี 55 : ต้นแบบ 6 แห่ง) • อปท.ที่มีการพัฒนาระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร เขตละ 2 แห่ง (ปี 55 : 4 แห่ง) • อปท.ที่มีการพัฒนาระบบการจัดการน้ำบริโภค เขตละ 4 แห่ง (ปี 55 : ผ่าน SOPระดับพื้นฐาน4 แห่ง) • ระบบประปาที่พัฒนาตามเกณฑ์น้ำประปาดื่มได้ เขตละ 16 แห่ง (ปี 55 :18 แห่ง) • การพัฒนาต้นแบบด้าน HIA เขตละ 1 แห่ง ( ปี 55 : 1 เรื่อง) • จำนวนเรื่องเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เขตละ 1 แห่ง • การพัฒนาส้วมสาธารณะให้ได้มาตรฐาน HAS • โรงเรียนสังกัด สพฐ. ร้อยละ 65(ปี 55 : 39.11) • ศาสนสถาน (วัดในสังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนา) ร้อยละ 40 (ปี 55 : 3.82) • ส้วมสาธารณะที่ให้บริการส้วมนั่งราบ (ห้อยขา) ร้อยละ 65(-) • ร้อยละศดล.จัดผลไม้เป็นอาหารว่างให้เด็ก 3-5 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 85 (.......) • .วัดส่งเสริมสุขภาพ/ปลอดโรคผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานร้อยละ20(ปี 54 : 34 วัด) • ร้อยละสถานประกอบการอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่วย(Primary GMP) ได้รับอนุญาตตามกม. ไม่น้อยกว่า 70 (-) กระบวน การ วัยทำงาน จำนวนศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง จังหวัดละ 2 แห่ง ร้อยละ 100 ของรพช./รพท./รพศ. ดำเนินการคลินิก DPAC รพ.สต.ดำเนินงานคลินิก DPAcร้อยละ 50 ของทุกอำเภอ รพ.สส.ด้านอาหารและโภชนาการ ร้อยละ 80 หมู่บ้าน/ชุมชนลดหวานหวานมันเค็มลดอ้วนลดโรค ร้อยละ 15 ของหมู่บ้านทั้งหมด จำนวน รพ.ที่สมัครใจพัฒนาตนเองเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ปี 2555 อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง เด็ก สตรี ร้อยละของ ANC คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 (ปท. ปี 54 : 30) ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 ร้อยละของ รพ.สต. ผ่านเกณฑ์ รพ.สต. สายใยรักแห่งครอบครัว ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 35 ของอำเภอ ๆละ 1 ตำบล (-) ร้อยละของตำบลเป้าหมายผ่านเกณฑ์ตำบลนมแม่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 ของอำเภอ ๆละ 1 ตำบล(ปี 55 : นำร่อง 5 อำเภอ) ร้อยละของ รพ.ผ่านมาตรฐานสายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง ไม่น้อยกว่า 95 (ปี 55 : 98.7) เด็กปฐมวัย ร้อยละของ WCC คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 (ปท.ปี 52 : 1.1) ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ (ระดับดีและดีมาก) ไม่น้อยกว่า 70 (ปี 55 : 78.4) เด็กเรียน วัยรุ่น รพ.สังกัด สธ.ผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรอง รพ.ตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน ร้อยละ 30 (เขตปี 55 : 13.9) จำนวน ร.ร. ผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองโรงเรียนส่งเสริมระดับเพชร จังหวัดละ 2 แห่ง (เขตปี 55 : 7 แห่ง) ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี เข้าถึงบริการทันตกรรม ไม่น้อยกว่า 20 (-) ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน 20 (-) ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี ได้รับการเคลือบฟลูออไรด์ 80( -) หมายเหตุ B = ตัวชี้วัดกระทรวง B = ตัวชี้วัดกรมB = ตัวชี้วัด Node ข้อมูล ณ 7 ธันวาคม 2555

  3. ตัวชี้วัดกระทรวงปี 2556 • ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-12 ปี) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า 70 (ปี 55 : ส่วนสูงระดับดี 82.5 รูปร่างสมส่วน 72.3) • ร้อยละเด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน ไม่เกิน 15 • จำนวน ร.ร. ผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองโรงเรียนส่งเสริมระดับเพชร จังหวัดละ 3 แห่ง (เขตปี 55 : 7 แห่ง)

  4. ตัวชี้วัดกระทรวงปี ๒๕๕๖ • ร้อยละ 50 ของโรงเรียนประถมศึกษาดำเนินกิจกรรม อย.น้อย • ร้อยละ 77 ของโรงเรียนประถมศึกษาขยายโอกาสดำเนินกิจกรรม อย.น้อย • ร้อยละ 75 ของโรงเรียนมัธยมศึกษาดำเนินกิจกรรม อย.น้อย • ร้อยละ 50 สถานศึกษาดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โรงเรียน อย.น้อย ระดับดีขึ้นไป

  5. คำนิยามเด็กมีส่วนสูงระดับดีและสมส่วนคำนิยามเด็กมีส่วนสูงระดับดีและสมส่วน ส่วนสูงระดับดี หมายถึง เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูง หรือ สูงกว่าเกณฑ์ เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน หมายถึงเด็กมีการเจริญเติบโตดีทั้งส่วนสูงและน้ำหนัก (ในคนเดียวกัน) มีลักษณะการเจริญเติบโต 3 แบบ คือ(มีรายละเอียด) 1. เด็กมีส่วนสูงระดับสูงตามเกณฑ์และมีรูปร่างสมส่วน 2. เด็กมีส่วนสูงระดับค่อนข้างสูงและมีรูปร่างสมส่วน 3. เด็กมีส่วนสูงระดับสูงกว่าเกณฑ์และมีรูปร่างสมส่วน

  6. สูงสมส่วน สมองดี แข็งแรง โครงสร้างดี สมรรถภาพดี พัฒนาสู่ความเป็นเลิศด้านกีฬา สูงสมส่วน สมองดี มีความสมารถในการเรียนรู้ จดจำ พัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ โภชนาการดี แข็งแรง มีภูมิต้านทานโรค ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

  7. เด็กไทยเตี้ยกว่าเกณฑ์มาตรฐานองค์การอนามัยโลกเด็กไทยเตี้ยกว่าเกณฑ์มาตรฐานองค์การอนามัยโลก เตี้ยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน • เด็กชาย อายุ 11-12 ปี 6 เซนติเมตร • เด็กหญิง อายุ 11-12 ปี 4.5 เซนติเมตร • เด็กชาย อายุ 15-17 ปี 9 เซนติเมตร • เด็กหญิง อายุ 15-17 ปี 7 เซนติเมตร

  8. สารอาหารกับส่วนสูงและภาวะเตี้ยกว่าเกณฑ์สารอาหารกับส่วนสูงและภาวะเตี้ยกว่าเกณฑ์ • ปริมาณพลังงาน โปรตีนจากเนื้อสัตว์(สังกะสีและวิตามินบี 12)และไขมันที่เด็กได้รับ อธิบายความแตกต่างของความยาวและส่วนสูงของเด็กได้ 18-30% • การได้รับอาหารตามวัยที่มีคุณค่าโภชนาการครบถ้วนมีส่วนสูงเพิ่มขึ้น>กลุ่มได้อาหารไม่ครบถ้วน 30% • ความแตกต่างของส่วนสูงที่อายุ 2 ขวบจะคงอยู่จนถึงวัยผู้ใหญ่

  9. สาเหตุของภาวะเตี้ยกว่าเกณฑ์สาเหตุของภาวะเตี้ยกว่าเกณฑ์ • โภชนาการ :พลังงาน โปรตีน micronutrients-สังกะสี(เนื้อสัตว์ ถั่ว nuts) เหล็ก(ตับ เนื้อสัตว์ ไข่แดง ผักใบเขียว ถั่ว legumesและnuts) ไอโอดีน(โปรตีนจากเนื้อสัตว์) • โรคติดเชื้อ • ความสัมพันธ์แม่-ลูก การเลี้ยงดูเด็ก ภาวะโภชนาการของแม่

  10. คุณค่าทางโภชนาการของนมสด 1 แก้ว( 200 มล.)

  11. ปริมาณสารอาหารที่ได้จากนมจืด 1 แก้ว (200 มล.)เทียบกับปริมาณสารอาหารที่แนะนำต่อวัน(%) • โปรตีน 13 • ไขมัน 12 โคเลสเตอรอล 5 • วิตามิน บี 2 28 • วิตามินเอ 7 • แคลเซียม 28

  12. นมกับสุขภาพ • ป้องกันโรคกระดูกพรุน/ชะลอการเสื่อมของกระดูก • ลดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ • ลดความดันโลหิตสูง • ลดการสะสมของไขมันในร่างกาย/มีผลต่อการลดน้ำหนัก • ลดความเสี่ยงต่อ Metabolic syndrome • ลดโคเลสเตอรอล

  13. ดื่มนมอย่างไรจะสบายท้องดื่มนมอย่างไรจะสบายท้อง • ดื่มนมให้เหมาะสมกับวัย - เด็ก/วัยเรียน ดื่มนมจืด 2-3 แก้ว/วัน - วัยทำงาน/ผู้สูงอายุ 1-2 แก้ว/วัน - ผู้ที่มีน้ำหนักเกิน/มีไขมันในเลือดสูง ดื่มนมพร่อง มันเนยหรือนมขาดมันเนย • ดื่มทีละน้อยแล้วค่อยเพิ่มปริมาณขึ้น • ดื่มนมหลังอาหารหรือเมื่อท้องไม่ว่าง • บริโภคผลิตภัณฑ์นมที่ผ่านกระบวนการหมักโดยเชื้อจุลินทรีย์

  14. สถานการณ์พัฒนาการและไอคิวของเด็กไทยสถานการณ์พัฒนาการและไอคิวของเด็กไทย ผลการสำรวจสุขภาพปชช.ไทยครั้งที่ 4 ในปี 2551-2552 • ผลการสำรวจไอคิวเด็กนักเรียนไทยของกรมสุขภาพจิตพ.ศ. 2554: ไอคิวเด็กนักเรียนไทย เฉลี่ย 98.59 เด็ก 48.5% มีไอคิวอยู่ในเกณฑ์ตํ่ากว่า 100 • ปีการศึกษา 2554: ผลสอบ O-NET ม 6 คะแนนเฉลี่ยเกิน 50 วิชาเดียว คือ สุขศึกษา ได้คะแนนมัธยฐานเกิน 50 มี 2 วิชา คือ สุขศึกษา และการงานอาชีพฯ •

  15. สาเหตุที่ขัดขวางไม่ให้เด็กมีพัฒนาการเต็มศักยภาพสาเหตุที่ขัดขวางไม่ให้เด็กมีพัฒนาการเต็มศักยภาพ องค์การยูนิเซฟ พบว่า ทั่วโลกมีเด็กปฐมวัย 200 ล้านคน ที่ไม่สามารถพัฒนาสติปัญญาและอารมณ์ได้เต็มศักยภาพ ด้วยสาเหตุปัจจัยที่ป้องกันได้ 4 ประการ • ภาวะทุพโภชนาการ • การขาดธาตุไอโอดีน • โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก • การขาดการเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่กระตุ้นพัฒนาการอย่างเหมาะสม ปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่น • ปัจจัยเสี่ยง: การเติบโตตํ่าในครรภ์แม่ ติดเชื้อมาลาเรีย สัมผัสตะกั่ว ติดเชื้อ HIV แม่ซึมเศร้า เด็กในสถานเลี้ยงเด็ก ความรุนแรง • ปัจจัยป้องกัน: ได้รับนมแม่ ระดับการศึกษาของแม่

  16. น้ำหนักสมอง นน.สมอง (กรม) 1600 1400 1200 1000 800 Male Female 600 400 200 0 81‐85  อายุ (ป) 10‐12 19‐21 56‐60 แรกเกิด 1 2 3

  17. ผลของภาวะขาดสารอาหารต่อสติปัญญาผลของภาวะขาดสารอาหารต่อสติปัญญา ภาวะขาดสารอาหาร (Undernutrition) มีผลเสีย โดยตรงต่อ •โครงสร้างสมอง -brain’s macrostructure e.g. hippocampus -microstructure e.g. myelination of neurons •Level and operation of neurotransmitters e.g. dopamine levels or receptor numbers •การพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ และ exploratory behaviour ช่วงวิกฤต: จากในครรภ์ถึงสอง-สามปีแรก Brown & Pollitt, 1996; Pollitt E et al, 1996

  18. ค่าคะแนนเชาว์ปัญญาแยกตามอายุโครงการวิจัยองค์รวมเด็กไทย พ.ศ.2547 น้ำหนักสมอง อายุ 1 -3 ปี = 102.5 400-1200 อายุ 3 -6 ปี = 94.7 1000-1300 อายุ 6 - 13 ปี = 91.2 1200-1400 อายุ 13 – 18 ปี = 89.9 1300-1450

  19. สาเหตุของปัญหาโภชนาการสาเหตุของปัญหาโภชนาการ เกิดจาก พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม -พฤติกรรมการบริโภคอาหาร -พฤติกรรมการออกกำลังกาย  สิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อพฤติกรรม - จัดบริการน้ำหวาน/น้ำอัดลม/ขนมที่มีน้ำตาลสูง - จัดบริการขนมกรุบกรอบ/ขนมที่มีไขมัน/เกลือ - อาหารกลางวันไม่ได้มาตรฐานทางโภชนาการ

  20. อ้วนแล้ว......ไม่ดีอย่างไรอ้วนแล้ว......ไม่ดีอย่างไร • นอนกรนและหยุดหายใจขณะหลับ สมาธิสั้น ผลการเรียนตก หัวใจและปอดทำงานหนัก • ขาโก่งหรือขากางผิดปกติ • โรคเบาหวาน • โรคความดันโลหิตสูง • ไขมันในเลือดสูง • โรคหลอดเลือดหัวใจ

  21. ด้านการเรียน • -เด็กอ้วนมีผลการเรียนด้อยกว่าเด็กไม่อ้วน • -เด็กอ้วนมีสมาธิสั้น • -เด็กอ้วนถูกกีดกั้นด้านการศึกษา เช่น พยาบาล ตำรวจ ทหาร

  22. โภชนาการเกินกับสติปัญญาโภชนาการเกินกับสติปัญญา • นอนกรนและหยุดหายใจขณะหลับ สมาธิสั้น ผลการเรียนตก • อ้วนทำให้ดูดซึมธาตุเหล็กได้ลดลง เสี่ยงต่อภาวะโลหิตจาง • พบปัญหาขาดวิตามินและแร่ธาตุหลายชนิดในคนอ้วน

  23. ด้านจิตใจ • - ถูกล้อเลียน ไม่เป็นที่ยอมรับ • - ขาดความมั่นใจ • - มีภาวะซึมเศร้า • ด้านเศรษฐกิจ • - เสียเงินเพื่อลดน้ำหนัก • - เสียเงินค่ารักษาพยาบาล

  24. ผลเสียของการขาดสารอาหารเรื้อรังผลเสียของการขาดสารอาหารเรื้อรัง ด้านสุขภาพ ภูมิต้านทานโรคต่ำ เจ็บป่วยง่าย รุนแรง เมื่อเป็นผู้ใหญ่มีโอกาสเสียงต่อการเกิดภาวะโภชนาการเกิน และโรคเรื้อรังสูงกว่าคนที่มีภาวะโภชนาการปกติตั้งแต่เด็ก เสียชีวิต • ด้านเศรษฐกิจ • เสียค่าใช้จ่ายในการรักษา • ทำงานไม่มีประสิทธิภาพ

  25. การเจริญเติบโต ของร่างกายดี สูงและสมส่วน เด็กมีภาวะ โภชนาการดี การเจริญเติบโต ของสมองดี สติปัญญาดี สร้างภูมิ ต้านทานโรค เจ็บป่วยน้อย หายเร็ว

  26. แนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหากลุ่มเสี่ยงต่อภาวะอ้วน/กลุ่มอ้วนแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหากลุ่มเสี่ยงต่อภาวะอ้วน/กลุ่มอ้วน 1. เด็กที่อยู่ในระดับอ้วน(กราฟภาวะเจริญเติบโต) พบแพทย์ ตรวจร่างกาย มีโรคแทรกซ้อนหรือไม่เช่น รอยคล้ำที่คอ เบาหวาน 2. ให้ความรู้เป็นกลุ่มและรายบุคคล พ่อแม่/ผู้ปกครองเด็กอ้วน/กลุ่มเสี่ยง เด็กอ้วนและกลุ่มเสี่ยง

  27. แนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหากลุ่มเสี่ยงต่อภาวะอ้วน/กลุ่มอ้วนแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหากลุ่มเสี่ยงต่อภาวะอ้วน/กลุ่มอ้วน ประเด็นความรู้ - ลูกที่เกิดจากแม่อ้วน - ผลเสียที่เกิดกับเด็กอ้วน - สารอาหารสำคัญ - ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพของเด็ก 6-18 ปี - ธงโภชนาการ - อาหารตามวัยและภาวะโภชนาการ/การเจริญเติบโต

  28. แนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหากลุ่มเสี่ยงต่อภาวะอ้วน/กลุ่มอ้วนแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหากลุ่มเสี่ยงต่อภาวะอ้วน/กลุ่มอ้วน 3. ตักอาหารให้ตามปริมาณที่แนะนำ หากเด็กขอเติมอาหาร ควรตักให้ครั้งแรกน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ และครั้งที่สองเพิ่มในปริมาณที่เหลือ 4. ควรเปลี่ยนชนิดของนม เป็นนมพร่องมันเนยหรือขาดมันเนย(รสจืด) เพื่อลดพลังงานที่ได้รับ 5. จัดให้มีการเคลื่อนไหวร่างกาย/ออกกำลังกายอย่างเหมาะสมทุกวันๆละ ประมาณ 30นาที 6. ติดตามภาวะโภชนาการ/การเจริญเติบโต

  29. แนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหากลุ่มเสี่ยงต่อภาวะอ้วน/กลุ่มอ้วนแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหากลุ่มเสี่ยงต่อภาวะอ้วน/กลุ่มอ้วน 6. ติดตามภาวะโภชนาการ/การเจริญเติบโต - ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ - น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง - ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร * กลุ่มขาดอาหาร/อ้วน : เดือนแรก ทุก 2 สัปดาห์ * กลุ่มเสี่ยงต่อการขาดอาหาร/อ้วน:เดือนแรกทุก2 wk * กลุ่มเจริญเติบโตดีแต่แนวโน้มไม่ดี : ทุกเดือน * เด็กขาดอาหาร เด็กอ้วน และกลุ่มเสี่ยง : ทุกเดือน

  30. เกณฑ์ด้านอาหารและโภชนาการเกณฑ์ด้านอาหารและโภชนาการ 3.1 ภาวะสุขภาพนักเรียน -น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง (ท้วม/ เริ่มอ้วน/อ้วน)ไม่เกินร้อยละ 7 - มีส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ(ค่อนข้างเตี้ย/เตี้ย) ไม่เกินร้อยละ 5

  31. ไม่จัดและจำหน่ายอาหารว่างไม่จัดและจำหน่ายอาหารว่าง หรือขนมที่มีไขมันสูงและเค็มจัด

  32. - ไม่จัดและจำหน่ายอาหารว่างหรือเครื่องดื่มที่มีรสหวานจัด หมายถึง ขนมต่างๆและเครื่องดื่มต่างๆที่สำเร็จรูปมีฉลากโภชนาการและที่ปรุงขึ้นเองมีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบเกินร้อยละ 5 ได้แก่ น้ำอัดลม ชาเขียว น้ำผลไม้สำเร็จรูป เครื่องดื่มสำเร็จรูปต่างๆ นมปรุงแต่งรสต่างๆ และน้ำสมุนไพรที่ปรุงขึ้นเองมีการผสมน้ำตาลเกินร้อยละ 5

  33. - จัดอาหารกลางวันที่มี ผักทุกวันตามปริมาณ ที่ธงโภชนาการแนะนำ - 4 ช้อนกินข้าวต่อมื้อสำหรับเด็กอายุ 6-13 ปี - 5 ช้อนกินข้าวต่อมื้อสำหรับเด็กอายุ 14-18 ปี

  34. การดำเนินการสู่ระดับเพชรการดำเนินการสู่ระดับเพชร 1.เฝ้าระวังภาวะโภชนาการทุกภาคการศึกษา • ชั่งน้ำหนัก- วัดส่วนสูง • แปลผลโดยจุดน้ำหนัก-ส่วนสูง • ส่วนสูงเทียบกับอายุ • น้ำหนักเทียบกับส่วนสูง • แก้ไขปัญหาแบบมีส่วนร่วม

  35. แนะนำบริโภคอาหารครบ 5 กลุ่ม ในปริมาณที่เพียงพอและหลากหลาย ตามธงโภชนาการ ธงโภชนาการสำหรับเด็กอายุ 6-13 ปี

  36. ปริมาณอาหารที่ควรได้รับใน 1 วัน สำหรับเด็กอายุ 6-13 ปี

  37. ปริมาณอาหารที่ควรได้รับใน 1 วัน สำหรับเด็กอายุ 14-18 ปี

  38. ในเด็กเตี้ย ให้เพิ่มอาหารพวกเนื้อสัตว์ ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง นม เต้าหู้แข็ง/อ่อน ปลาตัวเล็ก เพื่อเพิ่มสารอาหารโปรตีนและแคลเซียม

  39. เด็กอ้วน/เริ่มอ้วน/ท้วม ลดปริมาณอาหารกลุ่มข้าว-แป้ง น้ำตาล และไขมัน เพิ่มผัก ผลไม้รสไม่หวาน ไม่กินจุบจิบแนะนำเปลี่ยนวิธีการปรุงอาหาร

  40. การดำเนินการสู่ระดับเพชรการดำเนินการสู่ระดับเพชร • นโยบายห้ามจัดจำหน่ายอาหารว่างและเครื่องดื่ม • ที่มีไขมันสูง • ที่มีรสเค็มเค็ม • ที่มีรสหวานจัด • มีผลไม้ อาหารว่างที่มีคุณค่าทางโภชนาการ : นมจืด ขนมที่มีเส้นใย

  41. การดำเนินการสู่ระดับเพชรการดำเนินการสู่ระดับเพชร • จัดและจำหน่ายอาหารกลางวันที่มีผักทุกวัน • กำหนดรายการอาหารจานผักล่วงหน้า • ดำเนินการแบบมีส่วนร่วมทุกฝ่าย • ซื้อโดยคำนวณปริมาณผักต่อนักเรียน • -เด็ก 6-13 ปี ซื้อ 70 กรัม/คน • -เด็ก 14-18 ปีซื้อ 90 กรัม/คน

  42. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน ด้านการเรียน ความสามารถ ความสามารถอื่นๆ สุขภาพ ร่างกาย จิตใจ/พฤติกรรม ครอบครัว เศรษฐกิจ การคุ้มครองนักเรียน อื่น ๆ

  43. ลดปัจจัยเสี่ยงวัยเรียนวัยรุ่นลดปัจจัยเสี่ยงวัยเรียนวัยรุ่น โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ กับการพัฒนาสุขภาพนักเรียน ใช้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้น และศูนย์กลางการดูแลสุขภาพของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนคนในชุมชน

  44. พันธมิตรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพนักเรียนพันธมิตรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพนักเรียน กระทรวงสาธารณสุข

  45. พื้นที่เป้าหมายตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2550 - 2559 เชียงราย พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง แม่ฮ่องสอน แพร่ ลำพูน หนองคาย อุตรดิตถ์ นครพนม อุดรธานี สกลนคร เลย หนองบัวลำภู สุโขทัย พิษณุโลก ตาก กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มุกดาหาร เพชรบูรณ์ กำแพงเพชร อำนาจเจริญ พิจิตร มหาสารคาม ชัยภูมิ ยโสธร ร้อยเอ็ด นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี อุบลราชธานี สิงห์บุรี สุรินทร์ สุพรรณบุรี ศรีสะเกษ นครราชสีมา บุรีรัมย์ อ่างทอง สระบุรี กาญจนบุรี อยุธยา นครนายก ปทุมธานี นครปฐม ปราจีนบุรี นนทบุรี กรุงเทพฯ สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ส.ปราการ ส.สาคร ราชบุรี ส.สงคราม ชลบุรี ระยอง จันทบุรี เพชรบุรี ตราด ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง ปัตตานี สงขลา สตูล นราธิวาส ยะลา

  46. เกณฑ์ประเมินระดับทอง สู่ระดับเพชร 1. นโยบายของโรงเรียน 2. การบริหารจัดการในโรงเรียน ๒ ๓ 3. โครงการร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน ๑๐ ๑๑ ๙ 4.การจัดสิ่งสิ่งแวดล้อมในรร.ที่เอื้อต่อสุขภาพ ๑๘ ๕ 5. บริการอนามัยโรงเรียน ๕ ๑๖ 6. สุขศึกษาในโรงเรียน ๔ ๑๒ ๑๓ ๑๕ 7. โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย 9. การให้คำปรึกษา สนับสนุนทางสังคม 8. การออกกำลังกาย กีฬาและนันทนาการ ๖ 10.การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในรร. ๑๙

  47. เกณฑ์การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรเกณฑ์การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร มาตรฐาน 3 ด้าน 19 ตัวชี้วัด 1.การดำเนินงานรร.ส่งเสริมสุขภาพ 1.ผ่านระดับทอง 2.มีชมรมเด็กไทยทำได้/ชมรมสุขภาพอื่น ๆ 3.มีโครงงานสุขภาพของนร.ที่ประสบ ความสำเร็จชัดเจน 2.การดำเนินงานสุขภาพของนร. แกนนำ 3.ผลสำเร็จของการดำเนินงาน 4.ภาวะโภชนาการ (นน./ส่วนสูงตามเกณฑ์) 5.นร.ไม่มีฟันแท้/ฟันผุถูกถอน 3.1ภาวะสุขภาพของนักเรียน 6.นร.มีสมรรถภาพผ่านเกณฑ์ 7.นร.มีสุขภาพจิตดี (SDQ) 8.มีโครงการแก้ไขปัญหาเป็นผลสำเร็จ 3.2 โครงการแก้ไขปัญหา ในโรงเรียน

More Related