1 / 36

การบันทึกแบบพิมพ์รายงาน ทอ.คปอ.๐๑๕

การบันทึกแบบพิมพ์รายงาน ทอ.คปอ.๐๑๕. COL1. ชนิดการตรวจอากาศเพื่อการบิน. การตรวจแบบประจำชั่วโมง คำย่อ : SA ( METAR ) การตรวจแบบพิเศษ คำย่อ : SP ( SPECI ) การตรวจแบบประจำถิ่น คำย่อ : L ( LOCAL ) การตรวจแบบประจำชั่วโมงพิเศษ คำย่อ : RS (RECORD – SPECIAL METAR ).

zaria
Télécharger la présentation

การบันทึกแบบพิมพ์รายงาน ทอ.คปอ.๐๑๕

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบันทึกแบบพิมพ์รายงาน ทอ.คปอ.๐๑๕

  2. COL1 ชนิดการตรวจอากาศเพื่อการบิน • การตรวจแบบประจำชั่วโมง คำย่อ : SA( METAR ) • การตรวจแบบพิเศษ คำย่อ : SP( SPECI ) • การตรวจแบบประจำถิ่น คำย่อ : L ( LOCAL ) • การตรวจแบบประจำชั่วโมงพิเศษ คำย่อ : RS (RECORD – SPECIAL METAR )

  3. COL 2 เวลาของการตรวจอากาศชนิดต่างๆ • SA รายงานเวลาเป็นลำดับสุดท้าย นาทีที่ 55-59 • SP รายงานเวลาเป็นลำดับแรก • L รายงานเวลาเป็นลำดับแรก แต่ การรายงานเวลาการเปลี่ยนทางวิ่ง หรือ อ.อุบัติเหตุให้รายงานเวลาใกล้เคียงกับเวลาที่ได้รับรายงาน • RS รายงานเวลาที่แท้จริงในช่วงนาทีที่ 55 - 59

  4. COL 9A 10 11 9B การตรวจลม พิจารณารายงานค่าลมเฉลี่ยช่วง 2 นาที • ทิศทางลม3 ตำแหน่ง ในช่อง 9Aใกล้เคียง 10 องศาลมสงบ 000

  5. ทิศทางแปรปรวน (ทิศทางเปลี่ยนทิศ 60 องศาขึ้นไป) • ความเร็ว ตั้งแต่ 6 นอต หรือน้อยกว่า บันทึก VRB ใน Col.9A • ความเร็ว มากกว่า 6 นอต บันทึกทิศทาง ใน Col.9A ใน Col.9B บันทึกทิศทางที่แปรปรวนโดยใช้ V คั่นกลาง

  6. ความเร็วลม • 2 ตำแหน่ง ความเร็วตั้งแต่ 100 บันทึก 3 ตำแหน่ง • ลมสงบบันทึก 00 ความเร็วลมกระโชก ค่าสูงสุดและต่ำสุดต่างกันตั้งแต่ 10 นอตขึ้นไป

  7. ลมที่ได้จากการกะประมาณลมที่ได้จากการกะประมาณ บันทึก WND DATA ESTMD ในช่อง 13

  8. การบันทึกค่าทัศนวิสัยการบันทึกค่าทัศนวิสัย COL 4A 4B • 4A บันทึก ทัศนวิสัยเป็นเมตร 4 ตำแหน่ง • 4B บันทึก ทัศนวิสัยเป็นไมล์ เมื่อเป็น จำนวนเต็มกับ เศษส่วน ให้เว้นวรรค เช่น 1 ½ • เมื่อทัศนวิสัยน้อยกว่า 7 ไมล์ ( 9999 ) จะต้องมีสภาพอากาศ ใน Col.5

  9. COL5 สภาพอากาศและปรากฏการณ์ปิดบัง ( ที่ตรวจพบบ่อยๆ )

  10. ชนิดของฝน 1.ฝนละออง(DRIZZLE = DZ) เป็นรูปแบบของน้ำฟ้าชนิดหนึ่ง ซึ่งหยดน้ำของ น้ำฟ้าชนิดนี้มีขนาดเล็ก ลักษณะการเกิดฝนละอองจะเกิดเป็นหยดใกล้กันเป็นระเบียบ เมื่อถูกกระแสลมพัดจะลอยไปตามกระแสลม ซึ่งแตกต่างจากหมอกตรงที่ฝนละออง จะตกลงสู่พื้นดินมักจะตกจากเมฆสเตรตัส (ST) และเมฆสเตรโตคิวมูลัส ( SC ) ที่มี ฐานต่ำๆ และมักจะร่วมกันกับการเกิดหมอกทำให้ทัศนวิสัยต่ำ 2.ฝนธรรมดา(RAIN = RA) อนุภาคของน้ำฟ้าที่เป็นของเหลวในรูปของหยดน้ำ ที่มีขนาดใหญ่กว่า ๐.๐๒ นิ้ว (๐.๕ มิลลิเมตร) หรืออาจมีขนาดเล็กกว่านี้ 3.ฝนโปรย( SHOWER : SHRA )เป็นฝนผ่านที่ตกในระยะเวลาอันสั้น และเป็นบริเวณแคบ มักเกิดจากเมฆ TCU หรือ CB ที่ลอยเดี่ยว ความแรงของฝนระหว่างเวลาที่เริ่มตกและหยุดเป็นเพียงชั่วขณะเดียว 4.ฝนระยะไกล ( VCSH ) ฝนที่เกิดในระยะ >0-10 ไมล์

  11. หมอก ( FOG ) มีด้วยกัน 3 ชนิดคือ 1.ฟ้าหลัวหรือหมอกแดด( HAZE : HZ ) เกิดจากอานุภาคของฝุ่น เกลือ หรือควันในการเผาไหม้ ซึ่งเล็กมาก แขวนลอยอยู่ในอากาศ ท้องฟ้าที่มีฟ้าหลัวคลุม จะมีลักษณะ คล้ายควัน หรือเยื่อบางสีขาว ลอยนิ่งอยู่ในอากาศ ทำให้มองเห็นไม่ชัด คล้ายหมอก ลักษณะที่จะเป็นฟ้าหลัวนี้ ความชื้นสัมพัทธ์ จะมีค่าน้อยกว่า 75 % 2.ฟ้าหลัวชื้น หรือหมอกบาง ( MIST OR LIGHT FOG : BR ) ฟ้าหลัวชนิดนี้เกิดจากเม็ดน้ำขนาดเล็ก แขวนลอยอยู่ในอากาศ ทัศวิสัยในทางระดับดีกว่าหมอก เพราะว่าเม็ดน้ำมีขนาดเล็กกว่า และกระจายบางกว่า ความชื้นสัมพัทธ์ จะมีค่าตั้งแต่ 75 % - 96 %

  12. 3.หมอก ( FOG : FG )เกิดจากเม็ดน้ำขนาดเล็ก แขวนลอยอยู่ในอากาศ ปิดบังมากกว่าครึ่งหนึ่ง ของท้องฟ้า ทำให้ลักษณะอากาศเป็นฝ้าขาวหนาทึบ ทัศนวิสัยในทางระดับที่เกิดขึ้นต้องต่ำกว่า 1,000 เมตร ความชื้นสัมพัทธ์ จะมีค่ามากกว่า 96 %

  13. ลูกเห็บ ( HAIL ) ลูกเห็บขนาดใหญ่ใช้รหัส (GR) มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๐.๒ นิ้ว (๕ มิลลิเมตร) หรือมากกว่า การเข้ารหัส และรายงานเมื่อ เส้นผ่าศูนย์กลาง ที่วัดได้ ๑/๔ นิ้ว หรือมากกว่า ลูกเห็บขนาดเล็ก ใช้รหัส(GS) มีเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า ๐.๒ นิ้ว (๕ มิลลิเมตร)

  14. พายุฟ้าคะนอง (THUNDERSTORM : TS )

  15. COL 3 • บันทึกใน Col.5 • บันทึกได้สูงสุด 3 กลุ่ม • 1กลุ่ม บันทึกได้ไม่เกิน 9 ตัวอักษร ตัวอย่าง FC +TSRAGRDZ BR การบันทึกสภาพอากาศและปรากฏการณ์ปิดบัง

  16. เมฆแบ่งตามความสูงแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ • ชั้นต่ำ สูง 50 – 6,500 ฟุต เช่น SC , CU , CB , ST , TCU • ชั้นกลาง สูง 6,500 – 25,000 ฟุต เช่น AS , AC • ชั้นสูง สูง 20,000 – 60,000 ฟุต เช่น CI , CS , CC

  17. การบันทึกรหัสสภาพท้องฟ้าการบันทึกรหัสสภาพท้องฟ้า FEW เล็กน้อย - 2/8 ส่วน SCT 3-4/8 ส่วน BKN 5-7/8 ส่วน OVC 8/8 ส่วน VV 8/8 ส่วน SKC ไม่มีเมฆและปรากฏการณ์ CLR ไม่มีเมฆต่ำกว่า 12,000ฟุต

  18. บันทึกได้ไม่เกิน 6 กลุ่ม • ใช้หลักการรวมเมฆตั้งแต่ ชั้นล่างขึ้นไปหาสูง • บันทึกโดยแยกระหว่างปรากฏการณ์และเมฆ • CB และ TCU ต้องบันทึกต่อท้ายด้วย

  19. กฏเกณฑ์เพิ่มเติมจากสัมมนาตรวจอากาศปี47กฏเกณฑ์เพิ่มเติมจากสัมมนาตรวจอากาศปี47 • VIS ตั้งแต่ 3 ไมล์ขึ้นไปไม่ต้องบันทึกรหัส FEW000 , SCT000 , BKN000 • VIS น้อยกว่า 3 ไมล์ ต้องบันทึก FEW000 , SCT000 , BKN000

  20. COL7 TEMP ( C ) • บันทึกเป็นจำนวนเต็ม 2 ตำแหน่งและทศนิยม 1 ตำแหน่ง เช่น 30.4 • ถ้าไม่มีเครื่องวัด หาค่าไม่ได้ ให้เว้นว่างไว้ • ถ้าติดลบให้บันทึก M แทนค่าลบ

  21. COL 8 DEWPOINT • บันทึกเป็นจำนวนเต็ม 2 ตำแหน่งและทศนิยม 1 ตำแหน่ง เช่น 30.4 • ถ้าไม่มีเครื่องวัด หาค่าไม่ได้ ให้เว้นว่างไว้ • ถ้าติดลบให้บันทึก M แทนค่าลบ

  22. COL 12 ALSTG ( ALTIMETER SETTING ) • ( นิ้วปรอท ) • บันทึกตังเลข 4 ตำแหน่ง ( ไม่ต้องใส่จุดทศนิยม ) • ถ้าไม่มีเครื่องวัดหาค่าไม่ได้ให้เว้นว่างไว้ • ถ้าได้จากการประมาณค่า ใน ช่อง 13 ต้องบันทึก ESTMD ALSTG

  23. COL 13 REMARKS AND SUPPLEMENT INFORMATION • การรายงานแยกข้อมูลให้ใช้การเว้นวรรค ห้ามใช้เครื่องหมาย /แยกข้อมูล

  24. COL 14 A P.A. ( FEET ) • 14 A ( PRESSURE ALTITUDE ) • ค่าความสูงของความกดอากาศนั้น • บันทึกค่า + และ – หน้าค่าPA

  25. COL 14 B R.H.( % ) • 14B ( RELATIVE HUMIDITY ) • ความชื้นสัมพัทธ์ หน่วยเป็น เปอร์เซ็นต์ • หาได้จาก TEMPกับ DEWPOINT

  26. COL 17 STATION PRESSURE • ช่อง17 ความกดอากาศที่สถานี • หน่วยเป็นนิ้วปรอท • บันทึก 5 ตัวเลข โดยมีจุดทศนิยม 3 ตำแหน่ง

  27. COL 21 TOTAL SKY COVER • ช่อง21 จำนวนปกคลุมท้องฟ้า • บันทึกได้ไม่เกิน 8 ส่วน

  28. COL 15 OBS INIT • ช่อง15 รหัสย่อ จนท.ตรวจอากาศ • ผู้ฝึกงานให้บันทึกหลังช่อง 15

  29. COL 4142 44 45 การตรวจวัดน้ำฟ้า • การตรวจวัดน้ำฟ้า เมื่อ - ทุก 6 ชั่วโมง - เที่ยงคืน หน่วยของการตรวจวัด - นิ้ว ( ถ้าน้อยกว่า 0.005 นิ้ว ถือเป็น TRACE ) - มิลลิเมตร

  30. วันที่ 1 วันที่ 2

  31. จำนวนฝนรวม 6 ชั่วโมง • รหัส 6RRRR • 6 เลขนำหมู่ • RRRR จำนวนฝน6 ชั่วโมงเป็นนิ้วพร้อมทศนิยม 2 ตำแหน่ง • 12.34 นิ้ว รายงาน 61234 • T รายงาน 60000

  32. จำนวนฝนรวม 24 ชั่วโมง • รหัส 7R24R24R24R24 • 7 เลขนำหมู่ • R24R24R24R24จำนวนน้ำฝน 1900-1900 รายงานเป็นนิ้วพร้อมทศนิยม 2 ตำแหน่ง • 1.23 นิ้ว รายงาน 70123 • 1T ไม่ต้องรายงาน • 2T รายงาน 7////

  33. SUMMARY OF THE DAY • COL 66 รายงานอุณหภูมิสูงสุด COL 67 รายงานอุณหภูมิต่ำสุด COL 68 รายงานฝนรวมประจำวัน COL 71 รายงานความเร็วลมสูงสุด COL72 รายงานทิศทางความเร็วลมสูงสุด COL 73 รายงานเวลาของความเร็วลมสูงสุด

  34. COL 90 PRECIPITATION _/0700 - _/0700 MAX T. = C MIN T. = c MAX R.H. = % MIN R.H. = % AVG R.H. = % RAIN = INS RAIN = M.M รายงานอื่นๆนอกเหนือจาก COL13

More Related