1 / 37

นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ กับ โครงการไร้พุง โดย นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ กับ โครงการไร้พุง โดย นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข . โครงร่างการนำเสนอ. นโยบายสาธารณะ ความเป็นมา และความหมาย ตัวอย่าง ประสบการณ์พัฒนานโยบายสาธารณะจากต่างประเทศ นโยบายสาธารณะกับเรื่อง ไร้พุง การพัฒนานโยบายสาธารณะในระดับพื้นที่. 1.

Jims
Télécharger la présentation

นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ กับ โครงการไร้พุง โดย นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ กับ โครงการไร้พุง โดย นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

  2. โครงร่างการนำเสนอ • นโยบายสาธารณะความเป็นมาและความหมาย • ตัวอย่างประสบการณ์พัฒนานโยบายสาธารณะจากต่างประเทศ • นโยบายสาธารณะกับเรื่อง ไร้พุง • การพัฒนานโยบายสาธารณะในระดับพื้นที่

  3. 1. นโยบายสาธารณะ ความเป็นมา และความหมาย

  4. Health Has Social, Economic &Environmental Influences $$

  5. 1986 : Ottawa Charter 1. การสร้างนโยบายสาธารณะที่ให้ความสนใจกับมิติด้านสุขภาพ 2. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพแนวใหม่ 3. การสร้างสิ่งแวดล้อมที่สร้างเสริมสุขภาพ 4. การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ 5. การสร้างศักยภาพของปัจเจกบุคคล ในการดูแลสุขภาพของตนเอง

  6. สุขภาพ เป็นเป้าหมายสูงสุดของการพัฒนา และไม่ได้เป็นเพียงทรัพยากรประเภทหนึ่งที่นำไปสู่การพัฒนา • นโยบายสุขภาพ เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายสาธารณะ ในขณะเดียวกัน สุขภาพก็ได้รับอิทธิพลจากนโยบายสาธารณะอื่นๆด้วย • นโยบายสาธารณะที่ดี ไม่ได้เป็นเพียงการสร้างสุขภาพที่เป็นเป้าหมายของนโยบายสาธารณะเท่านั้น หากแต่เป็นการทำให้สุขภาพยกระดับสูงขึ้น และจะต้องบรรจุเข้าไว้ในวาระทางการเมืองด้วย

  7. นิยาม • Policy: ทิศทางของการกระทำที่ชัดเจนที่ได้ชี้นำและกำหนดการตัดสินใจ • Public Policy: การตัดสินใจที่มีผลกระทบต่อสังคมที่ได้แสดงออกมาในการออกกฎหมาย หรือไม่ว่าจะมาจากการตัดสินใจของบริษัทเอกชน หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร • Health Policy: การตัดสินใจหรือการกระทำที่ตั้งใจเพื่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกต่อสุขภาพโดยตรง • Healthy Public Policy: การตัดสินใจหรือการกระทำใดๆที่ไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อสุขภาพของคนในสังคม หรือคำนึงถึงสุขภาพประกอบด้วย

  8. กรอบแนวคิดนโยบายสาธารณะกรอบแนวคิดนโยบายสาธารณะ

  9. นโยบายสาธารณะที่ดี • ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน • ข้อมูลที่สมบูรณ์ • การกระทำที่ร่วมมือกัน • มีเป้าประสงค์เฉพาะ • มีการกระทำที่ได้รับความร่วมมือในระดับโลกและระดับท้องถิ่น • เป็นที่ต้องการหรือเป็นประโยชน์ต่อประชาชน* • รวมถึง การเพิ่มการทำงานกับอำนาจของพลเมืองและกลุ่มที่ปราศจากอำนาจ *Christoffel and Christoffel (1989)

  10. กระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะที่ดี • Top down การกำหนดนโยบายจากฝ่ายการเมืองหรือส่วนราชการผู้เกี่ยวข้อง • Bottom up กระบวนการสร้างนโยบายที่เกิดจากการผลักดันของระดับล่าง โดยที่ชุมชนจะเป็นแรงผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านนโยบาย

  11. ลักษณะของนโยบายสาธารณะที่ดี ลักษณะของนโยบายสาธารณะที่ดี • มีความถูกต้องเป็นธรรม • มีการวิจัยนโยบาย • มีกระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม

  12. สามเหลี่ยมนโยบายสาธารณะ ความรู้ ข้อเสนอเชิงนโยบาย การมีส่วนร่วมของภาคีใน สังคม การเรียนรู้ และ การผลักดันนโยบาย บทบาทของหน่วยกำหนดนโยบาย

  13. 2 ตัวอย่างนโยบายสาธารณะ

  14. ปัญหาสุขภาพจาการขนส่ง สาเหตุจาก* มลพิษทางอากาศ* เสียง* อุบัติเหตุ* วิถีการดำเนินชีวิตที่อยู่กับที่นานเกินไป ไม่มีการเคลื่อนไหว *โอกาสที่ทำให้การเกิดความเสี่ยงสูงจาการขนส่งสินค้าอันตราย

  15. ตัวอย่างที่ 1 การออกกฎหมายสร้างทางเข้าบ้านหรือตึก สำหรับผู้พิการที่ใช้รถเข็น ขั้นที่ 1. กำหนดปัญหาตามความต้องการของชุมชน ปี 1976 สภาบริการชุมชน (Community Services Council) เริ่มต้นศึกษาความต้องการของผู้พิการ และพบว่าปัญหาสำคัญก็คือบ้านต่างๆไม่มีทางเข้าสำหรับรถเข็น ขั้นที่ 2. สื่อสารปัญหากับชุมชน มีการสื่อสารผ่านสื่อมวลชนและจัดประชุมที่สภาเมือง St. John และพบว่ายังไม่มีข้อบังคับใช้ในการสร้างบ้านที่จะรองรับความต้องการของผู้พิการ ในที่สุดทางสภาเมืองก็มีมติรับรองประเด็นนี้

  16. ขั้นที่ 3. ตั้งกลุ่มทำงาน คณะกรรมการปฏิบัติงานประกอบไปด้วยสมาชิกจากสภาบริการชุมชน (Community Services Council) ผู้อำนวยการมูลนิธิ Canadian Paraplegic แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และผู้พิการ ซึ่งคณะกรรมการร่วมกันกำหนดเป้าหมายและปัญหาที่ชัดเจน พบว่าปัญหาในตอนแรกแคบเกินไป กล่าวคือควรที่จะขยายขอบเขตไปยังตึกทุกชนิดและไม่ควรกำหนดปัญหาเฉพาะเมือง แต่ต้องครอบคลุมไปถึงระดับจังหวัดด้วย

  17. ขั้นที่ 4. ขยายกลุ่มผู้ร่วมกำหนดนโยบาย มีการนำข้าราชการระดับจังหวัด และผู้ที่เกี่ยวข้องต่างๆเข้าร่วมเพื่อสร้างนโยบาย เช่น วิศวกร ผู้รับเหมาก่อสร้างที่ปฏิบัติจริง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ มีการร่วมกันร่างกฎหมายและผลักดันจนผ่านสภานิติบัญญัติตราเป็นกฎหมายในปี ค.ศ.1981

  18. ขั้นที่ 5. ติดตามความก้าวหน้าของกฎหมาย มีการตั้งคณะกรรมการติดตามผลของกฎหมาย และพบว่าเกิดปัญหาในการบังคับใช้ดังนั้นคณะกรรมการจึงได้หาทางแก้ไขปัญหา ในที่สุดในปี ค.ศ.1987 ได้มีการปรับปรุงแก้ไขข้อบังคับใช้กฎหมาย

  19. 3 นโยบายสาธารณะ กับ เรื่องไร้(ลด)พุง

  20. WHA57.17 Global strategy on diet, physical activity and health The Fifty-seventh World Health Assembly,

  21. The Global Strategy has four main objectives: • to reduce the risk factors for noncommunicable diseases • that stem from unhealthy diets and physical inactivity • by means of essential public health action and health-promoting and • disease-preventing measures; • (2) to increase the overall awareness and understanding • of the influences of diet and physical • activity on health and of the positive impact of preventive interventions; • (3) to encourage the development, strengthening and implementation of • global, regional, national and community policies and action plans • to improve diets and increase physical activity that are sustainable, • comprehensive, and actively engage all sectors, including civil society, the • private sector and the media; • (4) to monitor scientific data and key influences on diet and physical activity; • to support research in a broad spectrum of relevant areas, • including evaluation of interventions; and to strengthen • the human resources needed in this domain to enhance and sustain health. • 1 Macroeconomics and health: investing in health for economic development. • Geneva, World Health Organization, • 2001.

  22. 41 National food and agricultural policies should be consistent with the protection and promotion of public health. 43. School policies and programmes should support the adoption of healthy diets and physical activity 40. Governments should provide accurate and balanced information. (3) Marketing, advertising, sponsorship and promotion.

  23. 4 นโยบายสาธารณะระดับพื้นที่

  24. กระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดีกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี • เน้นการเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นกลาง • สร้างการเรียนรู้ร่วมกัน • มีการจัดการความรู้ที่ดี • ให้ความสำคัญกับการจัดกระบวนการ

  25. การจัดเวทีนโยบายสาธารณะการจัดเวทีนโยบายสาธารณะ (๑) เป็นเวทีที่ใช้ความรู้ (๒) มีองค์ประกอบของผู้ร่วมประชุมที่ดี (๓)ควรให้ความสนใจแก่สื่อมวลชนเป็นพิเศษ (๔) ถ้าจัดให้มีการกระจายเสียงสดทางวิทยุด้วยจะดีมาก (๕) มีการจัดเตรียมเอกสารประกอบการประชุมอย่างดี (๖) มีผู้จัดประชุมที่มีความสามารถในการจัดประชุมสูง (๗) ควรมีองค์กรภาคีเป็นเจ้าภาพร่วมกันในการจัดประชุมเวทีนโยบายสาธารณะ

  26. ภาคีของนโยบายสาธารณะที่ดี ภาคีของนโยบายสาธารณะที่ดี 5. ภาคธุรกิจเอกชน 6. องค์กรทำงานนโยบาย เช่น กระทรวงต่าง ๆ 7. ฝ่ายการเมือง เช่น รัฐบาล รัฐสภา 8. ผู้แทนองค์กรอิสระ เช่น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • ประชาชน / องค์กรพัฒนาเอกชน • สื่อมวลชน • นักวิชาการ / มหาวิทยาลัย • องค์กรสนับสนุนการวิจัยนโยบาย เช่น สภาวิจัย สกว. สวรส. สสส. สปสช. มสช.

  27. KM อ้วนกับ รร

  28. process • 1st – share and learn from experiences • 2nd – more indepth discussion and analysis (synthesis) • 3rd – future actions, application of shared experiecens or other ideas (try to limit to as little as possible)

  29. Good practices (projects/actions) • ทำเรื่องอาหารการกิน (รวมการแก้ปัญหาเด็กที่อ้วนแล้วด้วย) • ออกกำลังกาย (สารพัดโครงการ) – วิ่งหมื่นไมล์ วิ่งสะสมไมล์ เดินพาเหรดตอนเช้า เล่นแอโรบิคตอนเย็น ฝึกโยคะเด็กอนุบาล เอาเด็กอ้วนออกกำลัง (ลานไม่ใช่ลู่) เล่นกีฬาตามที่ชอบ • ควบคุมร้านค้า (ใน รร) – ครูไปตรวจ นักเรียนไปตรวจ ฝึกอบรมให้ความรู้แม่ค้า สหกรณ์ครูทำเอง • เยี่ยมบ้าน แล้วผสมผสานเรื่องอ้วน (สุขภาพ) ด้วย • ลดการดื่มน้ำอัดลม – ให้ความรู้ • ให้ความรู้กับเด็กๆ (ร่วมกับผู้ปกครอง) อาจชวนทำกิจกรรม • ประกวดการลดน้ำหนัก • ทำค่ายลดความอ้วน

  30. บทบาท ผู้บริหาร (เทศบาล ผอ รร) • ให้นโยบายและติดตามอย่างจริงจัง (จะทำให้ฝ่ายต่างๆ มาทำงานร่วมกันได้ดียิ่งขึ้น – ทั้งในระดับเทศบาล และ ใน รร) • ทำแผนอย่างมีส่วนร่วมทุกระดับ • ทำโครงการเสริม (ทำค่าย ประกวดโลโก) • ช่วยเชื่อมประสานงาน – ภายในองค์กร (โดยเฉพาะในเทศบาล) กับ ภาคีภายนอก (ช่วยเรื่องร้านค้ารอบ รร) • เผยแพร่ความรู้ผ่านสารพัดเทคนิค สู่กลุ่มต่างๆ ช่วยสร้างพลังเสริมกัน • สนับสนุน งปม (ไม่ต้องมาก) สนับสนุนเครื่องมือ (ตรวจคุณภาพอาหาร- หวาน มัน เค็ม) • ช่วยจัดการกับผู้ปกครอง ผู้ประกอบการภายนอก • ทำตัวเป็นแบบอย่าง (ไม่กินน้ำอัดลม ไม่กินอาหารทำลายสุขภาพ ออกกำลังกาย) • ครูเสนอโครงการมาให้สนับสนุนด้วย • ให้กำลังใจ ไม่ตอแยครูที่ทำงานด้านนี้

  31. เรื่องยากๆ (หรือยังมีประสบการณ์น้อย) – ต้องช่วยกันทั้งครู และผู้บริหาร • จัดการร้านค้ารอบ/นอก รร • ทำหลักสูตรบูรณาการ (ตอนนี้ยังมีเรื่องสุขภาพน้อย มีตัวอย่างของเรื่องทันตฯ) • ทำการสำรวจ ประเมิน ภาวะสุขภาพ หรือพฤติกรรมการกินของเด็กๆ แล้วเอามาใช้พูดคุยกัน (กับเด็กๆโดยตรง – หุ่นสวยด้วยมือเรา? หรือในหมู่ผู้บริหาร ในหมู่ครูในรร) ส่งแบบสอบถามถึงผู้ปกครองให้ประเมินเรื่องอาหารกับการออกกำลังกายของสมาชิกในบ้าน และเด็กนักเรียนด้วย • ใช้พลังนักเรียน (สภานักเรียน สารวัตรนักเรียน อย น้อย?) • ปลุกระดมผู้นำชุมชน (ยังไม่ค่อยมี แต่อาจช่วยได้กับเรื่อง ร้านค้ารอบๆ รร) • กระตุ้นผู้บริหาร รร (ผ่านการประชุมประจำเดือน ลปรร) • สร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง (ผู้ปกครองที่ลูกอ้วนใช้ไม่ค่อยได้ – ผู้ปกครองรู้สึกผิด แต่ไม่แน่ถ้าเขาจัดการลูกได้ อาจมีแรงฮึดอยากบอกคนอื่น) ชวนครูและผู้ปกครองออกกำลังกายพร้อมกับเด็กตอนเย็น? เปลี่ยนการประชุมผู้ปกครอง

  32. เรื่องฝากกลับไปที่ส่วนกลางเรื่องฝากกลับไปที่ส่วนกลาง • ช่วยสร้างควาตระหนักระดับชาติ • ควบคุมภาคธุรกิจ • กระตุ้นผู้ปฏิบัติ (ประกวด ให้รางวัล) – เอาผลการลดความอ้วนเป็นหลัก (แทนที่ธิดาช้าง)

  33. Good practices (projects/actions) • ทำเรื่องอาหารการกิน (รวมการแก้ปัญหาเด็กที่อ้วนแล้วด้วย) • ออกกำลังกาย (สารพัดโครงการ) – วิ่งหมื่นไมล์ วิ่งสะสมไมล์ เดินพาเหรดตอนเช้า เล่นแอโรบิคตอนเย็น ฝึกโยคะเด็กอนุบาล เอาเด็กอ้วนออกกำลัง (ลานไม่ใช่ลู่) เล่นกีฬาตามที่ชอบ • ควบคุมร้านค้า (ใน รร) – ครูไปตรวจ นักเรียนไปตรวจ ฝึกอบรมให้ความรู้แม่ค้า สหกรณ์ครูทำเอง • เยี่ยมบ้าน แล้วผสมผสานเรื่องอ้วน (สุขภาพ) ด้วย • ลดการดื่มน้ำอัดลม – ให้ความรู้ • ให้ความรู้กับเด็กๆ (ร่วมกับผู้ปกครอง) อาจชวนทำกิจกรรม • ประกวดการลดน้ำหนัก • ทำค่ายลดความอ้วน

  34. บทบาท ผู้บริหาร (เทศบาล ผอ รร) • ให้นโยบายและติดตามอย่างจริงจัง (จะทำให้ฝ่ายต่างๆ มาทำงานร่วมกันได้ดียิ่งขึ้น – ทั้งในระดับเทศบาล และ ใน รร) • ทำแผนอย่างมีส่วนร่วมทุกระดับ • ทำโครงการเสริม (ทำค่าย ประกวดโลโก) • ช่วยเชื่อมประสานงาน – ภายในองค์กร (โดยเฉพาะในเทศบาล) กับ ภาคีภายนอก (ช่วยเรื่องร้านค้ารอบ รร) • เผยแพร่ความรู้ผ่านสารพัดเทคนิค สู่กลุ่มต่างๆ ช่วยสร้างพลังเสริมกัน • สนับสนุน งปม (ไม่ต้องมาก) สนับสนุนเครื่องมือ (ตรวจคุณภาพอาหาร- หวาน มัน เค็ม) • ช่วยจัดการกับผู้ปกครอง ผู้ประกอบการภายนอก • ทำตัวเป็นแบบอย่าง (ไม่กินน้ำอัดลม ไม่กินอาหารทำลายสุขภาพ ออกกำลังกาย) • ครูเสนอโครงการมาให้สนับสนุนด้วย • ให้กำลังใจ ไม่ตอแยครูที่ทำงานด้านนี้

  35. เรื่องยากๆ (หรือยังมีประสบการณ์น้อย) – ต้องช่วยกันทั้งครู และผู้บริหาร • จัดการร้านค้ารอบ/นอก รร • ทำหลักสูตรบูรณาการ (ตอนนี้ยังมีเรื่องสุขภาพน้อย มีตัวอย่างของเรื่องทันตฯ) • ทำการสำรวจ ประเมิน ภาวะสุขภาพ หรือพฤติกรรมการกินของเด็กๆ แล้วเอามาใช้พูดคุยกัน (กับเด็กๆโดยตรง – หุ่นสวยด้วยมือเรา? หรือในหมู่ผู้บริหาร ในหมู่ครูในรร) ส่งแบบสอบถามถึงผู้ปกครองให้ประเมินเรื่องอาหารกับการออกกำลังกายของสมาชิกในบ้าน และเด็กนักเรียนด้วย • ใช้พลังนักเรียน (สภานักเรียน สารวัตรนักเรียน อย น้อย?) • ปลุกระดมผู้นำชุมชน (ยังไม่ค่อยมี แต่อาจช่วยได้กับเรื่อง ร้านค้ารอบๆ รร) • กระตุ้นผู้บริหาร รร (ผ่านการประชุมประจำเดือน ลปรร) • สร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง (ผู้ปกครองที่ลูกอ้วนใช้ไม่ค่อยได้ – ผู้ปกครองรู้สึกผิด แต่ไม่แน่ถ้าเขาจัดการลูกได้ อาจมีแรงฮึดอยากบอกคนอื่น) ชวนครูและผู้ปกครองออกกำลังกายพร้อมกับเด็กตอนเย็น? เปลี่ยนการประชุมผู้ปกครอง

  36. เรื่องฝากกลับไปที่ส่วนกลางเรื่องฝากกลับไปที่ส่วนกลาง • ช่วยสร้างความตระหนักระดับชาติ • ควบคุมภาคธุรกิจ • กระตุ้นผู้ปฏิบัติ (ประกวด ให้รางวัล) – เอาผลการลดความอ้วนเป็นหลัก (แทนที่ธิดาช้าง)

More Related