1 / 50

AEC การเตรียมการด้านบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเชี่ยน

AEC การเตรียมการด้านบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเชี่ยน. นรา รัตนรุจ 16 มิถุนายน 2557. ประเด็นนำเสนอเพื่อสนทนา. สถานการณ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของไทยกับ สถานะการณ์ที่ ท้าทายในปัจจุบัน การเตรียมความพร้อม การให้บริการจัดหางานเพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเชี่ยน

Télécharger la présentation

AEC การเตรียมการด้านบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเชี่ยน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. AECการเตรียมการด้านบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเชี่ยน นรา รัตนรุจ 16 มิถุนายน 2557

  2. ประเด็นนำเสนอเพื่อสนทนาประเด็นนำเสนอเพื่อสนทนา • สถานการณ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของไทยกับสถานะการณ์ที่ท้าทายในปัจจุบัน • การเตรียมความพร้อม การให้บริการจัดหางานเพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเชี่ยน • การให้บริการจัดหางาน เมื่อรวมเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแล้ว • การดำเนินการกับผู้จัดหางาน โดยรัฐและโดยเอกชนกับหลักสากลฯ • บทสรุปและข้อพึงระวัง

  3. ประเด็นการสนทนาที่ 1สถานการณ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของไทยกับสถานะการณ์ ที่ท้าทายในปัจจุบัน

  4. 1.1เศรษฐกิจไทยผันผวนแต่การว่างงานก็ต่ำเสมอ1.1เศรษฐกิจไทยผันผวนแต่การว่างงานก็ต่ำเสมอ

  5. เศรษฐกิจไทยผันผวนจากวิกฤตหลายครั้งทำให้ประเทศไทยถอยหลังไม่น้อยกว่า 5 ปีแต่ไม่ทำให้การว่างงานเพิ่มขึ้น ที่มา:สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  6. ช่วง 10 ปีที่ผ่านมาผู้ว่างงานลดลงอย่างต่อเนื่องเฉลี่ยปีละ 55,000 คน ที่มา: ข้อมูลจำนวนผู้ว่างงานและอัตราการว่างงานได้จาก การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร สำนักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมูล GDP ได้จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เอกสารประกอบการประชุมวันศุกร์ที่ 5 สิงหาคม 2554 ห้องประชุมปกรณ์ อังศุสิงห์ ชั้น 10 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

  7. 1.2: ปัญหาด้านประชากรสูงอายุ

  8. แนวโน้มประชากรวัยแรงงานและกำลังแรงงานแนวโน้มประชากรวัยแรงงานและกำลังแรงงาน • หลัง2555 ประชากรวัยแรงงาน 15-59 ลดลง • แต่ถ้ารวมผู้สูงอายุจะยังเพิ่มอยู่ • แรงงาน 15-59 ชะลอตัว และลดลง • แต่แรงงาน 60+ เพิ่ม แรงงาน15+ ประชากร15-59 แรงงาน 15-59 ประชากร 60+ แรงงาน 60+ ปิรามิด ที่มา-United Nation Population Projection(Medium)

  9. โครงสร้างอายุแรงงานไทย 2555 (เฉลี่ย 4 ไตรมาส) 1.6. ล้าน 1.4.ล้าน

  10. การสูญเสียกำลังแรงงานและอุปทาน 2554 ม.ต้นและประถม สมมติให้เกษียณที่ 70 ปี เพราะเป็นแรงงานระดับล่างและนอกระบบ

  11. 1.3. วิกฤตขาดแคลนแรงงาน - ปริมาณ - คุณภาพ

  12. จำนวนผู้ว่างงาน จำแนกตามระดับการศึกษา ปี 2549 - 2554 สถานการณ์แรงงานของประเทศ 2554 อัตรา 2554 ประถม 0.3 ม.ต้น 0.9 ม.ปลาย 0.9 อุดมศึกษา 1.4

  13. จำนวนแรงงานที่ต้องการและขาดแคลน ปี 2553 หมายเหตุ : * ขาดแคลน หมายถึงหาคนยาก หาคนไม่ได้ตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป ที่มา: สำรวจความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ พ.ศ. 2551 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  14. ความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ ปี 2553 หน่วย : คน ที่มา: ข้อมูลการสำรวจความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ ปี 2551 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  15. ปัญหาแรงงาน SMEsไม่พอเกิดน้อยทำให้อัตราเพิ่มประชากรและแรงงานลดน้อยลง ที่มา:Piyabutr Cholvijarn “ Leading the Future with the Empowerment of Human Capital : Industrial Sector.

  16. แรงงานไทยร้อยละ 70 มีการศึกษาต่ำกว่าม.ต้น การจ้างงาน แรงงานใหม่ ระดับปริญญา 4 ล้าน ตายปีละ 2.3 หมื่น เกษียณ 4.4 หมื่น 6.3ล้าน ตาย3.2หมื่น ออก 5.3หมื่น ปริญญา แรงงานใหม่ 225,500คน/ปี 59.6% 26.5 ล้านคน ตายปีละกว่า 2 แสนคนเกษียณ 600,000 อนุปริญญา85,000(17.95%) ม.ปลาย47,000 16.21% ม.ต้นและประถม 6.29% (9 หมื่นคน/ปี) ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ เฉลี่ย 4 ไตรมาส 2551 ที่มา: คำนวณจากตัวเลขกระทรวงศึกษาธิการ 2551 ความไม่สอดคล้องระหว่างความต้องการแรงงานกับอุปทานแรงงาน

  17. 2.1 ขาดแคลนแรงงานเพราะว่าอุปทานแรงงานระดับล่างและกลางออกสู่ตลาดแรงงานน้อยมาก คาดประมาณจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ที่จะเข้าสู่ตลาดแรงงาน ปี 2554-2563 ที่มา: TDRI

  18. สัดส่วนของแรงงานที่ขาดแคลน แต่ละระดับการศึกษา การขาดแคลนแรงงานในระดับล่างยังเป็นสัดส่วนที่สูงมาก หมายเหตุ: ประมวลผลจากระบบข้อมูลการสำรวจอุปสงค์ของระบบ PmanP การสำรวจรอบปี 2550 และ 2554 ที่มา: สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน

  19. สัดส่วนของแรงงานที่ขาดแคลน ในแต่ละอุตสาหกรรม หมายเหตุ: ประมวลผลจากระบบข้อมูลการสำรวจอุปสงค์ของระบบ PmanP การสำรวจรอบปี 2550 และ 2554 ที่มา: สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน

  20. ผลการคาดประมาณความต้องการกำลังคนโดยรวมและความต้องการกำลังคนส่วนเพิ่ม จำแนกตามระดับการศึกษา ปี 2555-2558 หมายเหตุ : ความต้องการกำลังคนส่วนเพิ่มประมาณการมาจากความต้องการกำลังคนเพิ่มเพื่อตอบสนองเพิ่ม/ลดตำแหน่งงาน บวกกับความต้องการกำลังคนเพื่อทดแทนแรงงานเก่า ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 2553.

  21. ผลการคาดประมาณการผู้สำเร็จการศึกษาและพร้อมที่จะเข้าสู่ตลาดแรงงานของประเทศ จำแนกตามระดับการศึกษา ปี 2555-2558 ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. 2553. การศึกษาความต้องการกำลังคนเพื่อวางแผนการผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ. เสนอต่อ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

  22. สรุปภาพรวมแรงงานต่างด้าวในไทย จากสถิติพบว่าในปี 2553 มีจำนวนคนต่างด้าวในประเทศไทยประมาณ 1,300,281 คน ซึ่งสามารถจำแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ (ก) แรงงานต่างด้าวที่เป็นแรงงานฝีมือ(skilled labor) ส่วนใหญ่เป็นแรงงานที่มีทักษะฝีมือในระดับผู้บริหารและผู้เชี่ยวชาญ จากประเทศญี่ปุ่น (ร้อยละ 15.2) มีประเทศในอาเซียนที่มาทำงานในไทยสูงสุดคือ ฟิลิปปินส์ (ร้อยละ 9.1) ทั้งนี้ในสาขาการผลิต 9 สาขาเร่งรัดตามกรอบอาเซียนที่มีจำนวนแรงงานต่างชาติขอใบอนุญาตเข้ามาทำงานในไทยสูงสุดสามอันดับแรกได้แก่ ผลิตภัณฑ์เกษตร 1,495 ตำแหน่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ 1,337 ตำแหน่ง อิเล็กทรอนิกส์ 1,163 ตำแหน่ง (ข) แรงงานต่างด้าวที่เป็นแรงงานไร้ฝีมือ(unskilled labor) ได้แก่ กลุ่มแรงงานต่างด้าวที่หลบหนีเข้าเมืองผิดกฎหมาย 3 สัญชาติ (กัมพูชา ลาว พม่า) ในปี 2553 มีจำนวนประมาณเก้าแสนคน ส่วนใหญ่ทำงานเป็นกรรมกรในสาขาเกษตร (ร้อยละ 18.4) ประมง (ร้อยละ 14) สิ่งทอ(ร้อยละ 7.2)

  23. ภาพรวมแรงงานต่างด้าวในไทย ปี 2553 จำนวนแรงงานต่างด้าว 1,300,281 คน เข้าเมืองถูกกฎหมาย 344,686 คน เข้าเมืองผิดกฎหมาย 955,595 คน ชนกลุ่มน้อย 23,340 คน ตลอดชีพ 14,423 คน MOU 236,569 คน มติครม.3 สัญชาติ 932,255 คน Unknown=? ทั่วไป 70,449 คน Skilled labor BOI 23,245 คน ที่มา: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน

  24. แรงงานต่างด้าวมีฝีมือในไทย ปี 2553 ที่มา: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน

  25. ภาพรวมแรงงานต่างด้าวในไทย (ต่อ) • ในปี 2553 แรงงานต่าวด้าวที่ได้รับอนุญาตให้ทำงานตามมติครม. 3 สัญชาติ (พม่า ลาว และกัมพูชา) ส่วนใหญ่ทำงานกรรมกร ที่มา: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน

  26. การให้บริการจัดหางานกับสถานกาณ์ที่ท้าทาย (1) 1. อัตราว่างงาน (โดยเปิดเผย) ของไทยต่ำมาก 0.7-0.9% ของกำลังแรงงาน (39.6 ล้านคน) 270,000-350,000 คน แต่ประมาณ 70% (ประมาณ 220,000 คน) ไม่หางานทำทั้งๆ ที่กำลังแรงงานมีอายุอยู่ระหว่าง 20-35 ปี หรือประมาณ 1 แสนคน ซึ่งเกือบครึ่งหนึ่งหรือ 1.45 แสนคนจบปริญญาตรี อีก 5 หมื่นคน จบ ปวส. ซึ่งไม่ตรงกับสาขาที่นายจ้างต้องการ (ค่าจ้างสูงเกินไปสำหรับ SMEs) 2. ประเทศไทยมีแรงงานต่างด้าวถึง 2.5 ล้านคน หรือมากกว่า ซึ่งเป็นเครื่องยืนยันว่า “เราขาดแคลนแรงงานจริง” (ประมาณ 6% ของกำลังแรงงาน) นอกจากนั้น ยังไม่มีคนไทยคนใดออกมา เดินขบวน” บอกว่าคนต่างด้าวแย่งงานคนไทย

  27. การให้บริการจัดหางานกับสถานกาณ์ที่ท้าทาย (2) • 3. ประเทศไทยมี “การเข้าออกงานสูงมาก” 20-25% • เป็นภาระ HR ต้องหาคนงานมาทดแทน เนื่องจาก • ตลาดแก่งแย่งคนงานกันเองในอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ (จ่ายค่าแรง/สวัสดิการดีกว่า SMEs และมี OT ให้เพิ่มรายได้ • สภาพแวดล้อมของ L-industry ดีกว่า SMEs • อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มีโอกาสความก้าวหน้าทั้งเงินเดือน/ตำแหน่งมากกว่า • ระหว่างเคลื่อนย้ายเปลี่ยนงาน ทำให้สูญเสียคนไปบางส่วน

  28. การให้บริการจัดหางานกับสถานกาณ์ที่ท้าทาย (3) 4. ประเทศไทยมีสัดส่วนของอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้นยังสูงมาก อุตสาหกรรม Capital Intensive หรือ Semi-Technology Intensive ยังมีส่วนของการใช้แรงงานจำนวนมากอยู่ดี โดยเฉพาะการประกอบ 5. คนงานไทย “ไม่สู้งาน หยิบโหย่ง ไม่จงรักภักดี” ทำงานไม่ตลอดไปจนถึงอายุ 55-60 ปี 6. สถานประกอบการไทยส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นเจ้าของ (สิทธิบัตร) เทคโนโลยี นวัตกรรม ไม่ได้เป็นเจ้าของ (ทุน) ไม่ได้เป็นเจ้าของ Brand อ่อนแอด้านการตลาด “ทำหน้าที่เพียงเป็นผู้หาและผู้บริหารคน” เท่านั้น

  29. การให้บริการจัดหางานกับสถานกาณ์ที่ท้าทาย (4) 7. แรงงานไทย “ขาดแคลนคุณภาพ” ไม่เพียงแต่ในเรื่อง “ความรู้” คือ มีแต่ Hands (Craftsmanship) ไม่มี “Head” เรียนมาน้อย เพราะออกจากการศึกษาไม่ฉลาดไม่มีไหวพริบ (ขาดทักษะเชิงคิด) หัวสมองทึ่ม (ระบบการศึกษามีแต่คนหากินกับเด็กและสนใจตัวเองมากกว่าเด็ก) ไม่มี “สอบตก” และไม่สนใจอย่างจริงจังที่จะนำเอาเด็กที่มีปัญหาเข้าระบบ “สอนพิเศษอย่างจริงจัง” ปล่อยออกมาสู่ตลาดแรงงาน “โดยไม่รับผิดชอบ” สรุปคือ รู้น้อย ฉลาดน้อย คิดได้น้อย 8. ทิศทางด้าน “อุปสงค์” ของไทยขาดวิสัยทัศน์ แถมคิดสั้นๆ มีแผนสวยหรูใน “กระดาษ” แต่การ “บรูณาการ” สะเปะสะปะ เอาเข้าจริงๆ ต่างคนต่างทำ ไม่ทราบว่าประเทศไทยจะเดินไปทางไหนแน่ เน้นที่เรามีฐานทรัพยากร (NACS) ซึ่งโตช้าแต่มั่นคง หรือ NCESs (Newly Service Counties) หรือ NICs (จนป่านนี้ยังเป็นของคนอื่น) ทำให้การวางแผนเตรียมคิดระยะยาวจริงๆ (15-20 ปี) เกือบจะทำไม่ได้เลย

  30. การให้บริการจัดหางานกับสถานกาณ์ที่ท้าทาย (5) 9. ขาดแคลนเพราะหลงใหล “ในใบปริญญา” เรียนนานจนได้ปริญญาเอามาติดข้างฝา แล้วตกงาน” แนะให้เรียนโดยไม่ลืมหูลืมตาว่า ตลาดแรงงานของไทย “อาภัพ-ไม่พัฒนา” เมืองไทยเป็นประเทศ “Blue Collar Country หรือ Supper Blue Collar Country” เท่านั้น ไม่ใช่ประเทศ White Collars (ผูกไท้ใส่สูท) ถึงทำให้แรงงานที่ผลิตออกมา 150,000 คน ตกงาน เพราะเรียนสูงเกินระดับที่ตลาดต้องการ

  31. ประเด็นการสนทนาที่ 2การเตรียมความพร้อม การให้บริการจัดหางานเพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเชี่ยน

  32. การเตรียมความพร้อม การให้บริการจัดหางาน เพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเชี่ยน

  33. จะเกิดอะไรขึ้นใน AEC 2015 “การเปลี่ยนแปลงเกิดจากผลการดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป AEC ไม่ได้ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในทันที แต่เป็น work in progress และเป็น milestone” • อาเซียนจะกลายเป็นตลาดร่วม • อาเซียนสามารถถือหุ้นได้ถึง 70% ในธุรกิจบริการในอาเซียน • อาเซียนดึงดูดการลงทุนจากทั่วโลก • อำนวยความสะดวกในการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ • มีการรวมตัวของตลาดเงินและตลาดทุนอย่างเป็นระบบ • พัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่อเนื่อง • เศรษฐกิจอาเซียนบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก • ขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนเพิ่มสูงขึ้น • มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน

  34. สรุป... อาเซียนจะกลายเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 (2015) ไทยจะเป็นส่วนหนึ่งของตลาดและฐานการผลิตร่วมของอาเซียน ภาษีนำเข้าจะเป็นศูนย์ ในอาเซียน-6 ณ 1 มค 2553 ใน CLMV ณ 1 มค 2558 จะไปทำธุรกิจภาคบริการ หรือไปลงทุนในอาเซียนอื่นๆได้อย่างเสรี ขณะเดียวกัน ไทยจะต้องเปิดเสรีถึง 70% ในปี 2558 สิ่งแรกคือ ต้องให้ทุกภาคส่วนตระหนัก(รู้) แต่อย่า(ตื่น)ตระหนก ผลที่จะเกิดขึ้นมีทั้งได้และเสีย ต้องกระตุ้น ต้องปรับตัว แนะการเตรียมตัวรับมือ ให้กับผู้ที่อาจเสีย/ได้รับผลกระทบ แนะลู่ทางการใช้ประโยชน์ ให้กับผู้ที่จะได้ประโยชน์ ให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ควรแนะให้ภาคเอกชนใช้ยุทธศาสตร์เชิงรุก มากกว่าคิดแต่จะรับ

  35. ไทยอยู่ตรงไหน??ในอาเซียนไทยอยู่ตรงไหน??ในอาเซียน Note: Latest available data in Year 2010 Source: ASEAN Secretariat Database

  36. การจัดอันดับศักยภาพการแข่งขันของไทยในอาเซียนการจัดอันดับศักยภาพการแข่งขันของไทยในอาเซียน IMD: ASEAN Overall&Factor Benchmarking 2012 Source: TMA (Thailand Management Association)

  37. โครงสร้างแรงงานอาเซียนโครงสร้างแรงงานอาเซียน

  38. โครงสร้างแรงงานอาเซียน 2010 จำแนกตามสาขา ที่มา:ILO 2010

  39. สัดส่วนการจ้างงานในอาเซียน จำแนกตามอาชีพ ที่มา:ASEAN Statistic Database สัดส่วน: เปอร์เซนต์

  40. สัดส่วนแรงงาน และ ค่าแรงขั้นต่ำของสมาชิกอาเซียน

  41. อัตราการว่างงานจำแนกรายประเทศอาเซียนอัตราการว่างงานจำแนกรายประเทศอาเซียน ที่มา:tradingeconomics.com, Bank of Thailand

  42. การเคลื่อนย้ายแรงงานในอาเซียนการเคลื่อนย้ายแรงงานในอาเซียน • การเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าเมืองถูกกฎหมายเพื่อทำงาน ตามกฎหมายไทย มี 2 แบบหลักๆ • ตามการลงทุน/การค้า (มาตรา 12 : BOI or FDI) • การหางานทำ(มาตรา 9: ทั่วไป ตลอดชีพ MOU) • (การเคลื่อนย้ายออกขึ้นกับกฎหมายประเทศปลายทางและกฎระเบียบกระทรวงแรงงาน) • แรงงานทั้งไทยและอาเซียน มี 2 ระดับ • แรงงานฝีมือ (Skilled workers) • แรงงานระดับล่าง (Unskilled) • เป้าหมายของการเคลื่อนย้ายแรงงาน AEC 2558 จำกัดอยู่ที่ • บุคคลธรรมดา/นักธุรกิจ (Mode 4) ไม่ผูกพันคนหางานทำทั่วไป • แรงงานฝีมือ/ระดับวิชาชีพ(ใน 7 สาขาวิชาชีพ + การท่องเที่ยว/โรงแรม)

  43. แนวโน้มแรงงานต่างด้าวถูกกฎหมายจากทั่วโลก 2540-2554 Regular legal (non-CLM) Permanent residents, temporary migrants and migrants under investment promotion laws ขึ้นอยู่กับสถานการณ์เศรษฐกิจ มีขึ้นลง ถูกกม.(ไม่รวม CLM) 100,641 เป็นอาเซียน 14,313 (12,303 +2,010 = 14 %) Trend reflects economic fluctuations Note: Legal migrant workers with work permit include permanent resident migrants, temporary migrants and migrants under investment promotion laws; not including CLM semi-legal migrants (NV, MOU,)

  44. จำนวนคนต่างด้าวเข้าเมืองถูกกฎหมาย (มาตรา 9 ประเภททั่วไป) จำแนกตามสัญชาติ ธันวาคม 2554จำนวน 80985 คน(ไม่นับ CLM และตลอดชีพ)

  45. พันธกรณีของไทยกับอาเซียน กรณี : การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี

  46. บริการวิชาชีพ • บริการกฎหมาย • บริการบัญชี ตรวจสอบบัญชี • บริการด้านภาษี • สถาปัตยกรรม • สถาปัตยกรรมผังเมือง/ภูมิสถาปัตยกรรม • วิศวกรรม • วิศวกรรมแบบครบวงจร • แพทย์และทันตแพทย์ • สัตวแพทย์ • กายภาพบำบัด พยาบาล ผดุงครรภ์ ปฐมพยาบาล • บริการวิชาชีพอื่นๆ

  47. พันธกรณีของไทยในอาเซียนและเวทีระหว่างประเทศอื่นๆพันธกรณีของไทยในอาเซียนและเวทีระหว่างประเทศอื่นๆ 1. Business Visitors ผู้เข้ามาติดต่อธุรกิจ คุณสมบัติของบุคคล • บุคคลธรรมดาทั่วไป ระยะเวลาอนุญาตพำนัก • 90 วัน วัตถุประสงค์ของการเดินทางเข้ามา • เข้าร่วมประชุมและติดต่อธุรกิจ • ตกลงสัญญาซื้อ-ขายบริการ • เยี่ยมเยียนธุรกิจ และกิจกรรมอื่นๆที่ใกล้เคียง

  48. พันธกรณีของไทยในอาเซียนและเวทีระหว่างประเทศอื่นๆพันธกรณีของไทยในอาเซียนและเวทีระหว่างประเทศอื่นๆ 2. Intra-corporate transferees ผู้โอนย้ายภายในกิจการระหว่างประเทศ คุณสมบัติของบุคคล • บุคคลระดับ Managers, Executives, Specialists • ได้รับการจ้างงานในบริษัทที่เกี่ยวข้องมาไม่น้อยกว่า 1 ปี ระยะเวลาอนุญาตพำนัก • 1 ปี และอาจต่ออายุได้อีก 2 ครั้ง โดยต่อได้ครั้งละ 1 ปี กฎระเบียบอนุญาตทำงานของไทย • ต้องผ่านหลักเกณฑ์Management needs กำหนดโดยกรมการจัดหางาน ได้แก่ 1. ขนาดของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 2. การจ้างงาน 3. ขยายการลงทุนจากต่างชาติ 4. ส่งเสริมการส่งออก 5. การถ่ายทอดเทคโนโลยี และ 6. Special needs of the management

  49. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ

  50. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อตลาดแรงงานของไทยจากการเปิดตลาดการเคลื่อนย้ายบุคคลระหว่างประเทศผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อตลาดแรงงานของไทยจากการเปิดตลาดการเคลื่อนย้ายบุคคลระหว่างประเทศ By Inflows • การเปิดตลาดโดยมุ่งเน้นที่บุคคลและแรงงานระดับสูง (High skills) รวมถึงนักธุรกิจ และนักลงทุน จะเป็นส่วนสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและการจ้างงานของไทย • ไทยไม่มีนโยบายเปิดตลาดแรงงานระดับกลาง-ล่าง (Semi-low skills) ดังนั้นจึงไม่กระทบตลาดแรงงานส่วนใหญ่ของไทย By Outflows • การเจรจาเปิดตลาดแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างกันจะเป็นการเปิดโอกาสเพิ่มขึ้นให้กับแรงงานของไทยสามารถไปทำงานยังต่างประเทศได้

More Related