1 / 44

งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ. วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ๑. โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ปี ๒๕๕๕ ๒ . สถานการณ์โรค ๑๐ ลำดับ จังหวัดอุดรธานี ๓. สถานการณ์โรค มือ เท้า ปาก จังหวัดอุดรธานี ๔. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี

abra-barker
Télécharger la présentation

งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ๑. โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ปี ๒๕๕๕ ๒. สถานการณ์โรค ๑๐ ลำดับ จังหวัดอุดรธานี ๓. สถานการณ์โรค มือ เท้า ปาก จังหวัดอุดรธานี ๔.สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี ๕. ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ๒๐๐๙ และการรายงาน ILI ๖. สรุปการรายงานเหตุการณ์ SRRT เครือข่ายระดับตำบล ๗. รายงานความทันเวลาของ รายงาน ๕๐๖

  2. โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลจังหวัดอุดรธานี ปี 2555 ระยะเวลาดําเนินการวันที่ 1 มิถุนายน ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2555

  3. กลุมเปาหมาย(ใหม่) บุคลากร จำนวน 7,000 โด๊สประชาชน จำนวน 56,639 โด๊สรวม จำนวน 63,599 โด๊ส (เป้าหมายเดิม 66,053 โด๊ส)

  4. ๑.บุคลากรเสี่ยงตอการสัมผัสโรค๑.บุคลากรเสี่ยงตอการสัมผัสโรค แพทย พยาบาล และบุคลากรอื่นๆ ในโรงพยาบาล เจาหนาที่สาธารณสุขที่ทําหนาที่ในการสอบสวนควบคุมโรค เจาหนาที่และอาสาสมัครทําลายซากสัตวปก และสัตวอื่น เจาหนาที่หองปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยโรค

  5. ๒.ประชาชนกลุมเสี่ยง(สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติกําหนด) • บุคคลอายุ๒ ปขึ้นไป ถึง ๖๕ ป ที่มีโรคเรื้อรัง ดังนี้ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย ผูปวยมะเร็งที่อยูระหวางการไดรับเคมีบําบัดและเบาหวาน • บุคคลที่มีอายุ๖๕ ปขึ้นไป ทุกคน

  6. ๓.บุคลกลุมเสี่ยงอื่นๆ(คณะอนุกรรมการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคกําหนด)๓.บุคลกลุมเสี่ยงอื่นๆ(คณะอนุกรรมการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคกําหนด) • หญิงมีครรภ อายุ๔ เดือนขึ้นไป * • บุคคลโรคอวน(น้ำหนักมากกว่า ๑๐๐ กิโลกรัม หรือ BMI มากกวา ๓๕ กิโลกรัมตอตารางเมตร) • ผูพิการทางสมองที่ชวยเหลือตนเองไมได • เด็กอายุ๖ เดือน ถึง ๒ ปทุกคน • ผูปวยธาลัสซีเมีย และผูที่มีภูมิคุมกันบกพรอง (รวมผูติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ)

  7. บันทึกข้อมูลผลการให้บริการฉีดวัคซีน ในโปรแกรมฯ ภายใน ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๕ • ประชากรกลุ่มเป้าหมาย จ่ายในอัตรา ๒๐ บาท/ราย บุคลากรกลุ่มเสี่ยง จ่ายในอัตรา ๑๐ บาท/ราย

  8. การสนับสนุนค่าจัดการเพิ่มเติมการสนับสนุนค่าจัดการเพิ่มเติม ผลงานในภาพรวมของจังหวัด 1. ความครอบคลุมวัคซีนในประชากรกลุ่มเป้าหมาย ( 65 ปีขึ้นไป+ 7 โรคเรื้อรัง) 2. อัตราการสูญเสียวัคซีน

  9. การสนับสนุนค่าจัดการเพิ่มเติมในประชากรกลุ่มเป้าหมายการสนับสนุนค่าจัดการเพิ่มเติมในประชากรกลุ่มเป้าหมาย • ความครอบคลุม ≥ ร้อยละ 95 จัดสรรเพิ่ม 15 บาท/ราย (กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน) • ความครอบคลุมร้อยละ 90-94.99 12 บาท/ราย • ความครอบคลุมร้อยละ 85-89.99 10 บาท/ราย • ความครอบคลุมร้อยละ 80-84.99 8 บาท/ราย • ความครอบคลุม < ร้อยละ 80 5 บาท/ราย

  10. อัตราการสูญเสียวัคซีนอัตราการสูญเสียวัคซีน อัตราการสูญเสียไม่เกินร้อยละ 2 สนับสนุน 10 บาท/ประชากรเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน อัตราการสูญเสียไม่เกินร้อยละ 3 สนับสนุน 8 บาท อัตราการสูญเสียไม่เกินร้อยละ 4 สนับสนุน 4 บาท อัตราการสูญเสียไม่เกินร้อยละ 5 สนับสนุน 2 บาท อัตราการสูญเสียมากกว่าร้อยละ 5 สนับสนุน 1 บาท

  11. ผลการให้บริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จังหวัดอุดรธานีผลงานทั้งหมด ณ วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ผลรวมทั้งจังหวัด คือ 22,959ราย คิดเป็นร้อยละ 36.10 (เป้าหมาย 63,599)

  12. ผลการให้บริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จังหวัดอุดรธานี(ต่อ)ผลงานทั้งหมด ณ วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ผลรวมทั้งจังหวัด คือ 22,959ราย คิดเป็นร้อยละ 36.10 (เป้าหมาย 63,599)

  13. ผลการให้บริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จังหวัดอุดรธานีผลงานในประชาชนกลุ่มเสี่ยง ณ วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ผลงานในประชาชนกลุ่มเสี่ยง คือ 18,708ราย คิดเป็นร้อยละ 33.00 (เป้าหมาย 56,639)

  14. ผลการให้บริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จังหวัดอุดรธานี(ต่อ)ผลงานในประชาชนกลุ่มเสี่ยง ณ วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ผลงานในประชาชนกลุ่มเสี่ยง คือ 18,708ราย คิดเป็นร้อยละ 33.00 (เป้าหมาย 56,639)

  15. อัตราป่วยด้วยโรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จ.อุดรธานี ข้อมูล วันที่ ๑มกราคม - ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ อัตราป่วย ต่อ ประชากรแสนคน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 แหล่งข้อมูล : รายงาน ๕๐๖ งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สสจ.อุดรธานี

  16. สถานการณ์โรค มือ เท้า ปาก

  17. สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก ข้อมูล วันที่ ๑ มกราคม – ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ที่มา:สำนักระบาดวิทยา รายงานประจำสัปดาห์ที่ ๓๐

  18. จำนวนผู้ป่วย โรคมือ เท้า ปาก จังหวัดอุดรธานี จำแนกตามวันเริ่มป่วย ข้อมูลวันที่ ๑ ม.ค. ๕๕ – ๒๖ ก.ค. ๕๕ ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ม.ค. จำนวนผู้ป่วย 121 ราย อัตราป่วย 7.88 /ประชากรแสนคน , จำนวนผู้เสียชีวิต 0 ราย ที่มา: งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี

  19. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรค Hand , foot and mouth จำแนกรายเดือนเปรียบเทียบข้อมูล ปี 2554 กับค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง

  20. อัตราป่วย โรค Hand , foot and mouth diseaseจำแนกรายอำเภอ ตั้งแต่ 1 ม.ค.55 – 26 ก.ค.55 อัตราป่วย ต่อ ปชก.แสนคน 5 12 62 4 3 5 11 2 3 2 4 2 1 2 1 2 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 121 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 7.88 ต่อประชากรแสนคน ที่มา: รายงาน 506 สสจ.อุดรธานี

  21. อัตราป่วย โรค Hand , foot and mouth diseaseจำแนกรายอำเภอ ตั้งแต่ 1 ก.ค.55 – 26 ก.ค.55 อัตราป่วย ต่อ ปชก.แสนคน 5 9 4 5 2 4 1 1 2 1 1 37 2 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 74 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 4.82 ต่อประชากรแสนคน ที่มา: รายงาน 506 สสจ.อุดรธานี

  22. สถานการณ์โรค มือ เท้า ปาก จังหวัดอุดรธานีข้อมูล ณ วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕ 1.มีผู้ป่วยสะสมตั้งแต่ ๑ ม.ค.๕๕ – ๒๖ ก.ค. ๕๕ ๑๒๑ ราย - หายเป็นปกติหรือพ้นระยะเฝ้าระวัง ๗ วัน ๘๔ ราย 2.มีผู้ป่วยที่ยังอยู่ในระยะเฝ้าระวัง ๓๗ ราย - จำนวน ๙ อำเภอ ได้แก่ อ.เมือง ๑๙ ราย อ.กุดจับ ๕ ราย อ.หนองแสง ๕ ราย อ.หนองหาน ๒ ราย อ.ทุ่งฝน ๒ ราย อ.สร้างคอม อ.บ้านดุง อ.บ้านผือ อ.เพ็ญ อำเภอละ 1 ราย

  23. สถานการณ์การปิดศูนย์เด็กเล็ก/โรงเรียนข้อมูล ณ วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕ • ศูนย์เด็กเล็กวัดครองธรรมิการาม ต.นาดี อ.หนองแสง มีรายงาน ผู้ป่วย ๕ ราย ปิดศูนย์เด็กเล็ก ๗ วัน (๒๕ - ๓๑ กรกฎาคม ๕๕) เพื่อทำความสะอาด และแนะนำให้ปิดต่ออีก ๗ วัน เนื่องจาก มีผู้ป่วยเพิ่มอีก ๕ ราย ๒. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนิคมสงเคราะห์ อ.เมือง มีรายงานผู้ป่วย ๑ ราย ปิดศูนย์เด็กเล็ก 2 วัน (๒๖ – ๒๗ กรกฎาคม ๕๕) เพื่อทำความสะอาด

  24. มาตรการเฝ้าระวังควบคุมโรคมือเท้าปากมาตรการเฝ้าระวังควบคุมโรคมือเท้าปาก ให้พ่อแม่ผู้ปกครองดูแลสุขอนามัยบุตรหลาน เน้นกินร้อนช้อนกลางล้างมือ เมื่อป่วยไข้สูงลอย ๒ วัน ซึม รีบพบแพทย์ ให้ศูนย์เด็ก/รร.อนุบาล คัดกรองเด็กทุกเช้า ดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม เช่น ของเล่น ที่นอน ห้องเรียน ห้องน้ำ ให้ถูกสุขลักษณะ สะอาด ปลอดภัย ให้สถานพยาบาลทุกแห่ง จัดระบบคัดกรอง รักษาพยาบาลผู้ป่วย และสอบสวนควบคุมโรคอย่างรวดเร็ว ประสานขอความร่วมมือทุกภาคส่วน ให้ตระหนักในการเฝ้าระวังและควบคุมโรค

  25. สรุปผลการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายสรุปผลการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลาย จังหวัดอุดรธานี ประจำเดือนมิถุนายนและ กรกฎาคม 2555

  26. ผลการสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ในหมู่บ้าน/ชุมชน แยกรายอำเภอ จ.อุดรธานี เดือนมิถุนายน 2555 (วันที่ 8-15 มิ.ย.55)โดย ทีมศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 6.2 อุดรธานี ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย(HI) : ค่า HI > 10 – 20 (4 อำเภอ) : ค่า HI ≤ 10 (14 อำเภอ) : ค่า HI ≥ 20 (2 อำเภอ)

  27. หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย (HI = 0) เดือนมิถุนายน 2555 (5 หมู่บ้าน) • สร้างคอม (2 หมู่) - บ.โพนฆ้อง ต.สร้างคอม บ.ยวด ต.บ้านยวด • น้ำโสม (1 หมู่) - บ.ดงพัฒนา ต.นางัว • นายูง (1 หมู่) - บ.ทุ่งสีทอง ต.บ้านก้อง • กู่แก้ว ( 1 หมู่) - บ.ค้อใหญ่ ต.ค้อใหญ่ * โดยทีม ศตม.ที่ 6.2 อุดรธานี ระหว่างวันที่ 5-18 มิ.ย.55

  28. ผลการสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ในหมู่บ้าน/ชุมชน แยกรายอำเภอ จ.อุดรธานี เดือนกรกฎาคม 2555โดย ทีม คปสอ. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย(HI) : ค่า HI > 10 – 20 (3 อำเภอ) : ค่า HI ≤ 10 (16 อำเภอและ 1เทศบาลนครฯ)

  29. ผลการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำ จ.อุดรธานี เดือนกรกฎาคม 2555โดย ทีม คปสอ. ข้อมูล ณ วันที่ 30 กรกฎาคม 2555

  30. สถานการณ์โรคไข้เลือดออกสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ข้อมูล วันที่ ๑ มกราคม – ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ที่มา:สำนักระบาดวิทยา รายงานประจำสัปดาห์ที่ ๓๐

  31. จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายเดือน จ.อุดรธานี ปี2555เปรียบเทียบมัธยฐาน 5 ปี(2550-2554) ,Base line,Target line จำนวนผู้ป่วย

  32. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก รายอำเภอ จ.อุดรธานี ข้อมูล วันที่ ๑มกราคม ๒๕๕๕ – ๒๕ กรกฎาคม๒๕๕๕ อัตราป่วย ต่อ ประชากรแสนคน 146 ราย 7 ราย 6 ราย 7 ราย 13 ราย 10 ราย 3 ราย 1 ราย 1 ราย 4 ราย 1 ราย 1 ราย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด ๒๐๐ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๑๓.๐๒ ต่อ ประชากรแสนคน ที่มา:รายงาน ๕๐๖ งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี

  33. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก รายอำเภอ จ.อุดรธานี ข้อมูล วันที่ ๑กรกฎาคม ๒๕๕๕ – ๒๕ กรกฎาคม๒๕๕๕ อัตราป่วย ต่อ ประชากรแสนคน 5 ราย 56 ราย 3 ราย 4 ราย 4 ราย 1 ราย 1 ราย 1 ราย จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด ๗๕ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๔.๘๘ ต่อ ประชากรแสนคน ที่มา:รายงาน ๕๐๖ งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี

  34. จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด เอ (H1N1) จำแนกรายอำเภอ จังหวัดอุดรธานี ข้อมูลวันที่ ๑ ม.ค. - ๒๕ ก.ค. ๕๕ หนองคาย N นายูง หมู่ 13 ต.บ้านเหล่า อ.เพ็ญ อ.ท่าบ่อ สร้างคอม บ้านดุง น้ำโสม เลย เพ็ญ 1 บ้านผือ ทุ่งฝน พิบูลย์รักษ์ กุดจับ เมือง หนองหาน สกลนคร หนองวัวซอ หนองบัวลำภู กู่แก้ว ไม่มีรายงานผู้ป่วย ไชยวาน ก.ประจักษ์ กุมภวาปี หนองแสง พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ชนิด เอ (H1N1) วังสามหมอ ศรีธาตุ โนนสะอาด จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 1 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิต 0 ราย กาฬสินธุ์ ขอนแก่น

  35. จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ จังหวัดอุดรธานี จำแนกตามวันเริ่มป่วย ข้อมูลวันที่ ๑ ม.ค. ๕๓ – ๒๕ ก.ค. ๕๕ = เสียชีวิต ปี 53 ปี 54 ปี 55 จำนวนผู้ป่วย 1 ราย อัตราป่วย 0.07 /ประชากรแสนคน , จำนวนผู้เสียชีวิต 0 ราย ที่มา: งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี

  36. แสดงค่าเฉลี่ย ๗ วัน ของสัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่รับการรักษาในจังหวัดอุดรธานี(สัปดาห์ที่ ๑ - ๓๐) ๓.๒๓%

  37. จำนวนวันของการส่งรายงาน ILI จำแนกรายสถานบริการ ระหว่าง วันที่ ๒๒ก.ค.-๒๘ก.ค.๕๕ ที่มา : สำนักระบาดวิทยา สัปดาห์ที่ ๓๐ วันที่ ๒๒ ก.ค.- ๒๘ ก.ค.๕๕

  38. สัดส่วนผู้ป่วย ILI จังหวัดอุดรธานี จำแนกรายสถานบริการ ตั้งแต่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๕ – ๒๘กรกฎาคม ๒๕๕๕ ร้อยละ ไม่ส่งข้อมูล 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 ที่มา: สำนักระบาดวิทยา สัปดาห์ที่ ๓๐

  39. การรายงานเหตุการณ์ ของ SRRTเครือข่ายระดับตำบล จ.อุดรธานี จำแนกรายเดือน ปี 2555 686 events ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ค.55

  40. สรุปการรายงานจำนวนเหตุการณ์ SRRTเครือข่ายระดับตำบล จังหวัดอุดรธานี ข้อมูล ณ วันที่ 30 กรกฎาคม 2555

  41. สรุปการรายงานจำนวนเหตุการณ์ ของ SRRTเครือข่ายระดับตำบล จ.อุดรธานี ปี 2555 แยกรายกลุ่มอาการ • อาการผิดปกติของทางเดินอาหาร จำนวน 238 เหตุการณ์ • อาการคล้ายไข้หวัด จำนวน 41 เหตุการณ์ • ไข้เลือดออก จำนวน 109 เหตุการณ์ • ไข้ออกผื่น จำนวน 77 เหตุการณ์ • ไข้และการรับรู้ตัวเปลี่ยนแปลง จำนวน 2 เหตุการณ์ • โรคนำโดยสัตว์ จำนวน 25 เหตุการณ์ • อาการป่วยคล้ายกันหลายรายหรือ เสียชีวิตฉับพลันโดยไม่ทราบสาเหตุ จำนวน 4 เหตุการณ์ • เหตุการณ์ผิดปกติที่มีผลต่อสุขภาพ จำนวน 141เหตุการณ์

  42. ความครอบคลุมของ รายงาน 506 จำแนกรายอำเภอ จังหวัดอุดรธานี ตั้งแต่ วันที่ 1 – 25 กรกฎาคม 2555 ร้อยละความครอบคลุม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 แหล่งข้อมูล : รายงาน 506 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สสจ.อุดรธานี

  43. ความทันเวลาของสถานบริการ ในการส่งรายงาน 506 จำแนกรายอำเภอ จังหวัดอุดรธานี ตั้งแต่ วันที่ 1 -25 กรกฎาคม 2555 ร้อยละความทันเวลา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 แหล่งข้อมูล : รายงาน 506 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สสจ.อุดรธานี

  44. สวัสดี

More Related