1 / 31

โอกาสและความท้าทายของการเฝ้าระวังและควบคุมโรคแนวชายแดนและกลุ่มแรงงานข้ามชาติ

โอกาสและความท้าทายของการเฝ้าระวังและควบคุมโรคแนวชายแดนและกลุ่มแรงงานข้ามชาติ. ภายใต้บริบทขององค์กรระหว่างประเทศ อารีย์ ม่วงสุขเจริญ สำนักงานองค์การอนามัยโลกประจำประเทศไทย. กรอบการนำเสนอ. บริบทชายแดนและแรงงานต่างด้าวที่มีความท้าทายต่อการเฝ้าระวังและควบคุมโรค ชายแดนและแรงงานต่าง ด้าว

Télécharger la présentation

โอกาสและความท้าทายของการเฝ้าระวังและควบคุมโรคแนวชายแดนและกลุ่มแรงงานข้ามชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โอกาสและความท้าทายของการเฝ้าระวังและควบคุมโรคแนวชายแดนและกลุ่มแรงงานข้ามชาติโอกาสและความท้าทายของการเฝ้าระวังและควบคุมโรคแนวชายแดนและกลุ่มแรงงานข้ามชาติ ภายใต้บริบทขององค์กรระหว่างประเทศ อารีย์ ม่วงสุขเจริญ สำนักงานองค์การอนามัยโลกประจำประเทศไทย

  2. กรอบการนำเสนอ • บริบทชายแดนและแรงงานต่างด้าวที่มีความท้าทายต่อการเฝ้าระวังและควบคุมโรคชายแดนและแรงงานต่างด้าว • โอกาสในการการสร้างความเข้มแข็งในการเฝ้าระวังและควบคุมโรคชายแดนและแรงงานต่างด้าว ในบริบทขององค์กรระหว่างประเทศ • Global approaches • Local approaches • ข้อเสนอเพื่อพิจารณา

  3. บริบทและความท้าทาย • ประชากรเป้าหมายมากถึง 23 ล้านคนหรือ มากกว่าหนึ่งในสามของประเทศและมีอาณาเขตรอยต่อชายแดนที่ยาวและช่องทางเข้า-ออกที่ยากแก่การจัดการอย่างเป็นระบบ • มีความหลากหลายทั้งในมิติ ชาติพันธุ์ ขนบธรรมเนียม ความเชื่อ ภาษา และการดำรงชีวิต พื้นที่บางส่วนเป็นป่าเขา เข้าถีงยาก หรือเป็นที่ที่เสี่ยงภัยจากความไม่สงบ

  4. ช่องทางท่าข้ามบ้านท่าสองยางช่องทางท่าข้ามบ้านท่าสองยาง ช่องทางท่าข้ามบ้านแม่สลิดหลวง ช่องทางท่าข้ามบ้านหนองบัว ช่องทางท่าข้ามสบห้วยแม่อุสุ DKBA รปภ. DKBA รปภ. DKBA รปภ. DKBA รปภ. DKBA รปภ. DKBA รปภ. DKBA รปภ. DKBA รปภ. ช่องทางท่าข้ามบ้านแม่ต้าน ช่องทางท่าข้ามห้วยแม่ต้าน ช่องทางท่าข้ามสบห้วยลึก 24 22 ช่องทางท่าข้ามห้วยปางยาง ช่องทางท่าข้ามบ้านแม่หละ KNU1 KNU1 KNU1 KNU1 KNU1 KNU1 KPF KNU1 ช่องทางท่าข้ามบ้านแม่ออกผารู ช่องทางท่าข้ามบ้านห้วยปลากอง ช่องทางท่าข้ามผู้ใหญ่ปุ่ม ช่องทางท่าข้ามห้วยแม่ระมาด ช่องทางท่าข้ามบ้านวังผา ช่องทางท่าข้ามบ้านวังแก้ว ช่องทางท่าข้ามบ้านวังตะเคียน ช่องทางท่าข้ามบ้านท่าอาจ ช่องทางท่าข้ามบ้านริมเมย ช่องทางท่าข้ามบ้านห้วยม่วง ช่องทางท่าข้ามบ้านไร่ดอนชัย ช่องทางท่าข้ามบ้านน้ำดั้น ช่องทางท่าข้ามบ้านแม่กุ ช่องทางท่าข้ามบ้านตะเปอพู ช่องทางท่าข้ามบ้านแม่โกนเกน ช่องทางท่าข้ามบ้านวะครึโคะ ช่องทางท่าข้ามบ้านช่องแคบ ช่องทางท่าข้ามบ้านหมื่นฤาชัย ช่องทางท่าข้ามบ้านมอเกอร์ไทย ช่องทางท่าข้ามบ้านวาเลย์ใต้ ช่องทางท่าข้ามบ้านวาเลย์ ช่องทางท่าข้ามบ้านมะโอ๊ะโค๊ะ ช่องทางท่าข้ามบ้านเปิ่งเคลิ่ง ช่องทางท่าข้ามบ้านเลตองคุ 28 32 284 97 339 คร. Points of entry along Thai-Myanmar border อ.ท่าสองยาง 338 คร. TAK อ.แม่ระมาด MAE SOT อ.พบพระ อ.อุ้มผาง 30 points of entry

  5. บริบทและความท้าทาย • ในทศวรรษที่ผ่านมาประเทศไทยได้พัฒนามาเป็นศูนย์กลางการย้ายถิ่นของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และขาดแคลนแรงงานทักษะฝีมือน้อยจึงต้องอาศัยแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านในการช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ Source: Mekong Migration Network

  6. บริบทและความท้าทาย • ปัจจุบันประเทศไทยเป็นที่พำนักของผู้ย้ายถิ่นมากว่า 3.5ล้านคน จากประเทศพม่าถือเป็นกลุ่มที่ใหญ่ที่สุดประมาณ 2.3ล้านคน ซึ่งเป็นไปได้ว่าช่องว่างการขาดแคลนแรงงานจะขยายไปเป็น 5.36ล้านคนในปี พ.ศ. 2568(IOM, 2013) Distribution of Migrant workers in BKK 2011 Source: PATH

  7. บริบทและความท้าทาย • นโยบายด้านการบริหารจัดการแรงงาน ความความมั่นและด้านสาธารณสุขยังไม่ประสานไปในทางเดียวกัน ซึ่งไม่เอื้อต่อการจัดการทางด้านสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการจัดหาและจัดการงบประมาณ กำลังคนทางด้านสาธารณสุขและความครอบคลุมของบริการและการเข้าถึงบริการของแรงงานต่างด้าว

  8. บริบทและความท้าทาย • ความไม่เท่าเทียมในระบบบริการสุขภาพ รวมทั้งสมรรถนะในการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคของประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน • สถานะทางสุขภาพของแรงงานและผู้ย้ายถิ่นข้ามแดนก่อนการเดินทางหรือย้ายถิ่นมาพำนักหรือทำงานในประเทศไทย Diphtheria Reported Case in SEA Countries Source: WHO Updated 13 July 2013

  9. Globalization โลกาภิวัฒน์ • Globalizations creates challenges for infectious disease policy but force states to cooperate • International cooperation has become critical in controlling of infectious disease • โลกาภิวัฒน์ก่อให้เกิดข้อท้าทายต่อนโยบายในการต่อสู้กับโรคติดเชื้อแต่อีกทางหนึ่งก็เป็นการบังคับให้นานาประเทศต้องร่วมมือกัน • ความร่วมมือระหว่างประเทศมีความสำคัญเพิ่มขึ้นในการควบคุมโรคติดเชื้อ

  10. 21st Century • Trade regime • Volume • Speed • Human rights regime • Access regime • ความร่วมมือระหว่างประเทศในการควบคุมโรคยิ่งมีความสำคัญเพิ่มขึ้น • กฏหมายระหว่างประเทศในการควบคุมโรคยังคงเป็นสิ่งสำคัญแต่มีความท้าทาย มากยิ่งขึ้น • หน่วยงานที่ไม่ใช่องค์กรของรัฐมีบทบาทและความสำคัญเพิ่มขึ้น

  11. Global threats : International Health Security 1980 - 2007 VHV /Ebola / Marburg HIV/AIDS XDR-TB Chernobyl Pest SARS BSE/ NvCJD Nipah Anthrax Animal Flu Chemical pollution meningitis cholera

  12. Opportunity

  13. In today’s world, diseases travel fast and no single country can protect itself on its own. Acknowledging this, the 193 WHO Member States unanimously adopted a new version of the International Health Regulations (IHR). WHO is the directing and coordinating authority for health within the United Nations

  14. เจตนนารมณ์และขอบเขตกฏอนามัยระหว่างประเทศเจตนนารมณ์และขอบเขตกฏอนามัยระหว่างประเทศ • ป้องกัน คุ้มครอง ควบคุมและตอบโต้ทางด้านสาธารณสุขต่อการแพร่กระจายของโรคติดต่อและภัยสุขภาพระหว่างประเทศด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับภาวะเสี่ยง หลีกเลี่ยงการรบกวนที่ไม่จำเป็นต่อการการจราจรและการค้าระหว่างประเทศ

  15. International Health Regulationsกฏอนามัยระหว่างประเทศ • States notify other countries about outbreaks of special diseases in their territories and maintain adequate public health capabilities at points of disease exit and entry • Disease-prevention measures restricting international trade and travel be based on scientific evidence and public health principles ----Twin goals---

  16. Decision Instrument • A single case: polio (wildtype virus), smallpox, human influenza new subtype), SARS • Diseases to use the algorithm: Cholera, Plague-ไข้เหลือง, Yellow Fever, Viral haemorragicfevers (Ebola, Lassa, Marburg), West Nile Fever, Méningococcaldisease. • Anyevent of potential of PHEIC ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ

  17. National Capacity • The best way to prevent international spread of diseases is to detect public health threats early and implement effective measures when the problem is at local level National Capacity is very important!!!!

  18. IHR contributed to States’ Actions • Build/improve capacity of member states on national surveillance systems to meet minimum requirements; • Ability to identify “public health emergency of international concerns” (PHEIC) • Advocate that industrialized countries to fund surveillance improvements in unindustrialized countries

  19. Global Alert and Response Network International public health security is based on strong national public health infrastructure connected to a global alert and response system. GOARN is a technical global partnership (+120 countries), coordinate by WHO

  20. Non-state actors • Roles of non-state organizations on global health governance become increasingly important (e.g. Global Fund, GAVI, BMGF, MSF) • บทบาทขององค์กรที่ไม่ใช่องค์กรของรัฐได้เพิ่มความสำคัญอย่างเป็นลำดับในการบริหารจัดการสุขภาพโลก องค์กรเหล่านี้ได้มีส่วนสร้างความเข้มแข็งของงานสาธารณสุขในหลายมิติ ครอบคลุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญหลายโรค ซึ่งรวมถึงการเข้าถึง วัคซีน ยา และบริการทางด้านสาธารณสุข

  21. Growing Regional Networks • Mekong Basin Diseases Surveillance • ASEAN + 3 • Bilateral collaboration (framework) (National and local levels)

  22. Local approaches

  23. Collaboration with Non-government organizations (NGOs) การสร้างเครือข่าย 23

  24. การรวบรวมและใช้ข้อมูลในการวางแผนการรวบรวมและใช้ข้อมูลในการวางแผน www.maesot-hospital.com/datacenter_who/

  25. รูปแบบการทำงานของภาคีเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค อ.แม่สอด จ.ตาก ผู้สูงอายุ (ปู่ย่าตายาย ) บทบาทหน้าที่ของชมรมผู้สูงอายุ ระบบสุขภาพภาคประชาชน ( ประชาชนเป็นศูนย์กลาง) - ระดับอำเภอ / ตำบล - ระดับชุมชน / หมู่บ้าน - ละแวก – ครอบครัว - ระดับบุคคล การมีส่วนร่วม บูรณา การ บทบาทหน้าที่เยาวชน บทบาทหน้าที่อสม. กระบวนการ อสม.และอสต. เยาวชน ( พ่อ แม่ ) ( ลูก หลาน )

  26. Conducted SRRT in migrant community

  27. Support equipment for SRRT

  28. Cross Border SRRT Training

  29. Joint meeting

  30. ข้อเสนอเพื่อพิจารณา Regional/ภายนอก Thailand/ภายใน Coherent policies (labor, security and health) Scaling up local model e.g. Bilateral Health Collaborations, Tak-Mae Sot model • Regional Health Systems Strengthening including disease control • Universal Health Care Coverage

  31. Reaching ultimate goals • Live saved • Trust maintained/built • No travel and trade restrictions • No political and social turmoil Photo credit to Mae Sot hospital Thank you very much

More Related