1 / 49

การส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอนาล็อก

การส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอนาล็อก. อาจารย์ นัณฑ์ศิ ตา ชูรัตน์. การส่งสัญญาณผ่านสายส่ง. สัญญาณเสียงของมนุษย์อยู่ในช่วง 300-3,300 Hz การส่งสัญญาณในระบบสายโทรศัพท์จะใช้การแบ่งช่วงของสัญญาณเป็นช่อง ๆ เรียกว่า bandwidth โดยสามารถที่จะส่งสัญญาณไปตามสายได้หลายสัญญาณ

addo
Télécharger la présentation

การส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอนาล็อก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอนาล็อกการส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอนาล็อก อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์

  2. การส่งสัญญาณผ่านสายส่งการส่งสัญญาณผ่านสายส่ง • สัญญาณเสียงของมนุษย์อยู่ในช่วง 300-3,300 Hz • การส่งสัญญาณในระบบสายโทรศัพท์จะใช้การแบ่งช่วงของสัญญาณเป็นช่อง ๆ เรียกว่า bandwidth โดยสามารถที่จะส่งสัญญาณไปตามสายได้หลายสัญญาณ • การส่งสัญญาณประเภทสี่เหลี่ยม ( square wave) เมื่อสัญญาณเดินทางไปในสายสัญญาณสัญญาณจะมีการเปลี่ยนสภาพของสัญญาณไปตาม bandwidth ที่สายส่งสัญญาณจะรองรับ

  3. การส่งสัญญาณผ่านสายส่งการส่งสัญญาณผ่านสายส่ง • สัญญาณ square wave จะมีการแทนด้วยสมการได้ดังนี้ (ดูด้านล่างของหน้า 114 สมการที่ 4.1) • จากสมการที่ 4.1 เราจะเรียกค่า n ว่า harmonic ที่ n

  4. สำหรับคำว่า periodic function จะหมายถึงสัญญาณที่มีการเกิดเป็นจังหวะซ้ำ ๆ เป็นคาบเวลา • ในรูปที่ 4.3 จะแสดงให้เห็นถึงคลื่นสี่เหลี่ยมที่เกิดจากสมการที่ 4.1 ในกรณีที่ความถี่ค่าต่าง ๆ • ในรูปที่ 4.5 จะแสดงถึงการเพี้ยนของสัญญาณตามระยะทางและอัตราการส่ง

  5. ในตารางที่ 4.1 จะแสดงให้เห็นถึงอัตราการส่งที่สูงจะมีผลต่อ Harmonic ที่ส่งได้ลดน้อยลง

  6. ความสามารถสูงสุดในการส่งข้อมูลของช่องสัญญาณความสามารถสูงสุดในการส่งข้อมูลของช่องสัญญาณ • ในการส่งสัญญาณนั้นจะมีมาตรฐานในการกำหนดอัตรากำลังในการส่งตามกฏของ Channon • C = W log2 (1 + S/N ) • C คือ ความสามารถสูงสุดของการส่งข้อมูล (bps) สำหรับการส่งข้อมูลดิจิตอลใด ๆ • W คือ ขนาดของ Bandwidth • S/N คือ อัตราส่วนของกำลังในการส่งสัญญาณกับสัญญาณรบกวน (Signal to Noise ratio)

  7. การ Modulation and Modem • การ modulation ก็คือการที่ทำให้สัญญาณเสียงซึ่งมีความถี่ประมาณ300- 3000 Hz สามารถที่จะเกาะไปกับสัญญาณพาห์ และเมื่อเดินทางไปถึงปลายทางก็จะมีการ demodulation ซึ่งก็คือแยกสัญญาณเสียงออกจากสัญญาณพาห์ • Modem ย่อมาจาก MOdulation DEModuration • ตัวอย่างการใช้ Modem (รูปที่ 4.6)

  8. ชนิดของการ modulation • Amplitude Modulation • Frequency Modulation • Phase Modulation

  9. Amplitude Modulation

  10. Frequency Modulation

  11. Phase Shift Keying • ใช้หลักที่ว่าทุกครั้งที่มีการเปลี่ยน bit จะมีการขยับเฟสไป 180 องศา

  12. Phase Shift Keying

  13. Phase Shift Keying

  14. Phase Shift Keying

  15. เทคนิคแบบ Quadrature Amplitude Modulation (QAM) • เป็นทั้งแบบใช้ phase และ amplitude มาทำงานร่วมกัน • รูปที่ 4.14 แสดงเทคนิคแบบ QAM • รูปที่ 4.15 แสดงการเข้ารหัสแบบ V.29 • ตารางที่ 4.3 แสดงการเข้ารหัสโดย QAM ของโมเด็ม V.29

  16. เทคนิคแบบ Quadrature Amplitude Modulation (QAM) • ในรูปที่ 4.16 จะเป็นการใช้วิธีการ QAM ที่มี amplitude 3 ระดับ และใช้ phase 12 phase

  17. โมเด็มอื่น ๆ • โมเด็มบางรุ่นจะใช้วิธีการแนบ bit สำหรับใช้เป็นตัวตรวจสอบ ซึ่งเทคนิคนี้เรียกว่า Trellis Coded Modulation (TCM) • โมเด็มที่ใช้ V.42bit เป็นโมเด็มที่ใช้หลักการ compression ตามมาตรฐาน MNP5

  18. อินเตอร์เฟส(Interface) • ในการเชื่อมต่อโมเด็มเข้ากับคอมพิวเตอร์จะมีการกำหนดมาตรฐานไว้ เพื่อให้อุปกรณ์ต่าง ๆ เป็นมาตรฐานเดียวกัน สำหรับที่นิยมใช้กันมากที่สุดได้แก่ CCITT V.24 ซึ่งจะคล้ายกับ EIA RS232 • เมื่อมีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับอุปกรณ์ใด ๆ เราจะเรียกเทอร์มินอลหรือ พอร์ต ของคอมพิวเตอร์ว่า DTE (Data Terminal Equipment) และเรียกอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อว่า DCE (Data Circuit-Terminating Equipment)

  19. มาตรฐาน CCITT V.24 • ในรายละเอียดจะกล่าวถึงชนิดของสัญญาณ(เชิงตรรกะ)ต่าง ๆ ที่ DTE สื่อสารกับ DCE แต่ไม่กล่าวถึงคุณสมบัติทางไฟฟ้าของสัญญาณเหล่านั้น มาตรฐาน CCITT V.28 • มีการเพิ่มคุณสมบัติทางไฟฟ้า ซึ่งจะมีความเร็วไม่เกิน 20,000 bps

  20. มาตรฐาน EIA RS 232C/D • จะมีรายละเอียดในการกำหนดมาตรฐานของสัญญาณเชิงตรรกะและเชิงสัญญาณไฟฟ้ารวมทั้งสายส่งสัญญาณ ที่ความเร็วไม่เกิน 20,000 bps และระยะทางไม่เกิน 15 เมตร • ในรายละเอียดจะใช้ปลั๊ก DB25 หรือ DB9 ในการส่งสัญญาณ • ดูรูปที่ 4.18 และ 4.19 • ดูรูปที่ 4.20 ซึ่งจะเห็นว่าในการส่งข้อมูลโดยปกติแบบอนุกรมจะไม่มีการใช้สัญญาณของ DB25 ทั้งหมดแต่จะมีการใช้เพียงบางส่วน ดังนั้นจึงมีการใช้ DB9 ในการสื่อสารแบบอนุกรม ดังนั้นโมเด็มจึงมีสายต่อทั้ง DB9 และ DB25

  21. มาตรฐาน EIA RS 232C/D • สำหรับรายละเอียดของวงจร(DB25)จะแสดงดังรูปที่ 4.21

  22. ส่วนของ DB9 จะแสดงดังรูปที่ 4.22

  23. การอินเตอร์เฟสเชิงตรรกะระหว่าง DTE และ DCE • การอินเตอร์เฟสเชิงตรรกะสำหรับการทำงานของฮาร์ฟดูเพล็กโมเด็ม • การอินเตอร์เฟสเชิงตรรกะสำหรับการทำงานของฟูลดูเพล็กโมเด็ม

  24. การอินเตอร์เฟสเชิงตรรกะสำหรับการทำงานของฮาร์ฟดูเพล็กโมเด็มการอินเตอร์เฟสเชิงตรรกะสำหรับการทำงานของฮาร์ฟดูเพล็กโมเด็ม • การทำงานของ DTE กับ DCE ในรูปแบบฮาร์ฟดูเพล็กจะแสดงได้ดังรูปที่ 4.23 • ส่วนรูปที่ 4.24 จะแสดงให้เห็นว่าในการส่งข้อมูลนั้นจะมี Delay เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยดังนั้น หลังจาก DCE ผ่านส่ง ได้ส่ง DCD ไปยังปลายทางแล้วจะต้องมีการหน่วงเวลาในสักครู่แล้วจึงจะเริ่มทำการส่งข้อมูล • ส่วนรูปที่ 4.25 (เยอะจังคำย่อก็มาก ไม่สอนนะ แนะนำว่าหากใครอยากรู้รายละเอียดให้ไปดูหนังสือ data and computer communication ของ William Stallings หน้า 157)

  25. การอินเตอร์เฟสเชิงตรรกะสำหรับการทำงานของฮาร์ฟดูเพล็กโมเด็มการอินเตอร์เฟสเชิงตรรกะสำหรับการทำงานของฮาร์ฟดูเพล็กโมเด็ม • สรุปแล้วในการทำงานแต่ละรอบของการสื่อสารโดยใช้โมเด็มแบบฮาร์ฟดูเพล็กจะต้องใช้เวลาดังนี้ • Modem turnaround time คือเวลาตั้งแต่ DTE ส่งสัญญาณ RTS จนกว่าจะได้สัญญาณ CTS (RFS) กลับจาก DCE • Data (block) transmission time เวลาที่ใช้ในการส่งข้อมูล • Modem Delay แบ่งออกได้อีก 2 ส่วนคือ delay ของ Modem ฝ่ายส่งและฝ่ายรับ • Propagation Delay เป็นเวลาที่ใช้ในการที่สัญญาณเดินทางผ่านสายส่งจากปลายทางด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง • Reaction time คือเวลาที่เทอร์มินอลรู้ว่ารับข้อมูลหมดแล้วและจะมีการตอบกลับไป (acknowledgment) กลับไป

  26. การอินเตอร์เฟสเชิงตรรกะสำหรับการทำงานของฟูลดูเพล็กโมเด็มการอินเตอร์เฟสเชิงตรรกะสำหรับการทำงานของฟูลดูเพล็กโมเด็ม • สำหรับโมเด็มที่ทำงานแบบฟูลดูเพล็กจะไม่ต้องเสียเวลาในการเริ่มการติดต่อ ดังนั้นทั้งผู้รับและผู้ส่งจะสามารถที่จะส่งข้อมูลไปกับสัญญาณคลื่นนำได้ตลอดเวลาทำให้มีประสิทธิภาพสูงกว่าแบบฮาร์ฟ • สำหรับการส่งคลื่นนำเพื่อสื่อสารมี 2 แบบ • Permanent Carrier Operation(สัญญาณคลื่นนำถาวร) • Controlled Carrier Operation(การควบคุมคลื่นนำ) • รูปที่ 4.28 แสดงการอินเตอร์เฟสระหว่าง DTE กับ DCE

  27. ปริมาณข้อมูลที่ส่ง หรืออัตราการส่งของบิตข้อมูล • เนื่องจากว่าการส่งข้อมูลจะมีการสูญเสียการส่งไปเนื่องจากต้องมีการแนบส่วนหัวเพื่อส่งไปกับข้อมูล ดังนั้น • ปริมาณข้อมูลที่ส่งได้จริง = จำนวนข้อมูลจริง / เวลาที่ใช้ส่งทั้งหมด • ตัวอย่างในหน้าที่ 149 จะแสดงให้เห็นถึงการคำนวณหา ประสิทธิภาพของการส่งข้อมูล • หา Delay จากสูตร D = 2(DCTS + 2DM + DP) + DT + DR DCTSคือ modem turnaround time DMคือ modem delay DP คือ propagation delay DTและ DRคือ reaction time ของผู้ส่ง และ ผู้รับ

  28. หาค่า DC = 8(n+12) / R หมายเหตุ 12 มาจากขนาดของ header ทั้งหมด 12 ตัว ขึ้นอยู่กับการส่งว่าเป็นอย่างไร SYN 3 ,STX,ETB,BCC 2,SYN 3,ACK และ 0 หรือ 1 อีก 1 ตัว • หาค่า TE จาก (8 x n x 1000)/(DC + D) • หาประสิทธิภาพจาก อัตราการส่งข้อมูลจริง / อัตราการส่งข้อมูลของโมเด็ม

  29. Dummy Modem • เนื่องจากการเชื่อมต่อของ RS232 จะเป็นการเชื่อมต่อจาก DTE ไปหา DCE เท่านั้นดังนั้น หากจะทำการส่ง DTE ไปหา DTE จำเป็นจะต้องใช้ตัวกลางเพื่อทำหน้าที่เสมือน DCE เพื่อให้ทำการสื่อสารกันได้ สำหรับตัวกลางนี้เราเรียกว่า Dummy Modem • การสร้าง dummy modem สร้างได้โดยการนำสายสัญญาณมาทำการไข้วสายดังรูปที่ 4.29 หรือมีวิธีอื่น ๆ ดังรูปที่ 4.30

More Related