300 likes | 463 Vues
การวัดประสิทธิภาพการผลิตถั่วเหลือง. ส่วนวิจัยเศรษฐกิจเทคโนโลยีและปัจจัยทางการเกษตร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร 24 สิงหาคม 2554. โจทย์การวิจัย. ทำไมพื้นที่การผลิตถั่วเหลืองของภาคเหนือตอนล่างลดลง อย่างต่อเนื่อง ผลผลิตถั่วเหลืองขึ้นกับปัจจัยอะไรบ้าง
E N D
การวัดประสิทธิภาพการผลิตถั่วเหลืองการวัดประสิทธิภาพการผลิตถั่วเหลือง ส่วนวิจัยเศรษฐกิจเทคโนโลยีและปัจจัยทางการเกษตร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร 24 สิงหาคม 2554
โจทย์การวิจัย • ทำไมพื้นที่การผลิตถั่วเหลืองของภาคเหนือตอนล่างลดลง อย่างต่อเนื่อง • ผลผลิตถั่วเหลืองขึ้นกับปัจจัยอะไรบ้าง • เกษตรกรแต่ละรายมีประสิทธิภาพการผลิตเท่าไร
วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพทางเทคนิค 2. เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิต ถั่วเหลืองฤดูแล้ง
ขอบเขตการศึกษา พื้นที่ศึกษา การศึกษาครั้งนี้ ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลเกษตรกรที่ผลิต ถั่วเหลืองฤดูแล้ง ปีเพาะปลูก 2553/54 พื้นที่ในจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ สุโขทัย ตาก กำแพงเพชร พิษณุโลก เพชรบูรณ์
แนวคิดในการวิเคราะห์ ปัจจัยการผลิตทางตรง (Xi) - ขึ้นอยู่กับการส่งเสริม - การได้รับข้อมูลข่าวสาร - ความรู้ - ประสบการณ์ ควบคุม ตัดสินใจเลือก บริหาร เกษตรกร (ผู้จัดการ) ไม่ได้ ตัดสินใจใช้ จัดการ ปัจจัยการผลิตทางกายภาพ (Ui) - ขนาดพื้นที่ - ลักษณะพื้นที่ปลูก - ระบบฟาร์ม ผลผลิต ปัจจัยการผลิตทางธรรมชาติ (Vi) - ฝนตก แล้ง - ภูมิอากาศ
วิธีการศึกษา วิเคราะห์ประสิทธิภาพทางเทคนิคการผลิต (TE) TE = exp (-ui) โดย ui คือ ความไม่มีประสิทธิภาพทางเทคนิค ซึ่ง uiประมาณจาก Y = f ( X, ) + โดย
วิธีการศึกษา (ต่อ) วิเคราะห์ TE อาศัยการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณผลผลิตกับปัจจัยที่มีอิทธิพล ด้วยฟังก์ชั่นการผลิตแบบ Cobb Duglasวิธี maximum likelihood โดยใช้โปรแกรม Stochastic frontier 4.1 ซึ่งมีรูปแบบฟังก์ชั่นการผลิตดังนี้
วิธีการศึกษา (ต่อ) ตัวแปรต่างๆที่ใช้ มีดังนี้ Yi = ปริมาณผลผลิตถั่วเหลือง (กก.ต่อไร่) lai = จำนวนแรงงาน (ชั่วโมง/ไร่) Seedi= ปริมาณเมล็ดพันธุ์ (กก.ต่อไร่) fueli= ปริมาณน้ำมัน (ลิตรต่อไร่) Dhor= การใช้ฮอร์โมน (Dhor = 0 ไม่ใส่ฮอร์โมน , Dhor = 1 ใส่ฮอร์โมน
วิธีการศึกษา (ต่อ) ตัวแปรต่างๆที่ใช้ มีดังนี้ Dherbi = การใช้สารกำจัดวัชพืช (Dherbi = 0 ไม่ใช้ สารกำจัดวัชพืช , Dherbi = 1 ใช้สารกำจัดวัชพืช Dprot = การใช้สารกำจัดแมลง (Dprot = 0 ไม่ใช้สารกำจัด แมลง, Dprot = 1 ใช้สารกำจัดแมลง Dfer = การใช้ปุ๋ยเคมี (Dfer = 0 ไม่ใช้,Dfer = 1 ใช้) Dspe = พันธุ์ (Dspe = 0 พันธุ์ไม่ส่งเสริม , Dspe = 1 พันธุ์ ส่งเสริม)
วิธีการศึกษา (ต่อ) = พารามิเตอร์ที่ต้องประมาณค่า มีค่ามากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ 0 มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 0 เป็นอิสระต่อกัน
วิธีการศึกษา (ต่อ) ตัวแปรที่ส่งผลต่อความไม่มีประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิตถั่วเหลืองได้ดังสมการดังนี้ โดยที่ ui = ระดับความไม่มีประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิตถั่วเหลือง workesi = สัดส่วนชั่วโมงงานครัวเรือนต่อชั่วโมงงานทั้งหมด yeari = ประสบการณ์การทำถั่วเหลือง (ปี) areai = จำนวนพื้นที่ปลูกถั่วเหลือง (ไร่) = พารามิเตอร์ที่ต้องการประมาณค่า
ผลการศึกษาวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 1. ค่าทางสถิติจากการวิเคราะห์ฟังก์ชั่นการผลิต ตัวแปร Cofficient t-ratio 4.2103 12.5715*** 0.1602 3.2303*** 0.3460 4.1415*** 0.0126 1.2420* 0.0940 1.8467** -0.0602 -0.8863 -0.0956 -1.4826*
ผลการศึกษา (ต่อ) 1. ค่าทางสถิติจากการวิเคราะห์ฟังก์ชั่นการผลิต ตัวแปร Cofficient t-ratio -0.1134 -2.2408*** -0.0850 1.6657** 0.2576 0.8726 0.0916 0.6958 -0.0820 -1.2804* 0.1149 1.2662* Sigma Squared 0.1954 3.2219*** gamma 0.8316 10.2553***
ผลการศึกษา (ต่อ) วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ผลการประมาณค่าประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพทางเทคนิคเฉลี่ย = 67.36 ประสิทธิภาพทางเทคนิคต่ำสุด = 31.32 ประสิทธิภาพทางเทคนิคสูงสุด = 94.98
2. เกษตรกรตัวอย่างในแต่ละระดับประสิทธิภาพ ผลการศึกษา (ต่อ)
ผลการศึกษา (ต่อ) 3. การใช้แรงงานของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) 4. การใช้เมล็ดพันธุ์ของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) 5. การใช้น้ำมันของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
6. การใช้ฮอร์โมนของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ ผลการศึกษา (ต่อ)
ผลการศึกษา (ต่อ) 7. การใช้สารกำจัดวัชพืชของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) 8. การใช้ยาฆ่าแมลงของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) 9. การใช้ปุ๋ยของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
10. ลักษณะของพันธุ์ในแต่ละระดับประสิทธิภาพ ผลการศึกษา (ต่อ)
11. สัดส่วนแรงงานเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ ผลการศึกษา (ต่อ)
12. ประสบการณ์ของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ ผลการศึกษา (ต่อ)
ผลการศึกษา (ต่อ) 13. พื้นที่ของเกษตรกรในแต่ละระดับประสิทธิภาพ
ต้นทุนผลตอบแทน ผลผลิต 239.86 กก./ไร่ ราคาขายกิโลกรัมละ 14.15 บาท
ข้อเสนอแนะจากศึกษา 1. ภาครัฐควรจัดอบรมเทคนิคการใช้ปัจจัยการผลิตให้แก่เกษตรกร 2. ภาครัฐควรมีข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณฝนและการ คาดการณ์เกี่ยวกับโอกาสที่ฝนจะตก 3. เกษตรกรควรลดสัดส่วนแรงงานในครัวเรือน 4. ควรส่งเสริมให้ปลูกถั่วเหลืองรายละไม่เกิน 10 ไร่ 5. ควรส่งเสริมให้มีศูนย์เมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง
ข้อเสนอจากเกษตรกร 1. สนับสนุนปัจจัยการผลิต 2. ฝึกอบรมด้านเทคนิคการเกษตรสมัยใหม่ 3. ความรู้เกี่ยวกับการใช้สารที่ถูกต้อง 4. การประกันราคา 5. จัดหาตลาดรองรับสินค้าปลอดภัย
ขอบคุณค่ะ ทีมงานนักวิจัย LOGO