1 / 68

54101

54101. วิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีว อนามัยและความปลอดภัย Basic Engineering for Occupational Health & Safety. วิศวกรรมศาสตร์ ?. เป็นศาสตร์หรือวิชาที่เกี่ยวกับการนำความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้พัฒนาคำตอบที่ประหยัดและเหมาะสมเพื่อช่วยแก้ปัญหาความต้องการมนุษย์.

adlai
Télécharger la présentation

54101

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 54101 วิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีว อนามัยและความปลอดภัย Basic Engineering for Occupational Health & Safety

  2. วิศวกรรมศาสตร์ ? เป็นศาสตร์หรือวิชาที่เกี่ยวกับการนำความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้พัฒนาคำตอบที่ประหยัดและเหมาะสมเพื่อช่วยแก้ปัญหาความต้องการมนุษย์

  3. วิศวกรรมศาสตร์สาขาหลัก ๆ • วิศวกรรมโยธา • วิศวกรรมเครื่องกล • วิศวกรรมไฟฟ้า • วิศวกรรมเคมี • วิศวกรรมอุตสาหการ 1-13

  4. วิศวกรรมศาสตร์สาขาอื่น ๆ ระบบประปา ? • วิศวกรรมชลประทาน • วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ • วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1-14

  5. ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยฯศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยฯ • สุขศาสตร์อุตสาหกรรม (แสง,เสียง,ฝุ่นฯ) • อาชีวนิรภัย (การดำเนินการเพื่อป้องกัน)** • การยศาสตร์ (สรีรวิทยาให้เหมาะสม) • อาชีวเวชศาสตร์ (แพทย์,พยาบาล,ตรวจวินิจฉัย)** 1-22-23

  6. แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมโยธาแบบพื้นฐานทางวิศวกรรมโยธา • การต่อเติมดัดแปลงอาคาร ? 2-7 * ความต้องการของเจ้าของ * กฏหมาย * ความมั่นคงแข็งแรง * ความปลอดภัย ฯลฯ 2-7

  7. ให้นักศึกษาฝึกดูแบบทั้ง 4 แบบให้เข้าใจ 2-9-10

  8. สัญลักษณ์ 3 ประเภท • สัญลักษณ์อ้างอิง (รูปตัด/ รูปขายในแบบ) • สัญลักษณ์อ้างอิงวัตถุ (ภาพล่าง) • สัญลักษณ์ของวัสดุ 2-27-28

  9. กระดาษเขียนแบบ • A0 • A1 • A2 • A3 • A4 2-35-36

  10. การอ่านแบบคอนกรีตเสริมเหล็กการอ่านแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก • RB (round bar) เหล็กเส้นกลม ตัวอย่าง RB9 ? • DB(deformed bar) เหล็กข้ออ้อย • ตัวอย่าง DB25 ? ...ให้นักศึกษาอ่านแบบในหน้า 2-47... 2-40-41

  11. ป RB 6 มม.@ 0.18 ม. SR24 เหล็กเส้นกลมที่มีความแข็งแรงที่จุดครากอย่างต่ำ2,400 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร SD30 เหล็กข้ออ้อยที่มีความแข็งแรงที่จุดครากอย่างต่ำ 3,000 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร อ่านแบบบันไดรูปพรรณ 1 ข้อ ปกติ/ซ่อม 2-59 2-47

  12. การถ่ายน้ำหนักหลังคา 1.แป 2.จันทัน(จันทันเอก,จันทันพราง) 3.อกไก่ 3.อะเส 4.ดั้ง 5.ขื่อ 3-8

  13. การถ่ายน้ำหนักหลังคา(หน้าที่)การถ่ายน้ำหนักหลังคา(หน้าที่) 1.แป (รับน้ำหนักจากหลังคา) 2.จันทัน (รับน้ำหนักจากแป) 3.อกไก่ (รับน้ำหนักจากจันทัน) 4.ดั้ง (รับน้ำหนักจากอกไก่ตามแนวจันทันเอก) 5.อะเส (รับน้ำหนักจากรับน้ำหนักจากจันทัน) 6.ขื่อ (รับน้ำหนักจากดั้งและยึดหัวเสา) 3-9

  14. ลักษณะคาน 3 ประเภท 1.คานช่วงเดี่ยว 2.คานต่อเนื่อง 3.คานยื่น 3-15

  15. ประเภทฐานรากตามรับน้ำหนักประเภทฐานรากตามรับน้ำหนัก • ฐานรากต่อเนื่องรับกำแพง (ถ่ายเทตามพนังหรือกำแพงเป็นทางยาว) • ฐานรากเดี่ยว (รับน้ำหนักเสาเป็นจุดๆ บ้านพักอาศัย) • ฐานรากร่วม (รับน้ำหนักจากเสาหลาย ๆ ต้น) • ฐานรากแพ (พื้นที่กว้าง ๆ ขนาดใหญ่/อาคารสูง) • ฐานรากตีนเป็ด (ติดกับคนอื่น) 3-28

  16. เสาเข็มเหล็ก มีวัตถุประสงค์ในการก่อสร้างชั่วคราวเท่านั้น หลังจากนั้นจะรื้อถอนออกไป เสาเข็มแบบแผ่นเหล็กที่เรียกกันทั่วไปว่าเข็มพืด ใช้ในการป้องกันดินพังทลายขณะก่อสร้าง 3-31

  17. ดินเหมาะสำหรับเป็นฐานรากได้ดี 3-31 • การเลือกไม้ทำฝ่าและคร่าว ควรเป็น ? ไม้เนื้อ...............น้ำหนัก............... ชื่อต้นไม้ 2 ชนิด......................... คือ ไม้เต็ง, รัง 3-40

  18. เหล็กหล่อ 4 ประเภท เหล็กหล่อเทา, หล่อเหนียว เหล็กขาว, เหล็กหล่ออบเหนียว 1.เหล็กหล่อที่นิยมทำชิ้นส่วนรถยนต์ ? 2.ส่วนใหญ่ไปใช้งานหนัก(รถไฟ,รถเทรกเตอร์)? 4-34

  19. ทองแดงผสมหรือโลหะผสมทองแดงทองแดงผสมหรือโลหะผสมทองแดง • ทองเหลือง กลุ่มที่มีปริมาณสังกะสีไม่เกิน 15 % สีสันคล้ายทองคำ มองดูสวยงามและมีคุณค่าจึงนิยมใช้ทำเหรียญตรา เช่น เฟอร์นิเจอร์ตกแต่ง เครื่องดนตรี ฯลฯ • บรอนด์ เป็นโลหะผสมระหว่าง ? ดีบุก + ทองแดง . โลหะที่มีคุณค่าในตัวเองนิยมทำ เหรียญกษาปณ์ โลหะทองแดงผสม กับ......................... โลหะผสมทองแดง + นิกเกิล 4-56-57

  20. การทดสอบแบบทำลาย • การทดสอบการดึง • การทดสอบความแข็ง • การทดสอบแรงกระแทก • การทดสอบความล้า • การทดสอบการคืบตัวที่อุณภูมิสูง 4-73

  21. การทดสอบแบบไม่ทำลาย • การตรวจสอบด้วยอนุภาคแม่เหล็ก • การตรวจสอบด้วยภาพถ่ายรังสี • การตรวจสอบด้วยอัลตร้าโซนิค • การตรวจสอบด้วยสายตา 4-73

  22. อนุภาคในบรรยากาศ • ฝุ่น (การแตกกระจายของวัสดุที่เป็นของแข็ง) • ฟูม (การควบแน่นของไอร้อนของวัสดุเป็นของแข็ง) • ละออง (การแตกกระจายของของเหลวโดยกลไกทางกายภาพ) • ควัน (การรวมตัวของของแข็งและของของเหลวขนาดเล็ก) 5-5

  23. หน่วยที่ 6, 7 • สถานะของสารและการเปลี่ยนสถานะสาร 6-17 • การถ่ายเทความร้อน/นำพาความร้อน 6-47-48 • การไหลนำมาใช้ประกอบ • ความดันสัมบูรณ์ = ความดันเกจ + ความดันบรรยากาศ (Pabs + Pgage + Patm 7-17 6-47-48

  24. ท่อพลาสติก 2 ประเภท • เทอร์โมพลาสติก thermoplastic • เทอร์โมเซ็ท thermoset 8-7

  25. เทอร์โมพลาสติก เรซินที่มีคุณสมบัติสามารถอ่อนตัวได้เมื่อได้รับความร้อนและแข็งตัวเมื่อได้รับความเย็นโดยสามารถทำช้ำได้ โดยไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงจึงสามรถนำมาใช้ใหม่ได้อีก 8-7

  26. เทอร์โมเซ็ท เป็นพลาสติกที่มีความแข็งแรงไม่สามารถยืดหยุ่นได้ และเมื่อบ่มเสร็จแล้วหลังการผลิตไม่สามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้อีก ใช้ประโยชน์ในด้านเสริมความแข็งแรงได้ 8-7

  27. หน้าที่ของวาล์ว • เริ่มและหยุดการไหล • ปรับระดับการไหล • ป้องกันการไหลย้อนกลับ • ปรับลดความดัน • ระบายความดัน • เปลี่ยนทิศทางการไหล 8-8

  28. ตัวอย่างคำถาม • หน้าที่ของวาล์วส่วนที่เริ่มและหยุดการไหล คือ................................... (เกทวาล์ว, บอลวาล์ว, ปลั๊กวาล์ว) 8-8

  29. ส่วนประกอบของวาล์ว • ตัวเรือนวาล์ว • ลิ้นและบ่อรองลิ้น(ควบคุม/บังคับทิศทางการไหล) • ก้านวาล์ว(ขับวาล์วไห้เคลื่อนที่เพื่อควบคุมการไหล) • บอนเน็ต(อุปกรณ์ที่ครอบอยู่บนชิ้นส่วนอื่นๆ ที่เคลื่อนที่ได้ของวาล์ว เป็นที่ทะลุผ่านของเกลียว • อุปกรณ์ขับวาล์ว • เปลี่ยนทิศทางการไหล 8-8

  30. การติดตั้งของปั้ม • ต้องไม่ตั้งอยู่ในที่ที่ตากแดดตากฝน โรงสูบที่ตั้งต้องไม่เปียกชื้น • สถานที่ตั้งควรอยู่ในที่สามารถเข้าไปตรวจสอบ บำรุงรักษา ซ่อมแซมได้ • ควรอยู่ในที่ที่ใกล้ระดับน้ำ หรือของเหลวที่ต้องการสูบให้มากที่สุด **ประเด็นข้อใดใช่/ ไม่ใช่? 8-45

  31. หลักการทำงานเครื่องอัดอากาศหลักการทำงานเครื่องอัดอากาศ • แบบลูกสูบชัก • แบบโรตารี่ • แรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง **.....................เป็นแบบใด? 8-54-56

  32. อากาศอัดใช้ในกิจการใดอากาศอัดใช้ในกิจการใด • ระบบเบรครถยนต์ • ปิด-เปิดประตูรถโดยสารประจำทาง • ทันตแพทย์ใช้ในการขัดทำความสะอาดฟัน • บรรจุขวดน้ำอัดลม 8-60

  33. ระบบท่อ • ท่อประปา, ท่อน้ำเสีย, ท่อน้ำโสโครก, ท่อระบายอากาศ, ท่อระบายน้ำฝน -ท่อน้ำเสีย (อ่างล้างมือ, อาบน้ำ, ล้างในครัว, ซักล้างและการล้างพื้น -ท่อน้ำโสโครก (โถส้วม, โถปัสสาวะ) 9-7

  34. มาตรฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลมาตรฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล มาตรฐานที่นิยมใช้กับในปัจจุบันของไทยและต่างประเทศ (ให้นักศึกษาศึกษาตัวเต็มและตัวย่อ) หน่วยงานใดที่จัดทำมาตรฐานงานทางวิศวกรรมเครื่องกลของประเทศไทย ว.ส.ท. คืออะไรระบุชื่อตัวเต็ม............. 9-12

  35. การออกแบบระบบปรับอากาศการออกแบบระบบปรับอากาศ 1.การลงทุน/งบประมาณ 2.ความต้องการใช้สอยอาคารเริ่มต้น - อนาคต 3.สถาปัตยกรรม/โครงสร้างอาคาร 4.สิ่งแวดล้อมภายนอก, ภายในอาคาร 5.แผ่นดินไหว, ลดประหยัดพลังงาน 6.อัคคีไฟควันไฟไหม้อาคาร, การดำเนินงานอาคารต่อปี 9-78

  36. ศึกษาสัญลักษ์ • ให้ศึกษาสัญลักษณ์ หน้า 9-94-95-112 • ส่วนประกอบที่การทำงานคล้ายฟิวส์ ระบบไฟฟ้าประกอบด้วย 4 ส่วน 1.การผลิต 2.การส่งกำลังไฟฟ้า 3.จำหน่าย 4.ใช้กำลังไฟฟ้า 9-98

  37. ส่วนประกอบการต่อลงดินส่วนประกอบการต่อลงดิน • หลักดินหรือระบบหลักดิน • สายต่อหลักดิน • การต่อฝาก • สายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้า 10-51-54

  38. หลักดินหรือระบบหลักดินหลักดินหรือระบบหลักดิน • หลักดินแบบแท่ง • หลักดินหุ้มด้วยคอนกรีต • แบบแผ่นโลหะ • หลักดินแบบวงแหวน • แบบกริด 10-51-52

  39. อันตรายจากฟ้าฝ่า 2 ประเภท 1.ฟ้าฝ่าโดยตรง อาจเกิดกับอาคารหรือสิ่งที่อยู่สูงเด่นกว่าสิ่งอื่น 2.ฟ้าฝ่าโดยอ้อม เมื่อเกิดฝ่าฝ่าลงดินที่มีความต้านทานเป็นสาเหตุให้เกิดแรงดันช่วงก้าวหรือแรงดันสัมผัส ประเด็นสถานการณ์...........................ท่านจะทำอย่างไร? 10-58

  40. ระบบป้องกันฟ้าฝ่าภายนอกระบบป้องกันฟ้าฝ่าภายนอก • ตัวนำล่อฟ้า • ตัวนำลงดิน • รากสายดิน (เป็นส่วนใด ?) 10-61

  41. ส่วนประกอบระบบป้องกันฟ้าฝ่าฯส่วนประกอบระบบป้องกันฟ้าฝ่าฯ • ตัวนำล่อฟ้า (หลักล่อฟ้า, สายตัวนำขึง, ตัวนำตาข่าย) • ตัวนำลงดิน 10-65 • รากสายดิน 10-67 10-65-67

  42. แนวทางการออกแบบระบบป้องกันฯแนวทางการออกแบบระบบป้องกันฯ • วิธีมุมป้องกัน • วิธีทรงกลมกลิ้ง • วิธีตาข่าย 10-68-69

  43. อุปกรณ์ควบคุมทางวิศวกรรมฯอุปกรณ์ควบคุมทางวิศวกรรมฯ • เครื่องจักรอุปกรณ์ในการผลิต • เครื่องมือวัด • เครื่องส่งสัญญาณ • สายสัญญาณ • เครื่องควบคุม • เครื่องบันทึกสัญญาณ 11-16-17

  44. หน้าที่เครื่องส่งสัญญาณหน้าที่เครื่องส่งสัญญาณ • เครื่องส่งสัญญาณ transmitter ต้องมีการแปลงสัญญาณและปรับระดับให้เหมาะสมก่อนส่งสัญญาณเข้าระบบควบคุมต่อไป • การควบคุมการผลิตมี 2 แบบ • 1.แบบใช้คนบังคับ (ต้องใช้ประสบการณ์และไม่ใช้ประสบการณ์) 2.แบบอัตโนมัติ 11-19-20

  45. การจำแนกพื้นที่อันตรายการจำแนกพื้นที่อันตราย • Division 1, 2 = สารไวไฟ • Zone 0, 1, 2 = ก๊าซ • Zone 20, 21, 22 = ฝุ่น 11-30-31

  46. มาเบิลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์มาเบิลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์ Programmable logical controller (PLC) PLC คืออะไร?........................................... ระบบการทำงานของ PLC 1.หน่วยประมวลผลกลาง 2.หน่วยความจำ (แบบแรม RAM) 11-54-55

  47. มาเบิลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์มาเบิลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์ 3.หน่วยรับสัญญาณอินพุต 4.หน่วยส่งสัญญาณเอาส์พุต 5.หน่วยจ่ายกำลังไฟฟ้า 11-55-56

  48. มาเบิลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์มาเบิลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์ Programmable logical controller Program……… logical ……roller Program……… logical control… Programmable logi….. controller ...............mable logical …….roller 11/0

  49. วิศวกรรมเคมี • เอ็นทัลปี enthalpy : He He = U + pv v คืออะไร? • U = พลังงานภายใน • P = ความดัน • V = ปริมาตร 12-11

  50. ประเภทของปฎิกิริยา 2 ประเภท 1.ปฏิกิริยาแบบเอกพันธ์ อัตราความเร็วนั้นไม่สามารถวัดผลได้โดยตรงได้ต้องวิเคราะห์หาข้อมูลจากปฏิกิริยาเคมีขนาดทดลองหรือห้องปฏิบัติการก่อน 2.ปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธ์ ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกิริยาเคมีโดยมีเฟสเข้ามาเกี่ยวข้องตั้งแต่ 2 เฟสขึ้นไป 12-13-14

More Related