1 / 21

สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน คณะที่ ๑ รอบ ที่ ๑ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕

สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน คณะที่ ๑ รอบ ที่ ๑ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕. การป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อรัง และการพัฒนาระบบบริการและการดูแลผู้ป่วย โรคเบาหวาน (DM) ความดันโลหิตสูง (HT). ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕. กระบวนการพัฒนางานเพื่อป้องกันควบคุม DM ,HT. คัดกรอง DM & HT รายใหม่ รณรงค์ ๓ อ ๒ ส

afi
Télécharger la présentation

สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน คณะที่ ๑ รอบ ที่ ๑ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน คณะที่ ๑ รอบที่ ๑ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ การป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อรัง และการพัฒนาระบบบริการและการดูแลผู้ป่วย โรคเบาหวาน (DM) ความดันโลหิตสูง(HT) ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕

  2. กระบวนการพัฒนางานเพื่อป้องกันควบคุม DM ,HT • คัดกรอง DM & HT รายใหม่ • รณรงค์ ๓ อ ๒ ส • การให้คำปรึกษาPre-DM Pre-HT และติดตามผล • ผู้ป่วย DM & HT–controllable • คัดกรองภาวะแทรกซ้อนและดูแลได้อย่างเหมาะสมครบวงจร • มีการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • NCD Board • Case manager • System manager • ระบบข้อมูลผู้ป่วย DM & HT ระดับอำเภอและจังหวัด จังหวัดมีระบบสนับสนุนที่ดี มีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

  3. เป้าหมายผลลัพธ์การดำเนินงานของระบบบริการของจังหวัดที่จะก้าวไปให้ถึง (P.๑๙-๒๐ , ๓๔-๔๑) * Hb A๑C ครั้งสุดท้ายน้อยกว่าร้อยละ ๗ หรือ FBS >๗๐- < ๑๓๐ มก./ดล. ๓ ครั้งติดต่อกัน ** ผู้ป่วยทั่วไป BP : <๑๔๐/๙๐ mmHg ผู้ป่วยอายุน้อย / DM/โรคไต/post MI/ post strokes : BP<๑๓๐/๘๐ mmHg

  4. สรุปวิเคราะห์การนิเทศงานในภาพรวมของทุกเขตสรุปวิเคราะห์การนิเทศงานในภาพรวมของทุกเขต • ผู้บริหารให้ความสำคัญ ผลักดันนโยบาย ติดตาม และกำกับในพื้นที่ • มีการแต่งตั้ง NCD Board จังหวัด สนับสนุนให้มี Case Manager ของหน่วยบริการ, System Manager ระดับจังหวัดและอำเภอ • มีการถ่ายทอดนโยบายสู่ระดับ CUP รพสต.และ PCU • มีการบูรณาการแผนงาน/โครงการ แต่ส่วนใหญ่อยู่ระหว่างการดำเนินงานให้ครอบคลุมการจัดบริการ • มีการจัดทำระบบทะเบียน (registry) แต่ส่วนใหญ่อยู่ระหว่างการพัฒนาเชื่อมต่อข้อมูล • มีแนวทางการดูแลรักษา มีการผลิตสื่อ คู่มือสนับสนุนการปฏิบัติงาน • มีแผนติดตามประเมินผล • การพัฒนาเครือข่ายการบริการเพื่อให้มีการดำเนินงานร่วมกันในการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการและแนวทางการส่งต่อ/ส่งกลับ ยังไม่เห็นภาพชัดเจนในภาพรวมเขต

  5. Source : http://healthdata.moph.go.th/kpi * เป้าหมายร้อยละ 90

  6. Source : http://healthdata.moph.go.th/kpi * เป้าหมายร้อยละ 90

  7. Source : http://healthdata.moph.go.th/kpi * เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 5 เขต 11 บางจังหวัดค่าผลลัพธ์มากกว่าค่าเป้าหมาย

  8. Source : http://healthdata.moph.go.th/kpi * เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 10 เขต 11 บางจังหวัดค่าผลลัพธ์มากกว่าค่าเป้าหมาย

  9. ผลลัพธ์การดำเนินงานของระบบบริการที่ยังไม่ได้รายงานภาพเขตผลลัพธ์การดำเนินงานของระบบบริการที่ยังไม่ได้รายงานภาพเขต • ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับค่าน้ำตาลได้ • ผู้ป่วย HT ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ • ผู้ป่วย DM ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ –ตา ไต เท้า และมีการดูแลผู้มีโรคแทรกซ้อนอย่างต่อเนื่องทั้งมาตรการทางคลินิกและวิถีชีวิต • ผู้ป่วย HT ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน -ไต • และมีการดูแลผู้มีโรคแทรกซ้อนอย่างต่อเนื่องทั้งมาตรการทางคลินิกและวิถีชีวิต

  10. ปัจจัยความสำเร็จ • ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงาน • มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานรับผิดชอบการดำเนินงานทั้งในระดับจังหวัดและระดับอำเภอ • จัดระบบสนับสนุนอย่างเป็นระบบ มีการสื่อสาร/ถ่ายทอดนโยบายทั่วถึงทั้งระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ • มีกลไกการกำกับ ติดตาม รายงานผล และประเมินผลในพื้นที่ • ความร่วมมือที่เข้มแข็งและการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน กำหนดกิจกรรมและแผนการสร้างสุขภาพของภาคีเครือข่าย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาคม • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อถ่ายทอดจากชุมชนสู่ชุมชน

  11. ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญ • การถ่ายทอดนโยบายสู่ภูมิภาคและชี้แจงแผนการตรวจฯ ล่าช้า • ผู้นิเทศ ผู้เกี่ยวข้องระดับจังหวัดและอำเภอ ขาดความเข้าใจในประเด็นการนิเทศ • การบริหารจัดการงบประมาณไม่เพียงพอที่จะครอบคลุมการดำเนินกิจกรรมตามกลุ่มเป้าหมาย • การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนขาดความชัดเจนในการบูรณาการพื้นที่และพัฒนางานร่วมกัน ระหว่างอปท.ภาคประชาชน และสาธารณสุข • ยังมีส่วนร่วมในภาคประชาชน และท้องถิ่น น้อย ในเขตเมือง

  12. ข้อเสนอแนะสำหรับจังหวัดข้อเสนอแนะสำหรับจังหวัด • ทำความเข้าใจแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง • มีต้นแบบ MR.NCD ที่จังหวัด • Strengthen NCD Boardand leadership • การเชื่อมโยงระบบข้อมูล • clarify definition การลงรายงาน • สร้างเครือข่ายระดับเขตและระดับจังหวัด • การติดตามประเมินผล – สสจ. สสอ. จัดสร้างทีมกำกับ ตัวชี้วัด

  13. ข้อเสนอแนะสำหรับเขต • ชี้แจงตัวชี้วัด ก่อนเริ่มดำเนินงานในปีงบประมาณใหม่เนื่องจากมีผู้ป่วยและกลุ่มเป้าหมายมีจำนวนมากจังหวัดต้องวางแผนงบประมาณและการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ให้เพียงพอ • ควรมีผู้ประสานรับผิดชอบตัวชี้วัดจากสำนักบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดี วิถีชีวิตไทย และกรมการแพทย์ร่วมนิเทศและให้ข้อเสนอแนะ • ศูนย์วิชาการในระดับเขต ควรมีการบูรณาการในการจัดทำ ชี้แจง วางแผน แนวทางการดำเนินงาน การจัดสรรงบประมาณในภาพรวมแก่จังหวัด เพื่อให้เกิดการบูรณาการงานในระดับพื้นที่ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในระดับพื้นที่สามารถเข้าใจและดำเนินงานได้อย่างเป็นรูปธรรม

  14. ข้อเสนอแนะสำหรับส่วนกลางข้อเสนอแนะสำหรับส่วนกลาง • สนับสนุน Technical support ที่ simple , practical และ prioritize • พัฒนารูปแบบการ implement ในเขตเมือง • จัดทำ Technology assessment ที่ affordable โดยความร่วมมือของกรมวิชาการและผู้เชี่ยวชาญจากพื้นที่ • จัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจแก่ผู้นิเทศระดับเขตก่อนการตรวจราชการรอบ ๒ • สร้างช่องทาง/เวทีให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด นำเสนอการดำเนินงานต่อรองปลัดฯหรือปลัดกระทรวงสธ.

  15. ประชากรมีความตระหนัก จัดการลดเสี่ยง ลดโรค ลดเจ็บป่วย ได้รับความคุ้มครอง ได้รับการบริการอย่างมีคุณภาพ เพิ่มคุณภาพชีวิต เพิ่มคุณภาพชีวิต การป้องกัน 3 ระดับ ลดวิถีชีวิตเสี่ยง ลดการเกิดโรค ลดการเข้าอยู่ใน รพ. ลดความพิการ ประชากรทั้งหมด ความเสี่ยงต่ำ ความเสี่ยงสูง มีสัญญาณผิดปกติ มีสภาวะแทรกซ้อน พิการ เป็นโรค มีอาการ สร้างเสริมสุขภาพ และวิถีชีวิตในสิ่งแวดล้อม ป้องกันการเกิดโรค ในกลุ่มเสี่ยงสูง ป้องกันและชลอการดำเนินโรค สู่ภาวะแทรกซ้อนและการเป็นซ้ำ ลดความรุนแรงของ ภาวะแทรกซ้อน ป้องกันการเพิ่มขึ้น ของประชากรที่มีปัจจัยเสี่ยง การจัดการรายกลุ่ม การจัดการรายบุคคล

  16. กรอบกระบวนการทำงานในระบบการจัดการโรคเรื้อรังกรอบกระบวนการทำงานในระบบการจัดการโรคเรื้อรัง จัดการรายกรณี กลุ่มป่วยซับซ้อน, ภาวะแทรกซ้อน ประสานจัดการเบาหวาน กลุ่มป่วย บริการสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ป้องกันโรค กลุ่มเสี่ยง จัดการ ดูแลตนเอง กลุ่มปกติ ประชากร 70-80% สร้างเสริมสุขภาพ IMRTA Medical Research & Technology Assessment สวป (S.Potisat adapted from Pippa Hague : Chronic disease self management . 2004) สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์

  17. ประเด็นคำถามในการตรวจราชการ(p.๔๙)ประเด็นคำถามในการตรวจราชการ(p.๔๙) • มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อระดับจังหวัดหรือไม่ มีการประชุมบ่อยเพียงใด มีแผนงาน/โครงการที่สอดคล้องเพื่อลดปัญหาและเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่หรือไม่ อย่างไร • มีSystem manager ระดับจังหวัดและอำเภอ และ case manager ของหน่วยบริการหรือไม่ บทบาทหน้าที่และการดำเนินงานเป็นเช่นไร • มีการจัดทำระบบทะเบียน (registry) ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงระดับจังหวัดหรือไม่ มีปัญหาหรือไม่ อย่างไร นอกจากนี้ ผลการวิเคราะห์และ/หรือข้อมูลปัญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการเป็นอย่างไร

  18. ประเด็นคำถามในการตรวจราชการ(p.๔๙)ประเด็นคำถามในการตรวจราชการ(p.๔๙) • มีการพัฒนาเครือข่ายการบริการเพื่อให้มีการดำเนินงานร่วมในการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการ และมีการพัฒนาแนวทางปฏิบัติระดับจังหวัดและแนวทางในการส่งต่อ/ส่งกลับผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงหรือไม่ อย่างไร • ตัวชี้วัดที่บ่งถึงสถานะการดำเนินงานตามแนวทางการตรวจราชการ ๕ ตัวนั้น - ผลการดำเนินงานในปีนี้เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านๆมาเป็นอย่างไร จังหวัดมีการวิเคราะห์หรือวางแผนอย่างไร - ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญคืออะไร ถ้าไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ และวางแผนการดำเนินงานต่อเนื่องอย่างไร - กรณีที่ผลลัพธ์บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ ปัจจัยแห่งความสำเร็จคืออะไร

  19. ขอบคุณครับ

More Related