390 likes | 968 Vues
การจัดการไข้เลือดออก ด้วยการแพทย์โฮมีโอพาธีย์. นพ.กุลธนิต วนรัตน์ สำนักการแพทย์ทางเลือก. “ ทำไม แก้ปัญหาไข้เลือดออกมาหลายทศวรรษแล้ว แต่ผู้ป่วยก็ยังมีอยู่อย่างเดิม ”. รู้จักไหม ? ไข้เลือดออก. ยุงลายเป็นพาหะนำโรค. ตัวผู้ 7 วัน ตัวเมีย 30 - 45 วัน. การติดต่อ.
E N D
การจัดการไข้เลือดออกด้วยการแพทย์โฮมีโอพาธีย์การจัดการไข้เลือดออกด้วยการแพทย์โฮมีโอพาธีย์ นพ.กุลธนิต วนรัตน์ สำนักการแพทย์ทางเลือก
“ ทำไม แก้ปัญหาไข้เลือดออกมาหลายทศวรรษแล้ว แต่ผู้ป่วยก็ยังมีอยู่อย่างเดิม ”
รู้จักไหม ? ไข้เลือดออก ยุงลายเป็นพาหะนำโรค
ตัวผู้ 7 วัน ตัวเมีย 30 - 45 วัน
การติดต่อ ยุงลายตัวเมียดูดเลือดผู้ป่วยที่กำลังมีไข้สูงประมาณวันที่ 2-4 แพร่ระบาดดดดดด วงจรการเกิดโรคไข้เลือดออก ยุงถ่ายทอดเชื้อทางไข่ได้ กัดเด็กในชุมชน โรงเรียน ศูนย์เด็ก
ยุงกัด 1000 คน ไม่มีอาการ900 มีอาการ 100 กลุ่มอาการไข้เลือดออก ที่อาการแปลกแทรกซ้อน ไข้ไวรัส ทั่วไป ไข้เดงกี่90 ไข้เลือดออก 10 ไม่ช๊อก 9 ช๊อก 1 เมื่อยุงกัดโอกาส เป็นไข้เลือดมากน้อยแค่ไหน
รู้ได้อย่างไรว่าเป็นไข้เลือดออกรู้ได้อย่างไรว่าเป็นไข้เลือดออก 1. 2. 3. 4. ไข้สูง เลือดออก ตับโต ช็อก
ข้อบ่งชี้ในการให้นอน รพ. ช่วงไข้: • ไข้สูงมากและชีพจรเร็วผิดปกติ • มีเลือดออก • อ่อนเพลียมาก กินไม่ได้ อาเจียนมาก • นอนซึม • ปวดท้องมาก • เอะอะโวยวาย อาการทางสมอง ชัก • ผู้ปกครองกังวลมาก บ้านอยู่ไกล
ช่วงไข้ 8.ไข้ลดลง อาการแย่ลง หรือ อาการไม่ดีขึ้น 9.Hct 10-20 % เจาะเลือดแล้วความเข้มข้นเพิ่ม 10.Impending shock/shock : ช๊อก กรณี ระยะไข้ลดลงแล้วแต่: • อาการทางสมอง ตับ ไต • น้ำท่วมปอด
Early Diagnosis & Prompt • Treatment (EDPT) • การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและทำลาย • แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในเขตเมือง/ชุมชน • (ป้องกันล่วงหน้า) • - สร้างความเข้มแข็งชุมชน การควบคุมโรคไข้เลือดออก สนับสนุนทรัพยากร พัฒนาองค์ความรู้ • กลยุทธ์ • ป้องกันและควบคุมการ • ระบาด • การดูแลรักษาผู้ป่วย • การเฝ้าระวังโรค • ประเมินผล (ระบบ) • - การควบคุมการระบาด • (ประสิทธิภาพ SRRT) • -Case management • Dead case conference • Multisectoral Networking • สำรวจลูกน้ำยุงลาย • Active Surveillance • พัฒนาระบบฐานข้อมูล • (DBMS)/ GIS • พัฒนาการวินิจฉัย/รักษา • (แพทย์/พยาบาล/จสส)
การป้องกันควบคุมโรค ให้ใช้มาตรการ “ขอห้าปอสามรอ” 3 ร. 1 ข. มือเท้าเย็น 5 ป. 5 ป. ความชุกลูกน้ำยุงลาย HI,CI= 0
มาตรการ 1 ข ขัด คือ ขัดขอบโอ่งบริเวณเหนือน้ำ ที่ยุงลายวางไข่ ให้หลุดออก แล้วล้างออก (ยุงลายมักวางไข่เหนือน้ำ 2-3 ซม.และ ไข่จะอยู่ได้นานมากกว่า 2 เดือน)
ใช้มาตรการ 5ป ปิด เปลี่ยน ปล่อย ปรับปรุง ปฏิบัติจนเป็นนิสัย
มาตรการ 3 ร ร : โรงเรือน ร : โรงเรียนศูนย์เด็ก ร :โรงพยาบาล
Last JM(2001) ระบาดวิทยา (Epidemiology) การศึกษา การกระจาย และ ปัจจัย กำหนดของ ภาวะหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับ สุขภาพของกลุ่มประชากรมนุษย์ที่กำหนด และประยุกต์ผลการศึกษาเพื่อการควบคุม ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้น
คน พาหะ สิ่งแวดล้อม
วิธีการป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกในปัจจุบันวิธีการป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกในปัจจุบัน • เน้นการจัดการที่ตัวพาหะนำโรค (Agent) และสิ่งแวดล้อม (Environment) เป็นหลัก โดยใช้มาตรการต่าง ๆ ที่หวังผลในการลดจำนวนยุงและการป้องกันยุงกัด • แต่ (Host) มีเฉพาะเรื่องการให้ความรู้ ส่วนเรื่องภูมิคุ้มกันยังต้องเฝ้ารอวัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการลดอุบัติการณ์ของโรคไข้เลือดออกและลดการแพร่ระบาดของโรค
การแพทย์โฮมีโอพาธีย์ คืออะไร • วิธีการรักษาพัฒนามาจากแนวคิด “Like cure Like” สิ่งที่ใช้รักษาเป็นสิ่งเดียวกันกับสิ่งที่ทำให้เกิดการเจ็บป่วยนั้นๆ • หนามยอกเอาหนามบ่ง • พิษต้านพิษ • เวชกรรมความคล้าย
การแพทย์โฮมีโอพาธีย์ • ระบบการแพทย์ที่มีการพัฒนามาตั้งแต่ ค.ศ.1796 โดยนายแพทย์แซมมวล ฮาห์เนอร์มาน ชาวเยอรมัน • เป็นการแพทย์ทางเลือกที่มีการใช้มากที่สุดติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลก (WHO legal status review,2001) • ได้รับการยอมรับเข้าสู่ระบบประกันสุขภาพในหลายประเทศ ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน อาร์เจนตินา เม็กซิโก อินเดีย ปากีสถาน ศรีลังกา เป็นต้น
ทำไมจึงนำมาใช้ในประเทศไทยทำไมจึงนำมาใช้ในประเทศไทย • มีประสิทธิผลการรักษา สามารถเสริมการป้องกันแผนปัจจุบันให้มีประสิทธิผลมากขึ้น • มีความปลอดภัย • ประหยัด คุ้มค่า • สามารถนำมาพัฒนายาสมุนไพรไทย
หลักการเตรียมและรูปแบบยาโฮมีโอพาธีย์หลักการเตรียมและรูปแบบยาโฮมีโอพาธีย์ • หลักการเตรียมยาโฮมีโอพาธีย์ • การเจือจาง (Serial dilution) • การกระแทก (Succussion) รูปแบบของยาโฮมีโอพาธีย์ • เม็ด (น้ำตาล) • น้ำ • เจล • ขี้ผึ้ง • ฉีด
Eupatorium permfoliatumกับโรคไข้เลือดออก • Aconite, Arnica, Arsenic-alb, Arum-tri., Baptisia., Belladonna., Bryonia., Cantharis., China off., Colocynthis., Eupatorium per., Ferrum met., Gelsemium., Hamamelis., Ipecac., Lachesis, Merc-sol, Nux-v., Podophyllum., Rhus-tox., Rhus-venenata., Sanicula., Secale cor. และSul-acidum • (ประมวลจากการใช้ทั่วโลก)
Eupatorium permfoliatumกับโรคไข้เลือดออก • ข้อมูลจากหลายแหล่งตรงกันว่า Eupatorium perfoliatum เป็นตัวที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการป้องกันไข้เลือดออกทุกชนิด • แต่วิธีการบริหารยาอาจแตกต่างกันไป
Eupatorium perfoliatum เป็นพืชพื้นเมืองในแถบภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอเมริกา พบได้ทั่วไปในแถบ ทุ่งหญ้าและบริเวณหนองน้ำที่ชื้นแฉะ
Eupatorium perfoliatum • มีสารประกอบสำคัญคือ กลุ่มฟลาโวนอยด์ (Flavonoids) ยูพาโทริน (Eupatorin) และเทอร์พินอยด์ (Terpenoids) มีฤทธิ์หลักในการกระตุ้นให้เหงื่อออก และในขนาดที่มากขึ้นพบว่ามีฤทธิ์กระตุ้นให้อาเจียนและถ่าย นอกจากนี้สารสกัดบางตัวของพืชสกุลนี้ พบว่ามีความเป็นพิษต่อเซลล์ (cytotoxic)
Eupatorium perfoliatum • มีฤทธิ์ต้านการอักเสบอย่างอ่อน และจากการทดสอบเบื้องต้นพบว่าสาร eufoliatinมีคุณสมบัติในการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน (immunostimulating activity)
Eupatorium perfoliatum อาการที่สัมพันธ์กับโรคไข้เลือดออก เช่น • ศีรษะมีอาการปวดศีรษะตุบ ๆ มีความรู้สึกถูกบีบราวกับว่ามีฝาตะกั่วกดปิดอยู่ มีอาการรู้สึกหมุน มีความรู้สึกราวกับล้มลงทางด้านซ้าย มีอาการอาเจียนน้ำดีร่วม มีอาการปวดศีรษะทางด้านบนและด้านหลัง และปวดเบ้าตาร่วมด้วย มีอาการปวดศีรษะเป็นช่วง ๆ ทุก 3 วัน และ 7 วัน ปวดหนักๆบริเวณท้ายทอยศีรษะเมื่อนอนลง • ปากมุมปากแตกลิ้นมีคราบสีเหลืองเคลือบ และกระหายน้ำ
Eupatorium perfoliatum อาการที่สัมพันธ์กับโรคไข้เลือดออก เช่น • ระบบทางเดินอาหาร ลิ้นมีคราบเหลือง ปากขม เจ็บบริเวณตับ กระหายน้ำมาก มีอาการอาเจียนและสำรอกน้ำดีปริมาณมาก อาการอาเจียนร่วมกับกระหายน้ำ สะอึก มักหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าที่รัดแน่น • ระบบทางเดินหายใจ เป็นหวัดมีน้ำมูกร่วมกับจาม เสียงแหบ ไอ และเจ็บบริเวณหน้าอกต้องคอยพยุงเอาไว้ อาการไข้หวัดใหญ่ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และกระดูกอย่างมาก อาการทรุดลงในเวลากลางคืน
Eupatorium perfoliatum อาการที่สัมพันธ์กับโรคไข้เลือดออก เช่น • ไข้ เหงื่อออกช่วยให้อาการดีขึ้น ยกเว้นอาการปวดศีรษะ มีอาการหนาวสั่นร่วมในช่วงระหว่าง 19.00 – 21.00 น. และต่อเนื่องด้วยความรู้สึกกระหายน้ำ ร่วมกับมีอาการปวดกระดูกอย่างรุนแรง รู้ว่าอาการหนาวสั่นจะกลับมาเมื่อดื่มน้ำไม่เพียงพอแก่ความต้องการ
การควบคุมไข้เลือดออกด้วยยาโฮมีโอพาธีย์ในประเทศไทยการควบคุมไข้เลือดออกด้วยยาโฮมีโอพาธีย์ในประเทศไทย • ชุมชนศีรษะอโศก จังหวัดศรีสะเกษ นำ Eupatorium perfoliatum ขนาด 200C มาใช้เพื่อควบคุมโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 ภายใต้คำแนะนำของนักบำบัดโฮมิโอพาธีย์ชาวเชคฯ • ผลปรากฏว่า ชุมชนหมู่ 15 (ชุมชนศีรษะอโศก) ซึ่งเป็นชุมชนเดียวที่รับประทานยา EP และมีประวัติของอุบัติการณ์ไข้เลือดออกสูงที่สุดก่อนการรับประทานยา EP • หลังจากรับประทานยา EP ไม่พบว่ามีอุบัติการณ์ไข้เลือดออกอีกเป็นเวลา 8ปีติดต่อกัน
หลักในการดำเนินการ • ยังคงดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกตามวิธีการที่กำหนดไว้แต่เดิม • การให้ยาโฮมีโอพาธีย์จากสมุนไพร ยูพาโทเรียม เฟอร์โฟไลตั้ม (Eup-per) แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย • เมื่อมีผู้ป่วย ให้ดำเนินการตามที่กำหนดไว้แต่เดิม เพิ่มการให้ยาฯ ซ้ำแก่คนในชุมชน • มีการติดตามประเมินผลการเสริมการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยโฮมีโอพาธีย์
การดำเนินงาน เสริมการป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยยาโฮมีโอพาธีย์ จากสมุนไพรEupatorium Perfoliatum