1 / 21

การประเมินผลโครงการ และตัวชี้วัดเพื่อการประเมิน

การประเมินผลโครงการ และตัวชี้วัดเพื่อการประเมิน. รศ.ดร.เภสัชกรหญิง กัญญดา อนุวงศ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (kunyada@swu.ac.th). การประเมินโครงการ. ตัวโครงการ การบริหารโครงการ ผลที่ได้รับจากโครงการ .

alaura
Télécharger la présentation

การประเมินผลโครงการ และตัวชี้วัดเพื่อการประเมิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินผลโครงการ และตัวชี้วัดเพื่อการประเมิน รศ.ดร.เภสัชกรหญิง กัญญดา อนุวงศ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (kunyada@swu.ac.th)

  2. การประเมินโครงการ ตัวโครงการ การบริหารโครงการ ผลที่ได้รับจากโครงการ โครงการ: ความสมบูรณ์ ความชัดเจน ความเหมาะสม ความสอดคล้องกับแผน บริบท และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย Context and input evaluation การบริหาร: การทำงานตามแผน การกำกับติดตาม การประสานงานภายในและภายนอกโครงการ ก่อนโครงการ:Needs Assessment, Feasibility Study

  3. การประเมินโครงการ การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือเทคนิคการวิจัยเพื่อหาข้อมูลที่เป็นจริงและเชื่อถือได้เกี่ยวกับโครงการ เพื่อตัดสินคุณค่าของโครงการ (Suchman 1967) การกำหนดคุณค่าหรือข้อดีของบางสิ่งอย่างเป็นระบบ กระบวนการบรรยาย เก็บข้อมูลเกี่ยวกับเป้าหมาย การวางแผน การดำเนินการ ผลกระทบ เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจเพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ และเพื่อส่งเสริมความเข้าใจในสถานการณ์ของโครงการ(Stufflebeam et al. 1990) การเก็บรวบรวมข้อมูลและใช้ข้อมูลนั้นเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ (Cronbach 1987)

  4. การประเมินผลโครงการ การตอบคำถาม...ที่นำไปสู่...การตัดสินใจ ความเหมาะสมของสิ่งที่ดำเนินการ? ปัญหา อุปสรรคที่พบ? ประสบความสำเร็จตามมุ่งหวัง? ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย? ความคืบหน้าของการดำเนินการ? ตรงตามแผน? ความต้องการทรัพยากรเพิ่ม? ควรดำเนินการต่อ? ควรปรับปรุง? ควรยุติ? ควรขยาย? ควรเลือกรูปแบบใด?

  5. ขั้นตอนการประเมินผลโครงการขั้นตอนการประเมินผลโครงการ ศึกษาความต้องการของผู้ใช้ผลการประเมิน ศึกษารายละเอียดโครงการ (การวิเคราะห์โครงการ) กำหนดประเด็นการประเมิน การพัฒนาตัวชี้วัด: การกำหนดตัวชี้วัด กำหนดเกณฑ์หรือมาตรฐานตัวชี้วัดแหล่งข้อมูลและเครื่องมือ พัฒนาเครื่องมือและเก็บข้อมูล ออกแบบการประเมิน และกลุ่มตัวอย่าง เก็บข้อมูล วิเคราะห์ แปลผล สรุปผล การเขียนรายงานและการนำเสนอ

  6. การวิเคราะห์โครงการและการศึกษาความต้องการของผู้ใช้ผลการประเมินการวิเคราะห์โครงการและการศึกษาความต้องการของผู้ใช้ผลการประเมิน ความมุ่งหมายของโครงการ และความมุ่งหมายของการประเมิน ข้อมูลที่ต้องการคืออะไร จะถูกนำไปใช้โดยใคร อย่างไร

  7. ความต้องการของผู้ใช้ผลการประเมินความต้องการของผู้ใช้ผลการประเมิน

  8. การวิเคราะห์โครงการและการศึกษาความต้องการของผู้ใช้ผลการประเมินการวิเคราะห์โครงการและการศึกษาความต้องการของผู้ใช้ผลการประเมิน • ความมุ่งหมายของโครงการ และความมุ่งหมายของการประเมิน • รู้วัตถุประสงค์/เป้าหมายของโครงการ รวมทั้งเป้าประสงค์ของการดำเนินโครงการชัดเจนเฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น • ตั้งประเด็นเนื้อหาในการประเมินได้ (คำถามการวิจัย)

  9. Conceptual Model of Health Promoting Project การกำหนดประเด็นการประเมินผลโครงการ Health Promoting Project/Intervention Health Potential: Health resources & policies Health-related behaviors Health promoting processes Health Measurement/Evaluation

  10. การกำหนดประเด็นการประเมินการกำหนดประเด็นการประเมิน Health: biomedical, psychological and sociological health, and morbidity, mortality, disability and survival rates Health potential: resources/policies, related behaviors, and/or promoting processes

  11. Health Potential: Resources -เป้าประสงค์ ขอบเขต การบังคับใช้นโยบายที่เกี่ยวข้อง -การตัดสินใจเชิงนโยบาย การจัดสรรงบประมาณและทรัพยากร -การกำหนดตัวชี้วัดและการติดตามเชิงนโยบาย -การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพ -ทรัพยากรและการบริการสุขภาพ/สาธารณสุข -ลักษณะและปริมาณของ social support

  12. Health Potential: Related Behaviors -ความตระหนัก ค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติด้านสุขภาพ -ลีลาชีวิต วัฒนธรรมด้านสุขภาพ -ความรู้ วิธีปฏิบัติ ทักษะ ความสามารถที่เกี่ยวกับสุขภาพ

  13. Health Potential: Promoting processes -ลักษณะและจำนวนของกิจกรรม/บริการที่ให้และที่ถูกใช้ และลักษณะและจำนวนของผู้ร่วมกิจกรรม -ชนิดและระดับของการมีส่วนร่วมของกลุ่ม/บุคคลเป้าหมาย -เนื้อหาและจำนวนของวัสดุอุปกรณณืที่เกี่ยวข้องที่แจกจ่ายสู่กลุ่มเป้าหมาย -ความครอบคลุมของสื่อสาธารณะ -ความถี่ของการติดตามและ/หรือตรวจสอบ

  14. การกำหนดประเด็นการประเมินการกำหนดประเด็นการประเมิน Health and Health Potential: How much/many? วัตถุประสงค์ของโครงการ ความต้องการใช้ผลการประเมิน เวลา ทรัพยากร(เงิน) ประสบการณ์

  15. การกำหนดตัวชี้วัด ตัวชี้วัด คือ คุณลักษณะที่บ่งบอกถึงปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในประเด็นที่สนใจศึกษา วัดได้อย่างไร (HOW) ต้องการวัดอะไร (WHAT) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการรักษาโรคเป้าหมาย ตัวชี้วัด?

  16. การกำหนดตัวชี้วัด วัดได้อย่างไร (HOW) ต้องการวัดอะไร (WHAT) เพื่อให้ประชาชนนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์เมื่อเจ็บป่วย ตัวชี้วัด?

  17. ลักษณะที่ดีของตัวชี้วัดลักษณะที่ดีของตัวชี้วัด -บ่งบอกในสิ่งที่ต้องการวัดจริง -มีความเป็นรูปธรรม เป็นที่เข้าใจ -เป็นที่ยอมรับของผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะผู้ใช้ผลการประเมิน -สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ -ไม่ก่อผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์

  18. เกณฑ์/มาตรฐานของตัวชี้วัดเกณฑ์/มาตรฐานของตัวชี้วัด • ระดับที่พึงประสงค์ของตัวชี้วัด • เกณฑ์สัมบูรณ์หรือมาตรฐาน (Absolute criteria) • ระดับที่ควรจะเป็นที่กำหนดไว้อย่างชัดเจน กำหนดจากเกณฑ์สากล หรือโดยผู้เชี่ยวชาญ/เจ้าของโครงการ • เกณฑ์สัมพัทธ์ (Relative criteria) • การเปรียบเทียบกับโครงการที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน

  19. แหล่งข้อมูลสำหรับตัวชี้วัดแหล่งข้อมูลสำหรับตัวชี้วัด • ข้อมูลปฐมภูมิ • ต้องการเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ซึ่งอาจต้องพัฒนาขึ้น • ข้อมูลทุติยภูมิ • ต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูล

  20. ตัวอย่างตารางสรุปการออกแบบการประเมินตัวอย่างตารางสรุปการออกแบบการประเมิน

  21. แลกเปลี่ยนประสบการณ์การประเมินแลกเปลี่ยนประสบการณ์การประเมิน -วางแผนก่อนการดำเนินโครงการ -เน้นการมีส่วนร่วมของ users ในการวางแผนการประเมิน -ใช้วัตถุประสงค์ของโครงการเป็นหลักในการคิด ในขณะที่มีความยืดหยุ่นพร้อมปรับเปลี่ยน -ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และความรู้วิจัย -ไม่ละทิ้งความเป็นกลาง และจริยธรรมวิจัย -ลงพื้นที่เองบ้าง เรียนรู้และพัฒนาตลอดเวลา

More Related