1 / 85

การประกันคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การ ประเมินของ สกอ . และแนวทางการพัฒนาคุณภาพ

การประกันคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การ ประเมินของ สกอ . และแนวทางการพัฒนาคุณภาพ. 27 พฤษภาคม 2552. ศ.เกียรติคุณ ดร. กิตติชัย วัฒนานิกร รองประธานกรรมการ กพอ. สมศ. กรรมการ ค.ป.ภ. สกอ. กรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย. รัฐบาล (ครม.) กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ ติดตามการปฏิบัติ

alban
Télécharger la présentation

การประกันคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การ ประเมินของ สกอ . และแนวทางการพัฒนาคุณภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประกันคุณภาพภายใน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การ ประเมินของ สกอ.และแนวทางการพัฒนาคุณภาพ 27 พฤษภาคม 2552 ศ.เกียรติคุณ ดร. กิตติชัย วัฒนานิกร รองประธานกรรมการ กพอ. สมศ. กรรมการ ค.ป.ภ. สกอ.

  2. กรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทยกรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย • รัฐบาล (ครม.) • กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ • ติดตามการปฏิบัติ • จัดสรรงบประมาณ • สมศ. • ประเมินผลการจัดการศึกษาของมหาฯ(EQA) • รับรองมาตรฐานคุณภาพและเสนอแนะการปรับปรุงสถานศึกษาต่อต้นสังกัด • รายงานการประเมินต่อรัฐบาล หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน กระทรวงศึกษาธิการ สกศ. ต้นสังกัด ก.พ.ร สกอ. สถานศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)

  3. กรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทยกรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย • รัฐบาล (ครม.) • กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ • ติดตามการปฏิบัติ • จัดสรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ • ก.พ.ร • จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ • ติดตามประเมินผลด้านประสิทธิผล คุณภาพการให้บริการ ประสิทธิภาพ และการพัฒนาองค์กร • เสนอผลการประเมิน และสิ่งจูงใจต่อ ครม. สกศ. ต้นสังกัด สมศ. สกอ. สถานศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)

  4. กรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทยกรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย • รัฐบาล (ครม.) • กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ • ติดตามการปฏิบัติ • จัดสรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ • ต้นสังกัด • ร่วมจัดระบบประกันคุณภาพภายใน (IQA) รองรับการประเมินภายนอก(EQA) • รับข้อเสนอจาก สมศ. เพื่อปรับปรุงสถานศึกษาตามกำหนด สกศ. สมศ. ก.พ.ร สกอ. สถานศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพโดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)

  5. กรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทยกรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย • รัฐบาล (ครม.) • กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ • ติดตามการปฏิบัติ • จัดสรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ • สกอ. • ส่งเสริม/สนับสนุนการอุดมศึกษา • กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน และเกณฑ์การปฏิบัติ • ร่วมจัดระบบประกันคุณภาพภายใน(IQA)รองรับการประเมินภายนอก(EQA) • รับข้อเสนอจาก สมศ. เพื่อปรับปรุงสถานศึกษา สกศ. ต้นสังกัด สมศ. ก.พ.ร สถานศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่ง ของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)

  6. มาตรฐานและเกณฑ์การปฏิบัติด้านการอุดมศึกษามาตรฐานและเกณฑ์การปฏิบัติด้านการอุดมศึกษา • มาตรฐานการอุดมศึกษา(พ.ศ.2549) • มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา(พ.ศ.2551) • เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร(พ.ศ.2548) กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ และแนวปฏิบัติต่างๆที่เกี่ยวข้อง อาทิ แนวปฏิบัติการบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร แนวปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การขอเปิดหลักสูตรในระบบการศึกษาทางไกล แนวปฏิบัติในการนำเสนอหลักสูตรต่อ สกอ. เป็นต้น • มาตรฐานกิจการนักศึกษา (พ.ศ.2541) • ฯลฯ

  7. มาตรฐานการอุดมศึกษา • มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต • มาตรฐานด้านการบริหารจัดการการอุดมศึกษา ก) มาตรฐานด้านธรรมาภิบาล ข) มาตรฐานด้านพันธกิจ • มาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้ และสังคมแห่งการเรียนรู้

  8. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษามาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา • มาตรฐานด้านศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษา ประกอบด้วยมาตรฐานย่อย 4 ด้าน คือ ด้านกายภาพ ด้านวิชาการ ด้านการเงิน และด้านการบริหารจัดการ • มาตรฐานด้านการดำเนินงานตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา ประกอบด้วยมาตรฐานย่อย 4 ด้าน คือ ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย ด้านการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

  9. เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร • ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร • ระบบการจัดการศึกษา การคิดหน่วยกิต และระยะเวลาศึกษา • โครงสร้างหลักสูตร • จำนวน และคุณวุฒิอาจารย์ • คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา • การลงทะเบียน เกณฑ์การวัดผลและสำเร็จการศึกษา • การประกันคุณภาพและการพัฒนาหลักสูตร

  10. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (ร่าง) มาตรฐานผลการเรียนรู้ของคุณวุฒิของประเทศ (ระดับอนุปริญญา/ ตรี/ประกาศนียบัตรบัณฑิต/โท/ ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง/ เอก) • ด้านคุณธรรมจริยธรรม • ด้านความรู้ • ด้านทักษะทางปัญญา • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

  11. มาตรฐานคุณวุฒระดับปริญญาตรีสาขาวิชาต่างๆ (อยู่ระหว่างร่าง) • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร • พยาบาลศาสตร์ • โลจิสติกส์ • การท่องเที่ยวและการโรงแรม • เทคโนโลยีชีวภาพ • ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ • คอมพิวเตอร์ • เคมี

  12. สาระสำคัญของกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพฯ 1. ให้มีคณะกรรมการกำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติต่างๆ (ค.ป.ภ.) 2. การพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพให้ยึดหลักความมีอิสระ เพื่อให้มีประสิทธิภาพ และสามารถรองรับการประเมินภายนอก 3. หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพให้คำนึงถึงองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน 4. ระบบการประกันคุณภาพภายในถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ บริหารงานตามปกติ และต้องรายงานผลต่อ สกอ. ทุกสิ้นปีการศึกษา

  13. การรองรับระหว่างการประกันคุณภาพของ สกอ.และ สมศ. • ใช้รายงานการประเมิน(SAR)แต่ละปีของ สกอ.เพื่อรับการประเมินของ สมศ. • ระบบข้อมูล และเกณฑ์มาตรฐานเป็นแบบเดียวกันทั้ง สกอ. และสมศ. • สถาบันและต้นสังกัดมีผลการประเมินครบทุกด้านทุกปี ทั้ง Input, Process, Out put/Out come ทำให้ • สามารถนำไปสู่การพัฒนา/ปรับปรุงก่อน สมศ. เข้าประเมิน • สามารถตรวจสอบการบรรลุเป้าหมายและพัฒนาการได้ต่อเนื่องทุกปี และสอดคล้องกับการประเมินของ สมศ.

  14. กรอบกำกับการประกันฯภายในของสกอ.กรอบกำกับการประกันฯภายในของสกอ. • กำหนดตัวบ่งชี้ที่จำเป็นสำหรับประเมินคุณภาพการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาและสามารถรองรับการประเมินภายนอก • กำหนดเกณฑ์ประเมินคุณภาพการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ • กำหนดกรอบวิธีการและขั้นตอนการประเมินคุณภาพภายในสถาบันอุดมศึกษา • กำหนดกรอบเวลาและวิธีการในการส่ง SARให้สกอ.

  15. แนวทางการพัฒนาตัวบ่งชี้ของสกอ.แนวทางการพัฒนาตัวบ่งชี้ของสกอ. 1. สนองเจตนารมณ์ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ กฎกระทรวง มาตรฐานอุดมศึกษา มาตรฐานและเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง 2. สามารถประเมินทุกมิติ คือ Input, Process, Output/Outcome 3. มีความสมดุลระหว่างมุมมองการบริหารจัดการทั้ง 4 ด้าน คือ Student/Stake holder, Internal Process, Financial, Staff/Learning and innovation 4. สามารถแยกตัวบ่งชี้และเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถาบันเป็น 4 กลุ่ม 5. ให้มีความสอดคล้องมากที่สุดกับตัวบ่งชี้ของ สมศ. และ ก.พ.ร

  16. จำนวนตัวบ่งชี้แยกตามองค์ประกอบ 9 ด้าน องค์ 5การบริการวิชาการแก่สังคม ตัวบ่งชี้ 5.1, 5.2, 5.3, 5.4, 5.5 องค์ 6การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ 6.1, 6.2, 6.3 องค์ 7การบริหารจัดการ ตัวบ่งชี้ 7.1, 7.2, 7.3, 7.4, 7.5, 7.6, 7.7, 7.8, 7.9 องค์ 8การเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชี้ 8.1, 8.2 องค์ 9ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ 9.1, 9.2, 9.3 องค์ 1ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ตัวบ่งชี้ 1.1 และ 1.2 องค์ 2การเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 2.5, 2.6, 2.7, 2.8, 2.9, 2.10, 2.11, 2.12, 2.13 องค์ 3กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา ตัวบ่งชี้ 3.1, 3.2 องค์ 4การวิจัย ตัวบ่งชี้ 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 4.5

  17. จำนวนตัวบ่งชี้แยกตามมิติด้านตัวป้อน กระบวนการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ( ) optional

  18. ตัวบ่งชี้แยกตามมาตรฐานการอุดมศึกษาตัวบ่งชี้แยกตามมาตรฐานการอุดมศึกษา

  19. ตัวบ่งชี้แยกตามมุมมองด้านบริหารจัดการตัวบ่งชี้แยกตามมุมมองด้านบริหารจัดการ

  20. สรุปประเภทตัวบ่งชี้ของ สกอ.และความสัมพันธ์กับการประเมิน ของ สมศ. และ ก.พ.ร. ประเภทที่ 1 ตัวบ่งชี้เฉพาะของ สกอ. (11 ตัว) ประเภทที่ 2 ตัวบ่งชี้และเกณฑ์เดียวกันระหว่างสกอ.และสมศ. (14 ตัว)ส่วนก.พ.ร.คิดรอบปีต่างกัน ประเภทที่ 3 ตัวบ่งชี้ที่คล้ายกันแต่สามารถประเมินได้ทั้งตามเกณฑ์สกอ. สมศ.และก.พ.ร. (9 ตัว) ประเภทที่ 4 ตัวบ่งชี้ที่สามารถใช้ข้อมูลพื้นฐานร่วมกันระหว่าง สกอ. สมศ. และ ก.พ.ร. (ที่เหลือทั้งหมด)

  21. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวบ่งชี้สกอ.กับสมศ.และก.พ.ร.ตัวบ่งชี้ประเภทที่ 3 1. มีการปรับคำที่ใช้และเพิ่มเกณฑ์จากสมศ. เช่น นำวุฒิ ป.ตรี / ตำแหน่ง รศ.,ศ. มาร่วมพิจารณา หรือมีการกำหนดเกณฑ์เพิ่มขึ้นสำหรับสถาบันที่มีจุดเน้นต่างกัน หรือมีการปรับเกณฑ์จาก จำนวน เป็น ค่าร้อยละ 2. มีการสลับข้อหรือเพิ่มเติมแก้ไขข้อความจากเกณฑ์ของสมศ. สำหรับตัวบ่งชี้ที่วัดกระบวนการ

  22. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวบ่งชี้สกอ.กับสมศ.และก.พ.ร.ตัวบ่งชี้ประเภทที่ 4 ตัวบ่งชี้เหล่านี้ของสกอ. สามารถใช้ข้อมูลพื้นฐานร่วมกับของสมศ. และส่วนใหญ่ใช้วัดกระบวนการซึ่งในเกณฑ์การวัดกระบวนการได้ระบุให้มีการวิเคราะห์ข้อมูลในเรื่องที่เกี่ยวกับตัวบ่งชี้นั้นๆ ดังนั้นหากทำตามเกณฑ์ จะทำให้สถาบันได้ข้อมูลเชิงตัวเลขที่สามารถนำไปตอบตัวบ่งชี้ของสมศ. และ ก.พ.ร.ได้

  23. ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ตัวชี้วัดที่ 3 ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ตัวบ่งชี้ที่ 1.7 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ตัวชี้วัดที่ 4.1.2 ตัวบ่งชี้ที่ 1.8 ตัวชี้วัดที่ 4.1.5 ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ตัวชี้วัดที่ 22 ตัวบ่งชี้ของสกอ. ตัวชี้วัดของก.พ.ร. (ปีงบประมาณ 2550) ตัวบ่งชี้ของ สมศ.

  24. ตัวบ่งชี้ที่ 6.6 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ตัวชี้วัดที่ 23 ตัวบ่งชี้ที่ 6.7 ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ตัวชี้วัดที่ 16 ตัวบ่งชี้ที่ 6.4 ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ตัวบ่งชี้ที่ 6.5 ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ตัวชี้วัดที่ 8 ตัวบ่งชี้ของ สมศ. ตัวบ่งชี้ของสกอ. ตัวชี้วัดของก.พ.ร. (ปีงบประมาณ 2550)

  25. ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีการกำหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ์ แผนดำเนินงานและมีการกำหนดตัวบ่งชี้เพื่อวัดความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนให้ครบทุกภารกิจ- P1 • คำอธิบายในเกณฑ์มาตรฐาน ระดับ 2 และ ระดับ 3 เช่น ความหมาย “กลยุทธ์” ความหมาย “ตัวบ่งชี้การดำเนินงาน” • เกณฑ์มาตรฐาน ระดับ 4 คือภารกิจ 4 ด้านของสถาบันอุดมศึกษา • เกณฑ์มาตรฐาน ระดับ 6 “อย่างสม่ำเสมอ” หมายถึง มีการดำเนินการในช่วงเวลาที่ควรดำเนินการทุกครั้ง • เกณฑ์มาตรฐาน ระดับ 7 “อย่างต่อเนื่อง” หมายถึง มีการนำผลการประเมินและผลการวิเคราะห์ในเกณฑ์ฯ ระดับ 5 และระดับ 6 มาปรับปรุงแผนการดำเนินงานทุกปี

  26. ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ร้อยละของการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ของการ ปฏิบัติงานที่กำหนด - O1 ตัวบ่งชี้ของการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีที่กำหนดโดยสถาบัน ตามที่ระบุในเกณฑ์มาตรฐานระดับ 3 ของตัวบ่งชี้ที่ 1.1 (ทั้งนี้ อาจซ้ำหรือไม่ซ้ำกับตัวบ่งชี้ ของ สกอ. สมศ. หรือ กพร. ก็ได้)

  27. ตัวบ่งชี้ที่ 2.1มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร – P2  เกณฑ์มาตรฐานระดับ 6 หลักสูตรที่ได้มาตรฐาน หมายถึง หลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 ของ สกอ. และปฏิบัติจริงในรอบปีการศึกษาที่ทำการประเมิน เกณฑ์มาตรฐานระดับ 7 หลักสูตรปริญญาโท แผน ก. นับหลักสูตรที่มีการลงทะเบียนเรียนในรอบปีการศึกษาที่ทำการประเมิน (การนับหลักสูตรทั้งหมด ให้นับหลักสูตรที่ได้รับอนุมัติให้เปิดสอน ทุกระดับปริญญา โดยนับรวมหลักสูตรที่งดรับนักศึกษา แต่ไม่นับรวมหลักสูตรที่สภาฯอนุมัติให้ปิดดำเนินการแล้ว)

  28. ตัวอย่างในการคำนวณ จากการอ่านรายงานประจำปีฯ ของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง พบว่า ในปีการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยมีหลักสูตรที่เปิดสอนทุกระดับทั้งหมด 200 หลักสูตร จำแนกดังนี้ - หลักสูตรระดับอนุปริญญา 2 หลักสูตร - หลักสูตรระดับปริญญาตรี 118 หลักสูตร - หลักสูตรระดับปริญญาโท (แผน ก) 20 หลักสูตร (ใน 20 หลักสูตร มี 1 หลักสูตรที่ไม่มีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนในรอบปีที่ผ่านมา) - หลักสูตรระดับปริญญาโทที่ระบุทั้งแผน ก และ แผน ข จำนวน 40 หลักสูตร ใน 40 หลักสูตรมีนักศึกษาเลือกทำวิทยานิพนธ์ (แผน ก) 31 หลักสูตร - หลักสูตรระดับปริญญาโท (แผน ข) 10 หลักสูตร - หลักสูตรระดับปริญญาเอก 10 หลักสูตร

  29. ดังนั้นร้อยละของจำนวนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจัย (ปริญญาโท เฉพาะแผน (ก) และปริญญาเอกที่เปิดสอนเทียบกับจำนวน หลักสูตรทั้งหมดเป็นดังนี้ ตัวตั้ง หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจัย (ปริญญาโท เฉพาะแผน (ก) และปริญญาเอก) = (20 - 1) + (31) + 10 = 60หลักสูตร ตัวหาร หลักสูตรที่เปิดสอนทั้งหมด = 200 หลักสูตร

  30. ตัวบ่งชี้ที่ 2.2มีกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ -P3 เกณฑ์มาตรฐานระดับ 5 มีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัด ให้ผู้เรียนและอิงพัฒนาการของผู้เรียนทุกหลักสูตร หมายถึง มีวิธีการ ประเมินผลการเรียนของนักศึกษาและการสอนของอาจารย์ที่สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ในรายวิชานั้น โดยมีการวิเคราะห์พัฒนาการของ ผู้เรียนประกอบ

  31. ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 : จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ -I1 ระดับกลุ่มสาขาวิชา ให้ใช้ตามที่กำหนดในตารางหน้า 31 ระดับสถาบันมีการเปลี่ยนแปลงเกณฑ์การประเมิน ให้พิจารณา จากร้อยละของจำนวนคณะหรือหน่วยงานจัดการเรียนการสอนที่ เทียบเท่าที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (คะแนน 3) เกณฑ์การประเมิน

  32. ตัวบ่งชี้ที่ 2.5สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาตรีปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเท่าต่ออาจารย์ประจำ –I2 • -คุณวุฒิอาจารย์ประจำพิจารณาจากระดับคุณวุฒิที่ได้รับหรือเทียบเท่า • ตามหลักเกณฑ์การพิจารณาคุณวุฒิของกระทรวงศึกษาธิการ • -กรณีที่มีการปรับคุณวุฒิการศึกษา ให้มีหลักฐานการสำเร็จการศึกษา • ภายในรอบปีการศึกษานั้น • การนับจำนวนอาจารย์ • 9 – 12 เดือน คิดเป็น 1 คน • 6 เดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง 9 เดือน คิดเป็น 0.5 คน • น้อยกว่า 6 เดือนไม่สามารถนำมานับได้

  33. ตัวอย่างในการคำนวณ ในรอบปีการศึกษา 2551 ( 1 มิย 51– 31 พค 52) มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งมีอาจารย์ที่ทำงานเกิน 9 เดือน 1750 คน โดยมีวุฒิ ป.เอก 1,236 คน วุฒิ ป. โท 504 คนและวุฒิ ป. ตรี 10 คน และมีอาจารย์ใหม่วุฒิ ป. เอก บรรจุเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2551 จำนวน 6 คน นอกจากนั้น มีอาจารย์ลาศึกษาต่อ 150 คน โดยมีวุฒิ ป. โท 71 คนและวุฒิ ป. ตรี 79 คน สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือ เทียบเท่าต่ออาจารย์ประจำของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ณ วันที่ 31 พค 52 เป็นดังนี้

  34. สูตรการคำนวณ อาจารย์ประจำทั้งหมดวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า x 100 อาจารย์ประจำรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ 1,239 1,903 X 100 = 65.11 % อาจารย์ประจำทั้งหมดวุฒิปริญญาตรีหรือเทียบเท่า x 100 อาจารย์ประจำรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ 89 1,903 X 100 = 4.68 %

  35. ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 : สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ –I3 กรณีสถาบันการศึกษาที่ไม่อยู่ในสังกัดของกระทรวงศึกษาธิการ และไม่มีระบบตำแหน่งวิชาการ ไม่ต้องประเมินตัวบ่งชี้นี้

  36. ตัวบ่งชี้ที่ 2.7มีกระบวนการส่งเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย์ –P5 ให้พิจารณาตามกรอบจรรยาบรรณอาจารย์ ที่ สกอ. กำหนดเป็นอย่างน้อย เกณฑ์มาตรฐานระดับ 5หมายถึง มีการวิเคราะห์และสรุปปัจจัยเสี่ยง จัดทำแผนป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดการทำผิดจรรยาบรรณและดำเนินการตามแผนที่กำหนด

  37. ตัวบ่งชี้ที่ 2.9 : ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำและการประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี -O2 การเกณฑ์ทหาร ศึกษาต่อ และอุปสมบท ไม่นับว่ามีงานทำจึงไม่นำมาพิจารณาเช่นเดียวกับผู้มีงานประจำทำอยู่แล้วก่อนเข้าศึกษาและทำงานนั้นต่อเนื่องก็ไม่นำมาพิจารณา นอกจากนั้นให้นับจากผู้ที่ตอบแบบสอบถามเท่านั้น ไม่นับรวมจำนวนบัณฑิตที่ไม่ตอบแบบสอบถาม

  38. ตัวบ่งชี้ที่ 2.10ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้รับเงินเดือนเริ่มต้นเป็นไปตามเกณฑ์ –O3 เงินเดือนหมายถึง เงินเดือนหรือรายรับหรือรายได้ที่ได้รับเป็นประจำทุกเดือน

  39. ตัวบ่งชี้ที่ 2.12ร้อยละของนักศึกษาปัจจุบันและศิษย์เก่าที่สำเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมาที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณยกย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และด้านสิ่งแวดล้อมในระดับชาติหรือนานาชาติ – I3 1. นับซ้ำได้ หากได้รับรางวัลหรือประกาศเกียรติคุณหลายครั้ง 2. ถ้าได้รับรางวัลเป็นศิษย์เก่าหลายสถาบัน สถาบันเหล่านั้น ต่างก็สามารถนับรางวัลนั้นได้

  40. ตัวบ่งชี้ที่ 2.13 : ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่ทำหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ –I4 (เฉพาะสถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตและวิจัย) ถ้าอาจารย์ประจำหลักสูตรบัณฑิตศึกษาอยู่ในสาขาหนึ่ง แล้วไปเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ให้กับอีกสาขาหนึ่งทั้งในระดับคณะและภาพรวมของสถาบัน สามารถนำมานับให้ได้ แต่จะไม่นับหากเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรของสถาบันหนึ่ง และไปเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ให้อีกสถาบันหนึ่ง

  41. ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 มีการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถ้วนและสอดคล้องกับ คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ –P8 เกณฑ์มาตรฐานระดับ 2 ความหมายของกิจกรรมกีฬาและการส่งเสริมสุขภาพ และความหมายของกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม เป็นดังนี้ กิจกรรมกีฬาและการส่งเสริมสุขภาพ หมายถึง การจัดกลุ่มกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมกีฬาหรือกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม หมายถึงการจัดกลุ่มกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์หรือกิจกรรมรักษาสิ่งแวดล้อมจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน เกณฑ์มาตรฐานระดับ 4 “....ต่อเนื่อง” หมายถึง นำผลการประเมินไปพิจารณาเพื่อปรับปรุงการจัดกิจกรรมทุกครั้งหลังการประเมิน

  42. ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการ ผลิตงานวิจัยและงานสร้างสรรค์-P9 เกณฑ์มาตรฐานระดับ 6อธิบายคำว่า ”และ”ดังนี้ “มีระบบและกลไกส่งเสริมความร่วมมือระหว่างนักวิจัยกับ องค์กรภายนอกไม่ว่าจะเป็นภาครัฐหรือเอกชน หรือ อุตสาหกรรม อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้”

  43. ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ -I5 การรายงานจำนวนเงินให้เลือกตามความสะดวกจะใช้ปีงบประมาณ ปีการศึกษา หรือปีปฏิทิน แต่ต้องเป็นระบบเดียวกันทุกปีที่ประเมิน โดย • นับวงเงินที่มีการเซ็นสัญญารับทุนในปีนั้น ๆ ไม่ใช่วงเงินที่เบิกจ่ายจริง • กรณีมีผู้วิจัยจากหลายคณะ หรือหลายสถาบัน ให้แบ่งสัดส่วนตามที่คณะหรือสถาบันตกลงกัน • สำหรับการนับจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยนับตามปีการศึกษา

  44. ตัวบ่งชี้ที่ 4.4 ร้อยละของงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา หรือนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติต่อจำนวนอาจารย์ประจำ -O6 • การนำผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ไปใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนไม่นับเป็นการนำไปใช้ประโยชน์ระดับชาติ • การนับบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ให้นับเฉพาะบทความจากการวิจัยและนำไปตีพิมพ์เผยแพร่เท่านั้น ไม่นับบทความทางวิชาการอื่นๆ • งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ต้องเป็นงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติเท่านั้น

  45. ตัวบ่งชี้ที่ 4.4 (ต่อ) • การรายงานจำนวนงานวิจัยฯที่ตีพิมพ์ฯให้เลือกตามความสะดวก จะใช้ตามปีงบประมาณ ปีการศึกษา หรือปีปฏิทิน แต่ต้องเป็นระบบเดียวกันทุกปีที่ประเมิน • จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยใช้ตามปีการศึกษา

  46. ตัวบ่งชี้ที่ 4.5ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ –O7 บทความที่ได้รับการอ้างอิง (Citation)หมายถึง บทความที่ถูกอ้างอิงโดยงานวิจัยของผู้อื่น บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง หากมีการอ้างอิงทุกปีให้นับเป็นผลงานอ้างอิงได้ทุกปี หากบทความดังกล่าวได้รับการอ้างอิงหลายครั้งในปีนั้น ๆ ให้นับได้เพียงครั้งเดียวในปีนั้น การรายงานจำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงให้เลือกตามความสะดวกจะใช้ปีงบประมาณ ปีการศึกษา หรือปีปฏิทิน แต่ต้องเป็นระบบเดียวกันทุกปีที่ประเมิน สำหรับจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยใช้ตามปีการศึกษา

  47. ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีส่วนร่วมในการให้บริการทางวิชาการแก่สังคมเป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบันเป็นกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ -I6 • ต้องเป็นการให้บริการแก่สังคมภายนอกสถาบัน โดยอาจจัดภายในหรือนอกสถาบันก็ได้ • ให้นับเฉพาะการเป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ การเป็นวิทยากรที่อยู่ในแผนของสถาบัน และการเป็นกรรมการวิชาการ วิชาชีพ เป็นที่ปรึกษาในหน่วยงานระดับชาติ ทั้งภาครัฐและเอกชน

  48. ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 ร้อยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคมชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ -O8 การนับจำนวนกิจกรรมหรือโครงการบริการทางวิชาการและวิชาชีพ ให้นับเฉพาะโครงการ หรือในกรณีที่โครงการได้ระบุกิจกรรมไว้ชัดเจนให้นับกิจกรรมแทนโครงการได้ แต่ทั้งนี้ทุกกิจกรรมต้องมีวัตถุประสงค์ งบประมาณ ระยะเวลา กลุ่มผู้รับเข้าบริการและผลการประเมินกิจกรรม และสามารถนับซ้ำได้ ถ้าเป็นโครงการหรือกิจกรรมที่ดำเนินการกับกลุ่มคนที่แตกต่างกัน

  49. ตัวบ่งชี้ที่ 5.4ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ-O9 อาจนำผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของสถาบันอุดมศึกษา โดยสำนักงาน ก.พ.ร. มาใช้ในตัวบ่งชี้นี้สำหรับสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ส่วนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนหรือหน่วยงานที่ไม่มีผลการสำรวจของ ก.พ.ร.ให้ใช้ผลสำรวจของสถาบันหรือหน่วยงานนั้น สำหรับการคำนวณตามเกณฑ์การประเมินในกรณีที่ไม่มีผลสำรวจ ของ ก.พ.ร. ให้นำผลการสำรวจความพึงพอใจเป็นรายโครงการ/กิจกรรม มาคำนวณเป็นภาพรวมโดยใช้สมการ

  50. ความพึงพอใจ = ค่าเฉลี่ยโครงการ/กิจกรรมที่ i (คะแนนเต็ม 5) จำนวนคนที่ตอบแบบสอบถามของโครงการ/กิจกรรมที่ i i = 1 ถึง p p = จำนวนโครงการ/กิจกรรมทั้งหมด

More Related