1 / 61

การประยุกต์การสอน IS ในโรงเรียนมาตรฐานสากล กับขั้นตอนการสอนด้วยบันได 5 ขั้น (QSCCS)

การประยุกต์การสอน IS ในโรงเรียนมาตรฐานสากล กับขั้นตอนการสอนด้วยบันได 5 ขั้น (QSCCS). By… Pakamas Bunphueak Ph.D. ความเชื่อ. การพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ที่จะ เกิดขึ้น เพื่อ ปรับตนเองในปัจจุบัน ให้พร้อมรับกับสิ่งที่จะตามมาในอนาคต.

alexa
Télécharger la présentation

การประยุกต์การสอน IS ในโรงเรียนมาตรฐานสากล กับขั้นตอนการสอนด้วยบันได 5 ขั้น (QSCCS)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประยุกต์การสอน IS ในโรงเรียนมาตรฐานสากลกับขั้นตอนการสอนด้วยบันได 5 ขั้น (QSCCS) By…PakamasBunphueakPh.D

  2. ความเชื่อ การพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นเพื่อปรับตนเองในปัจจุบัน ให้พร้อมรับกับสิ่งที่จะตามมาในอนาคต 1. มนุษย์มีรูปแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน ผู้สอนจึงต้องใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย 2. ผู้เรียนควรเป็นผู้กำหนดองค์ความรู้ของตนเอง ไม่ใช่นำความรู้ไปใส่สมองผู้เรียน แล้วให้ผู้เรียนดำเนินรอยตามผู้สอน 3. โลกยุคใหม่ต้องการผู้เรียนซึ่งมีวินัย มีพฤติกรรมที่รู้จักยืดหยุ่น หรือปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 4. เนื่องจากข้อมูลข่าวสารในโลกจะทวีเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ทุกๆ 10 ปี โรงเรียนจึงต้องใช้วิธีสอนที่หลากหลาย โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ กัน 5. ให้ใช้กฎเหล็กของการศึกษาที่ว่า “ระบบที่เข้มงวดจะผลิตคนที่เข้มงวด” และ “ระบบที่ยืดหยุ่นก็จะผลิตคนที่รู้จักการยืดหยุ่น”

  3. การพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นเพื่อปรับตนเองในปัจจุบัน ให้พร้อมรับกับสิ่งที่จะตามมาในอนาคต ความเชื่อ 6. สังคม หรือชุมชนที่มั่งคั่ง ร่ำรวยด้วยข้อมูลข่าวสาร ทำให้การเรียนรู้สามารถเกิดขึ้นได้ในหลายๆ สถานที่ 7. การเรียนรู้แบบเจาะลึก (deep learning) มีความจำเป็นมากกว่าการเรียนรู้แบบผิวเผิน 8.การสอนที่จัดว่ามีประสิทธิภาพ ต้องการครูที่มีคุณสมบัติมากกว่าการเป็นผู้ทำหน้าที่สอน 9. การศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียน (schooling) กับ การศึกษา (education) อาจไม่ใช่เรื่องเดียวกัน 10. โลกอนาคตจะให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาที่บ้าน (Home – based education) มากขึ้น

  4. 1. ผู้เรียนเป็นผู้จัดการเรื่องการเรียนรู้ของตนเอง 2. การเรียนรู้จะใช้ระบบเครือข่าย 7. ระบบการประเมินจะหลากหลายมากขึ้น 3. หลักสูตรจะถูกจัดแยกเป็นประเภท(catalogue curriculum) (full time/รร./บ้าน) (flexi– time schooling plan) การจัดการศึกษาในอนาคต 6. ครูมีบทบาทในฐานะเป็น C&M 4. มีแผนการเรียนรู้เป็นรายบุคคล (personal learning plan) 5. การเรียนรู้จากคอมพิวเตอร์จะเข้ามามีบทบาทมาก

  5. (21st Century Learning)

  6. L N R ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ สาระวิชาหลัก • ภาษาแม่ และภาษาโลก • ศิลปะ • วิทยาศาสตร์ • ภูมิศาสตร์ • ประวัติศาสตร์ • คณิตศาสตร์ • เศรษฐศาสตร์ • รัฐ และความเป็นพลเมืองดี

  7. Them สำหรับศตวรรษที่ 21 • ความรู้เกี่ยวกับโลก • ความรู้ด้านการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ • ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองดี • ความรู้ด้านสุขภาพ • ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม • ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม • การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา • การสื่อสารและการร่วมมือ

  8. ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี • ความรู้ด้านสารสนเทศ • ความรู้เกี่ยวกับสื่อ • ความรู้ด้านเทคโนโลยี • ทักษะชีวิตและอาชีพ • ความยืดหยุ่นและปรับตัว • การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง • ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม • การเป็นผู้สร้างหรือผลิต (productivity) และความรับผิดรับชอบเชื่อถือได้ (accountability) • ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (responsibility)

  9. สถานศึกษาแห่งศตวรรษที่ 21

  10. ลองเปรียบเทียบคุณลักษณะของนักเรียนในยุคศตวรรษที่ 21

  11. ครูเพื่อศิษย์ต้องฝึกฝนตนเองให้มีทักษะในการเป็นผู้สอนงาน (Coaching)และเป็นพี่เลี้ยง(Mentoring) หรือ“คุณอำนวย” (facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL (Project-Based Learning)ของศิษย์ ครูต้องเลิกเป็น “ผู้สอน” ผันตัวเองมาเป็นโค้ช หรือ พี่เลี้ยง ของการเรียนของศิษย์ที่ส่วนใหญ่เรียนแบบ PBL

  12. การสอนงาน : Coaching

  13. Coach Coachee Are you Ready มีสถานที่เหมาะสม มีเวลาพอเหมาะกับเรื่องที่จะสอน มีข้อมูล (เนื้อหา,เกณฑ์การประเมิน,ข้อมูล นร.) มีอารมณ์ (ดี) มีสุขภาพดี

  14. พี่เลี้ยง : Mentoring

  15. เจ๊ดัน

  16. Coaching Or Mentoring • ช่วงระยะเวลาสั้น ๆ • กำหนดเป้าหมายเล็กๆ • เรียนรู้ร่วมกัน • ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญ • ให้ทางเลือก / คำแนะนำ • ความสัมพันธ์ระยะยาว • มีเป้าหมายใหญ่ • ระบบพี่ใหญ่ ดูแลน้องเล็ก • เป็นผู้เชี่ยวชาญมีประสบการณ์ • ให้ความรู้ช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง

  17. เครื่องมือที่ใช้ในการ Coaching & Mentoring - การให้ข้อมูลป้อนกลับ- การถามคำถามปลายเปิด- การท้าทายให้ทำงาน- การรับฟัง - การบอก- การสอน- การแนะนำ ครูมีการหนุนนำอย่างต่อเนื่อง ทั้ง C&M มุ่งให้เกิด การเปลี่ยนแปลง ดูคลิป Derek

  18. S : Serve C : Construct C : Communicate Q : Question S : Search ศักยภาพทักษะผู้เรียนยุคใหม่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development) Coachingการสอนงาน Mentoringการเป็นพี่เลี้ยง Counselingการให้คำปรึกษา

  19. ครูเป็นพี่เลี้ยงMentor สูงกว่ามาตรฐาน ครูเป็นผู้สอนงานCoach ผลงานนักเรียน ตรงตามมาตรฐาน ต่ำกว่ามาตรฐาน ครูเป็นผู้ให้คำปรึกษาCounselor

  20. คุณครูลงมือปฏิบัติด้วยความสุข ด้วยการ (C&M) Coaching& Mentoring โดยใช้ขั้นตอนการสอน 5 ขั้น QSCCS เพื่อดูความสามารถนักเรียน (LNR) Literacy Numeracy Reasoning

  21. กระบวนการการเรียนรู้ตามบันได 5 ขั้น C&M 33 5. บริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) L N R 4. สื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 3.การสรุปองค์ความรู้ (KnowledgeFormation) 2. สืบค้นความรู้ (Searching for Information) 1. ตั้งคำถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis Formulation)

  22. เรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม (Learning to Serve) S เรียนรู้เพื่อการสื่อสาร(Learning to Communicate) C เรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ (Learning to Construct) C S เรียนรู้การแสวงหาสารสนเทศ (Learning to Search) Q เรียนรู้การตั้งคำถาม (Learning to Question)

  23. การจัดการเรียนรู้ตามบันได 5 ขั้น ผู้สอนสามารถจัดได้ในทุกกลุ่มสาระฯ ตามบันได 5 ขั้น เช่น เป้าหมายคุณภาพผู้เรียน L N R

  24. เรียนรู้การตั้งคำถาม Q : Learning to Question

  25. เรียนรู้การตั้งคำถาม Q : Learning to Question ใช้เทคนิค 5 w 1 HWho ใคร (ในเรื่องนั้นมีใครบ้าง)What ทำอะไร (แต่ละคนทำอะไรบ้าง)Where ที่ไหน (เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทำนั้นอยู่ที่ไหน)When เมื่อไหร่ (เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทำนั้นทำเมื่อวัน เดือน ปี ใด)Why ทำไม (เหตุใดจึงได้ทำสิ่งนั้น หรือเกิดเหตุการณ์นั้นๆ)How อย่างไร (เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทำนั้นทำเป็นอย่างไรบ้าง)

  26. เรียนรู้การตั้งคำถาม Q : Learning to Question

  27. เรียนรู้การตั้งคำถาม Q : Learning to Question 5W1H ในหลักของวิชา IS คือ ===================== What=สร้างขึ้นจากอะไร Where=เอาข้อมูลมาจากแหล่งไหน (www) When=up date เมื่อไหร่ Why=สร้างขึ้นมาทำไม Who=ใครเป็นผู้สร้าง How=เชื่อถือได้หรือไม่

  28. เรียนรู้การแสวงหาสารสนเทศ S : Learning to Search องค์กรที่จัดให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้โดยตรง แหล่งอื่นที่ไม่ได้บริการโดยตรง แหล่งสืบค้นOnline ห้องสมุด , พิพิธภัณฑ์ หอจดหมายเหตุ , และหอศิลป์ บุคคล สถานที่ เหตุการณ์ อินเตอร์เน็ต

  29. เรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ (C: Learning to Construct) แหล่งกำเนิดขององค์ความรู้ - ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดจากบุคคลอื่น - ความรู้เกิดจากประสบการณ์การทำงาน - ความรู้ที่ได้จากการวิจัยทดลอง - ความรู้จากการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ - ความรู้ที่มีปรากฏอยู่ในแหล่งความรู้ภายนอกโรงเรียนและนักเรียนได้นำมาใช้

  30. เรียนรู้เพื่อการสื่อสาร (C : Learning to Communicate) 1. การนำเสนอข้อมูลโดยรายงานวิจัย /บทความ (Text Presentation) 2. การนำเสนอโดยตาราง ( Tabular Presentation ) 3.การนำเสนอด้วยกราฟหรือแผนภูมิ ( Graphical Presentation ) 4. การนำเสนอด้วยวาจา 5. การนำเสนอคลังความรู้ KM ในเว็บไซต์

  31. เรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม (S : Learning to Serve) ทำเป็นนิทรรศการ/โครงงาน ฯลฯ

  32. เรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม (S : Learning to Serve) ทำเป็นแผ่นพับประชาสัมพันธ์

  33. เรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม (S : Learning to Serve) นำเสนอผ่านสื่อ Online /Socialmedia

  34. ผลที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนL : Literacy (ทักษะการรู้หนังสือ อ่านออก เขียนได้) N : Numeracy (ทักษะพื้นฐานด้านการคิดคำนวณ)R : Reasoning (ทักษะการใช้เหตุผล)

  35. การประยุกต์ใช้

More Related