1 / 82

ภาวะแทรกซ้อน ที่เกิดจากการถอนฟัน

ภาวะแทรกซ้อน ที่เกิดจากการถอนฟัน. แบ่งได้เป็น 3 ตอน คือ. 1. Anesthetic Complications 2. Operative Complications 3. post - Operative Complications. Toxicity ของยาชา. อาการที่เกิดขึ้นเป็นผลจากการใช้ยาชาในขนาดสูง . Toxicity ของยาชา. สาเหตุ. แทงเข็มฉีดยาเข้าเส้นเลือดโดยบังเอิญ

alina
Télécharger la présentation

ภาวะแทรกซ้อน ที่เกิดจากการถอนฟัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาวะแทรกซ้อน ที่เกิดจากการถอนฟัน

  2. แบ่งได้เป็น 3 ตอน คือ • 1. Anesthetic Complications • 2.Operative Complications • 3. post - Operative Complications

  3. Toxicity ของยาชา อาการที่เกิดขึ้นเป็นผลจากการใช้ยาชาในขนาดสูง

  4. Toxicity ของยาชา สาเหตุ แทงเข็มฉีดยาเข้าเส้นเลือดโดยบังเอิญ ใช้ยาชาในปริมาณที่มากเกินไป หรือใช้ยาชาที่มีความเข้มข้นสูงมาก ฉีดยาชาเข้าไปในบริเวณที่เลือดมาเลี้ยงมาก และเร็วเกินไป

  5. Toxicity ของยาชา Inhibitory impulse จะถูกกดก่อน ทำให้ facilitory เด่น เมื่อความเข้มข้นของยาชาในกระแสโลหิตเพิ่มมากขึ้น จะกด facilitory ทำให้เกิด generalized CNS depression

  6. การรักษา รักษาตามอาการที่ปรากฎ

  7. Toxicity จาก vasoconstrictor ผิวหนังซีด ชีพจรเต้นเร็วและคลำยาก ใจสั่น หายใจลำบาก

  8. สรุป การป้องกัน Toxicity Aspirate ยา ก่อนฉีดทุกครั้งเพื่อป้องกันการฉีดเข้าเส้นเลือด ฉีดยาชาช้าๆ ใช้ยาชาที่มี vasoconstrictor ผสมอยู่ด้วย

  9. Allergy Skin rash Urticaria angioedema

  10. Allergy การรักษา Antihistamine Adrenaline

  11. Anaphylaxis sign & symptom Smooth muscle spasm of GI Cardiovascular collapse

  12. sign &symptom Skin rash Smooth muscle spasm of Genitourinary tract Smooth muscle spasm of respiratory tract

  13. การรักษา รีบให้ epinephrine ให้ oxygen ตามด้วย Corticosteroid IM or IV Antihistamine

  14. Fainting เกิด vasodilatation เลือดไปคั่งอยู่ตาม phriphery ความดันโลหิตลดลง เลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ

  15. อาการของ syncope หมดแรง หน้าซีด เหงื่อออก มือเท้าเย็น ชีพจรอ่อน การหายใจช้าลง ความดันโลหิตลดต่ำลง

  16. จัดผู้ป่วยนอนราบ ขายกสูงเล็กน้อย เพื่อเพิ่ม venous return อาจให้ดมแอมโมเนีย การรักษา

  17. Pain แทงเข็มเข้าไปในกล้ามเนื้อ ยาชาที่แช่ alcohol ยาชาที่ไม่เป็น isotonic

  18. Hematoma เกิดจากแทงเข็มถูกเส้นเลือด ทำให้เลือดซึมกระจายเข้าเนื้อเยื่อ เห็นเป็นสีแดงช้ำ

  19. Hematoma อาจเกิดขณะทำ posterior superior alveolar nerve block ให้ใช้ผ้าก๊อซกด เข้าไปด้านในและขึ้นบน กดไว้สัก 5นาที

  20. Trismus อาการอ้าปากไม่ขึ้น เนื่องจากการหดเกร็ง ของ masticatory muscle ทำให้อ้าปากได้น้อยลง

  21. พบได้หลังจากฉีดยาชาเพื่อทำพบได้หลังจากฉีดยาชาเพื่อทำ inferior alveolar nerve block posterior superior alveolar nerve block

  22. Trismus แทงเข็มฉีดยาเข้าไปในกล้ามเนื้อ เกิดการติดเชื้อ Hemorrhage

  23. การรักษา ใช้น้ำอุ่นประคบบ่อยๆ อมน้ำเกลือร้อนบ่อยๆ หากมีการติดเชื้อให้ antibiotic

  24. Broken needle อาจพบได้ขณะทำ inferior alveolar nerve block

  25. สาเหตุ มีได้หลายสาเหตุเช่น ดันเข็มชนกระดูก หรือใต้เยื่อหุ้มกระดูก ใช้เข้มขนาดเล็กเกินไป หรือใช้เข็มทื่อ

  26. Prolong anesthesia แทงเข็มถูกเส้นประสาท เกิดการระคายเคืองเส้นประสาท จากการแช่ alcohol

  27. Sloughing of tissue การใช้ยาชาพ่น ทา หรือฉีด อาจทำให้เกิดเหงือกหรือเนื้อเยื้อที่สัมผัสกับยาชาเกิดการเปลี่ยนแปลง เป็น 2 แบบ คือ epithelial desquamation Sterile abscess

  28. การรักษา รักษาตามอาการ เช่น ถ้าปวดให้ยาแก้ปวดหรืออาจทา Ointment พวก steroid เพื่อลดการระคายเคือง

  29. Temporary facial paralysis เป็นการ paralyse ของ muscle of facial expression

  30. Tempory facial paralysis สาเหตุ แทงเข็มลึกมากเกินไปทำให้ปลายเข็มอยู่ใกล้กับ deep part ของ parotid gland ซึ่งส่วนนี้มี facial nerve ฝังอยู่

  31. การรักษา ไม่ต้องรักษา อาการต่างๆ จะหายไปเองเมื่อหมดฤทธิ์ยาชา ภายใน 2-3 ชั่วโมง

  32. Visual Complication การมองเห็นภาพซ้อน อาจเกิดจากการทำ posterior superior alveolar nerve block หรือ Maxillary nerve block

  33. Visual Complications ทำให้เกิดการ paralysis ของ extrinsic ocular muscle ทำให้เกิด diplopia

  34. Visual Complications เกิดการมองเห็นภาพซ้อน แต่จะหายไปเองได้ ภายใน 3 ชั่วโมง

  35. Operative Complications

  36. Fracture of roots, tooth รากหัก หรือตัวฟันแตก มักเกิดกับฟันที่ถอนยากๆ ต้องใช้เครื่องมือที่เหมาะสมแคะออกมา

  37. Dislocation of adjacent teeth ฟันข้างเคียงโยก เกิดจากการใช้คีมถอนฟันหรือ elevator ผิดวิธี

  38. Alveolar bone fracture เกิดกับฟันที่ถอนยาก หรือรากกาง หากกระดูกที่แตกมีขนาดใหญ่และยังติดกับเยื่อหุ้มกระดูกให้จัดกระดูกให้เข้าที่ เย็บเหงือกที่ปากเบ้าฟัน เพื่อช่วยยึดกระดูกที่แตก

  39. Fracture of maxillary tuberosity มักเกิดกับ upper third molar ที่มี ankylosis

  40. การรักษา Replace tuberosity ที่หักเข้าที่เดิม หากมีขนาดใหญ่มากให้ splint ด้วย sutures สัก 3-4 อาทิตย์ แล้วจึงวางแผนผ่าหลังจากกระดูกติดดีแล้ว

  41. Fracture of mandible ฟันคุดที่ฝังลึกอยู่ใน edentulous atropic mandible Osteolytic pathology Brittle bone

  42. การรักษา จัดส่วนขากรรไกรที่หักให้เข้าที่และทำ intermaxillary fixation ไว้ 3-4 อาทิตย์

  43. Dislocation of mandible เกิดขณะถอนฟัน จากการที่ออกแรงถอนฟันล่าง มากเกินไป โดย support mandible ไม่เพียงพอ

  44. การรักษา ดันให้กลับเข้าที่เดิม โดยใช้นิ้วหัวแม่มือทั้ง 2 ข้าง กดบริเวณฟัน molar ทั้ง 2ด้าน นิ้วที่เหลือจับขอบล่างของ mandible ไว้ ออกแรงกดลงตรงนิ้วหัวแม่มือ ขณะเดียวกันกระดกนิ้วที่จับตรงขอบ mandible ขึ้น พร้อมกับดัน mandible ไปข้างหลัง หัว Condyle จะกลับเข้า glenoid fossa ได้

  45. Injury to nerves มีได้หลายสาเหตุดังนี้ รากฟันอยู่ใกล้เส้นประสาท อาจไปกด inferior alveolar nerve ขณะงัดฟันออกมา รากหักและถูกดันเข้าไปใน inferior alveolar canal ขณะแคะ

  46. การรักษา Nerve injury มักจะหายได้เอง โดยอาการชาจะดีขึ้นเรื่อยๆ

  47. Maxillary sinus ทะลุ รากฟัน premolar หรือ molar หัก และถูกดันเข้าไปใน max. sinus Floor ของ max. sinus แตก หลุดติดกับรากฟันออกมาขณะถอน

  48. การรักษา ถ้ารูทะลุเล็กมาก ไม่ต้องทำอะไร แนะนำคนไข้ไม่ให้สั่งน้ำมูก 7-10 วัน หากรูทะลุมีขนาดใหญ่ ให้ทำ flap ปิดเบ้าฟันให้สนิท

  49. Broken instruments เครื่องมือหักคา เครื่องมือที่ปลายเล็กๆ เช่น explorer ที่ใช้แคะราก หรือ root tip pick

  50. การรักษา หากเห็นส่วนที่หักคาชัดเจนให้เอาออกทันที หากอยู่ลึกในเนื้อเยื่อ ให้ x-ray หาตำแหน่งเครื่องมือที่หักแล้วเอาออก

More Related