1 / 18

การเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ชันสูตรสาธารณสุข ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 อุดรธานี

การเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ชันสูตรสาธารณสุข ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 อุดรธานี. โรคหัด โรคมือ เท้า ปาก . โดย ภัทรพร เชยประทุม นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ. - แนวทางการเก็บและนำส่งตัวอย่าง - แบบฟอร์มการส่งตัวอย่าง. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัย โรคหัด ( Measle virus ).

alina
Télécharger la présentation

การเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ชันสูตรสาธารณสุข ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 อุดรธานี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการการเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ชันสูตรสาธารณสุข ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 อุดรธานี • โรคหัด • โรคมือ เท้า ปาก โดย ภัทรพร เชยประทุม นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ - แนวทางการเก็บและนำส่งตัวอย่าง - แบบฟอร์มการส่งตัวอย่าง

  2. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยการเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัย โรคหัด(Measle virus)

  3. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรคหัด(Measle virus) 1. การตรวจยืนยันการติดเชื้อไวรัสหัด โดยวิธี ELISA IgM ** Serum**เจาะเลือดเพียงครั้งเดียว ช่วง 4-30 วัน หลังพบผื่น เจาะเลือด จากหลอดเลือดดำประมาณ 3-5 มล. ใส่หลอดไร้เชื้อ(ไม่มีสารกันเลือดแข็ง) ตั้งไว้ที่อุณหภูมิห้องรอจนเลือดแข็งตัว (หากมีเครื่องปั่นให้ปั่นแยก Serum) ดูดเฉพาะ Serum 1-2 มล. เก็บใส่หลอดไร้เชื้อ ปิดจุกให้สนิท ปิดฉลากชื่อ-นามสกุล และวัน-เดือน-ปี ที่เก็บ Serum

  4. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรคหัด(Measle virus) 1. กรอกประวัติในใบนำส่งตัวอย่างให้ชัดเจน 2. มีแบบสอบสวนโรคของโครงการกำจัดโรคหัด 3. ทีมสอบสวนโรคบันทึกข้อมูลผู้ป่วยลงในฐานข้อมูลกำจัดโรคหัด ที่ www.boe.moph.go.th ** ไม่มีค่าใช้จ่ายในการตรวจวิเคราะห์**

  5. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรคหัด(Measle virus) การนำส่งตัวอย่างแช่ในกระติกน้ำแข็ง รีบนำส่งห้องปฏิบัติการทันที หากไม่สามารถนำส่งห้องปฏิบัติการได้ทันที ควรเก็บรักษา Serum ไว้ที่ 2-8°ซ ไม่ควรเก็บไว้นานเกิน 3 วัน กรณีที่จำเป็นต้องเก็บนานเกินกว่า 3 วัน ให้เก็บไว้ที่ช่องแช่แข็ง (-20 °ซ)

  6. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรคหัด(Measle virus) ติดต่อประสานงานการส่งตัวอย่างก่อนส่งตรวจ ส่งตรวจวิเคราะห์ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 การรายงานผล ระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจวิเคราะห์ 48 ชั่วโมง รายงานผลลงในฐานข้อมูลกำจัดโรคหัด ที่ www.boe.moph.go.th

  7. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรคหัด(Measle virus) ชนิดตัวอย่างที่ไม่เหมาะสม- ตัวอย่างที่มีปริมาณน้อยกว่าที่กำหนด - ตัวอย่างไม่แช่เย็นหลังการเก็บตัวอย่างและระหว่างการนำส่ง - ตัวอย่างปิดฝาไม่สนิททำให้มีการปนเปื้อนหกเลอะเทอะ - ตัวอย่างเลือดที่เม็ดเลือดแตก (hemolysis) - ไม่มีแบบสอบสวนโรค - ไม่ได้ลงข้อมูลผู้ป่วย ในฐานข้อมูลกำจัดโรคหัด

  8. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรคหัด(Measle virus) 2. การตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ (Genotype) Sequencing ศูนย์ฯ ส่งต่อที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2.1 Throat swabเก็บช่วง 1-5 วันแรก หลังพบผื่น โดยใช้ swab ป้ายภายใน บริเวณ posterior pharynx จุ่มปลาย swab ใน viral transport media หักด้าม swab ทิ้ง เพื่อปิดฝาหลอดให้สนิท 2.2 Nasal swabเก็บช่วง 1-5 วันแรก หลังพบผื่นโดยใช้ swabสอดเข้าในรูจมูก ขนานกับ palate ทิ้งไว้ประมาณ 2-3 วินาที ค่อยๆ หมุน swab ออกจุ่มปลาย swab ใน viral transport media หักด้าม swab ทิ้ง เพื่อปิดฝาหลอดให้สนิท ระยะเวลารายงานผล ไม่เกิน 30 วัน * ไม่มีค่าตรวจวิเคราะห์ กรณีเข้าโครงการหัด * กรณีไม่เข้าโครงการหัด ค่าตรวจ 10,000 บาท

  9. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรคหัด(Measle virus) ชนิดเดียวกับไข้หวัดใหญ่

  10. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรคหัด(Measle virus) • การเก็บ Throat swab • จับไม้ swab ในลักษณะจับปากกา • กดลิ้นผู้ป่วยด้วยไม้กดลิ้น • ใช้ไม้ swab ถูบริเวณ posterior pharynx • จุ่มส่วนปลาย swab แช่ลงใน VTM จนถึงก้นหลอด • ตัดปลายไม้ที่โผล่พ้นหลอด VTM และปิดฝาหลอดให้สนิท • ติดฉลากระบุชื่อผู้ป่วย วันที่เก็บตัวอย่าง ชนิดตัวอย่าง • บรรจุใส่ถุงพลาสติกรัดให้แน่น ส่งพร้อมประวัติผู้ป่วย

  11. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรคหัด(Measle virus)

  12. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรคมือ เท้า ปาก ไวรัสเอนเตอโร (Enterovirus)

  13. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรคมือ เท้า ปาก • Viral isolation • Molecular diagnosis (RT-PCR) • 1) ตัวอย่างอุจจาระ : ปริมาณ 4-8 กรัมหรือเท่ากับ 2 นิ้วหัวแม่มือผู้ใหญ่ • เก็บเร็วที่สุดภายใน 14 วัน ของวันเริ่มป่วยในภาชนะสะอาด ปิดฝาให้แน่น • 2) Throat swab/Nasopharyngeal swab เก็บเร็วที่สุดภายใน 7 วัน ของวันเริ่มป่วย โดยใช้ swab ป้ายภายในบริเวณ posterior pharynx จุ่มปลาย swab ใน viral transport media สำหรับโรคมือ เท้า ปาก (VTM สีชมพู ขอรับได้ที่ สสจ., ศูนย์วิทย์) หักด้าม swab ทิ้ง เพื่อปิดฝาหลอดให้สนิท ปิดฝาให้แน่น • 3) Nasopharyngeal suction เก็บใส่ภาชนะที่สะอาดแล้วปิดฝาให้แน่น • 4) CSF เก็บใส่ภาชนะที่สะอาดแล้วปิดฝาให้แน่น ตัวอย่างสะเก็ดแผล ??

  14. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรคมือ เท้า ปาก *** VTM สีชมพู สำหรับโรคมือ เท้า ปาก

  15. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรคมือ เท้า ปาก 3. การตรวจทาง Serology (micro-neutralization test) - Serum 2 ครั้ง ครั้งแรกภายใน 3-5 วันนับจากวันเริ่มป่วย ครั้งที่ 2 ห่างจากครั้งแรก ไม่น้อยกว่า 14 วัน เก็บ Serum ให้ครบทั้ง 2 ครั้ง จึงนำส่งตัวอย่าง การนำส่งตัวอย่าง- กรอกประวัติในใบนำส่งตัวอย่างให้ชัดเจน - ติดฉลากระบุชื่อผู้ป่วย, HN, ชนิดของตัวอย่าง และวันที่เก็บตัวอย่าง -แช่ในกระติกน้ำแข็ง รีบนำส่งห้องปฏิบัติการทันที หากไม่สามารถนำส่งห้องปฏิบัติการได้ทันที ควรเก็บรักษาตัวอย่างไว้ที่ 2-8°ซ ไม่ควรเก็บไว้นานเกิน 3 วัน

  16. การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรคมือ เท้า ปาก แจ้งวันเวลาที่ตัวอย่างจะถึงปลายทางให้ห้องปฏิบัติการทราบทางโทรศัพท์ โรงพยาบาล, สสจ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 ส่งต่อ ตรวจวิเคราะห์ที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ระยะเวลาที่ใช้ตรวจ - Viral isolation 22 วันทำการ - Serology 11 วันทำการ - RT-PCR 2 วันทำการ

  17. ปัญหาในการเก็บตัวอย่างส่งตรวจปัญหาในการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ 1. ชนิดตัวอย่างที่ไม่เหมาะสม- ตัวอย่างที่ส่งมาโดยไม่แช่เย็น (4 °ซ) หรือไม่ใส่กระติกบรรจุน้ำแข็ง - ไม่ได้พันพาราฟิล์มที่หลอด VTM ทำให้ transport media ไหลซีมออกมา       - ไม่ได้บรรจุตัวอย่างในกระป๋อง - ไม่ระบุชื่อตัวอย่างข้างหลอด - กรณีมีตัวอย่างมากกว่า 1 ราย ควรแยกกระป๋องบรรจุ - ตัวอย่างระบุเป็น swab แต่ไม่มีก้าน swab ใน VTM 2. ไม่มีการติดต่อประสานงานกับศูนย์วิทย์ ฯ ก่อนส่งตัวอย่าง 3. ไม่มีแบบสอบสวนโรค

  18. รายชื่อผู้ติดต่อประสานงานรายชื่อผู้ติดต่อประสานงาน งานชันสูตรสาธารณสุข 042-207364-6 ต่อ106, 110, 222 นางบุญนิภา สุวรรณกาล 081-8727244 นางสาวภัทรพร เชยประทุม 089-6228508 นางสาวนุชรัตน์ พันธะศรี 089-4217321 งานรับตัวอย่าง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 02-9510000 ต่อ 99248 , 99614 02-9511485

More Related