1 / 165

โครงการอบรม  การบริหารงานบุคคลและการดำเนินการทางวินัย  ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

โครงการอบรม  การบริหารงานบุคคลและการดำเนินการทางวินัย  ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่  ณ โรงแรมเพชร อ. เมือง จ. กำแพงเพชร วันที่ 12-13 พฤษภาคม 255 เวลา 8.30 - 16.30 น. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร. วินัยข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551.

Télécharger la présentation

โครงการอบรม  การบริหารงานบุคคลและการดำเนินการทางวินัย  ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการอบรม การบริหารงานบุคคลและการดำเนินการทางวินัย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่  ณ โรงแรมเพชร อ. เมือง จ. กำแพงเพชร วันที่ 12-13 พฤษภาคม 255 เวลา 8.30 - 16.30 น. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร

  2. วินัยข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 โดย นายเรืองรัตน์ บัวสัมฤทธิ์ ผู้อำนวยการ กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  3. ปัญหาของสังคมไทย 1. เป็นสังคมอุปถัมภ์ 2. ยึดประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าประโยชน์สาธารณะ 3. ไม่เคร่งครัดต่อกฎหมาย 4. เคารพ ยำเกรงคนที่ร่ำรวย หรือคนที่มีอำนาจ มากกว่าคนที่คุณธรรม จริยธรรม 5. มีความอ่อนแอทางคุณธรรมและจริยธรรม 6. สังคมไม่ลงโทษคนที่ประพฤติผิดจริยธรรม 7. เป็นสังคมที่ให้อภัยผู้กระทำผิดได้ง่าย .................................

  4. ปัญหานักการเมืองของประเทศไทยที่ผ่านมาปัญหานักการเมืองของประเทศไทยที่ผ่านมา ปัญหา การซื้อเสียง 1. ยึดประโยชน์ส่วนตัวและพวกพ้อง มากกว่าประโยชน์สาธารณะ เช่น การออกนโยบาย, การจัดซื้อจัดจ้าง,การจ่ายเงินของรัฐ 2. สั่งการ หรือ ร้องขอ ข้าราชการแม้จะเป็นเรื่องทิ่มิชอบ 3. บริหารราชการ ไม่ยึดหลักธรรมาภิบาล 4. ไม่ปฏิบัติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชน ..........................

  5. ผู้บริหาร : การบริหารงาน ถูกกฎหมาย,ระเบียบ หลักธรรมาภิบาล การบริหาร งานบุคคล การคิด นอกกรอบ ได้ผลงานตามจุดมุ่งหมาย ได้ใจผู้บังคับบัญชา ได้ใจผู้ใต้บังคับบัญชา ประชาชนพึงพอใจ

  6. หลักการบริหาร  การบริหารคน (Man) การบริหารเงิน (Money) การบริหารพัสดุ (Material)  การบริหารการปฏิบัติงาน (Method) การบริหารตลาด (Market) การบริหารเครื่องจักร (Machine) การบริหารเทคโนโลยี (Technology)

  7. ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบริหารปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบริหาร 1. คน 2. เงิน 3. พัสดุ หาสาเหตุ แก้ปัญหา และต้อง ติดตามตรวจสอบ

  8. หลักการบริหาร คน เงิน พัสดุ หลักบริหาร หลักกฎหมาย

  9. การบริหารคน,เงิน,พัสดุการบริหารคน,เงิน,พัสดุ 1.บริหารโดยใช้หลักบริหาร 2. บริหารโดยใช้กฎหมาย และระเบียบราชการ รู้เจตนารมณ์ของกฎหมาย รู้เนื้อหาของกฎหมาย การลงโทษ เมื่อฝ่าฝืน ผู้บริหารต้องมีความกล้า หลักธรรมาภิบาล

  10. ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ รับผิดทางวินัย รับผิดทางละเมิด รับผิดทางจริยธรรม รับผิดทางอาญา ความรับผิดทางปกครอง(ศาลปกครอง)  ยกเลิก เพิกถอนคำสั่ง, สั่งให้กระทำการ งดเว้นการกระทำ, ให้ชดใช้ค่าเสียหาย

  11. วินัยข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551  ความหมายของวินัย…. คือแบบแผนความประพฤติ ที่กำหนดให้ ข้าราชการ 1. พึงควบคุมตนเอง และ 2.ควบคุมผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ประพฤติหรือปฏิบัติตามที่ กฎหมาย,ระเบียบ, แบบแผนของทางราชการ กำหนดไว้.

  12. ความหมาย “วินัย” พฤติกรรม งานราชการ เรื่องส่วนตัว

  13. เหตุที่นำความประพฤติส่วนตัวมาอยู่ในกรอบของวินัยเหตุที่นำความประพฤติส่วนตัวมาอยู่ในกรอบของวินัย ฝ่ายการเมือง/รัฐบาล เป็นแบบอย่างที่ดี นโยบาย ความประพฤติส่วนตัว ข้าราชการ

  14. ความสำคัญของวินัย 1. รัฐบาล 2. ราชการ 3. เจ้าหน้าที่ 4. ผู้บังคับบัญชา

  15. จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยจุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัย จุดมุ่งหมายของวินัย 1.เพื่อประชาชน 2.เพื่อราชการ เช่น 1.ผลงาน 3.ความเจริญ 2.ความสงบเรียบร้อย

  16. ขอบเขตของวินัยข้าราชการขอบเขตของวินัยข้าราชการ ขอบเขตของวินัย ควรจำกัดอยู่ในกรอบ ของจุดมุ่งหมายเท่านั้น จุดมุ่งหมายคือ... เพื่อประชาชน  เพื่อราชการ การกระทำที่ไม่กระทบต่อกรอบของจุดมุ่ง หมาย ก็ไม่ควรอยู่ในข่ายของวินัยข้าราชการ .............................

  17. เช่น...กรอบของมาตรา 82(6) คือ... ข้าราชการ ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคีกัน และไม่กลั่นแกล้งกัน....  การกระทำที่กระทบต่อกรอบของ จุดมุ่งหมายนี้....มีความผิดทางวินัย. การกระทำที่ไม่กระทบต่อกรอบของ จุดมุ่งหมายนี้....ไม่มีความผิดทางวินัย.

  18. o มาตรา 82(6) ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคีกัน แม้การกระทำนั้นจะเป็น เรื่องเดียวกัน กรอบของจุดมุ่งหมาย ตัวอย่าง... A A การกระทำที่ไม่กระทบต่อกรอบ.....ไม่ผิดวินัย การกระทำที่กระทบต่อกรอบ....... ผิดวินัย

  19. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2516 • เรื่องการไว้ผมและแต่งกายเพื่อเป็นแบบอย่างแก่ประชาชน •  ข้าราชการ,ลูกจ้าง ชาย ไม่ให้ไว้ผมยาวปิดตีนผม •  ข้าราชการ,ลูกจ้าง หญิง ไม่ให้สวมกระโปรงสั้นเหนือเข่า •  ข้าราชการ,ลูกจ้าง ชายและหญิง ไม่ให้คาดเข็มขัดใต้สะดือ • “ให้ถือว่าไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา” ตัวอย่าง : กรอบของจุดมุ่งหมายเรื่องการแต่งกาย

  20. นายแพทย์ ช.+แพทย์หญิง ญ. แต่งงานกันตามประเพณี และอยู่กินกันฉันสามีภรรยา โดยไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน แพทย์หญิง ลาศึกษาต่อ 3 ปี ระหว่างแพทย์หญิง ลาศึกษาต่อ พยาบาลกับนายแพทย์ ช. ได้จดทะเบียนสมรสกัน ทำให้ครอบครัวแพทย์หญิง แตกแยก พยาบาลก็รู้ว่านายแพทย์ ช.และแพทย์หญิง อยู่กินกัน ฉันสามีภรรยา(เพราะอยู่ ร.พ. เดียวกัน) การกระทำของพยาบาล และนายแพทย์ ช. กระทบต่อกรอบ? ผิดกฎหมายแพ่ง? ผิดจริยธรรม? ผิดวินัย?

  21. 1. ดื่มสุรานอกเวลาราชการ แต่มาเมาในเวลา • 2. มีเมียน้อย แต่เมียหลวงไม่ว่าอะไร • 3. ยืมเงินแล้ว ไม่ยอมใช้คืน • 4. การช่วยให้ผู้ป่วยพ้นทุกข์โดย...Mercy Killing • 5. การรักษาผู้ป่วย บนพื้นฐานทางวิชาการ • และมาตรฐานการรักษา • .............................. การกระทำต่อไปนี้กระทบต่อกรอบของจุดมุ่งหมาย?

  22. โทษทางวินัย : กับข้าราชการบางตำแหน่ง  ข้าราชการทั่วไป เช่น บุคลากร ทางการแพทย์  ข้าราชการที่ตำแหน่งต้อง มีคุณธรรม จริยธรรมสูง และต้องเป็นแบบอย่างที่ดี เช่น ครู, อาจารย์ ผู้พิพากษา, อัยการ ตำรวจ, นักกฎหมาย การพนัน,อนาจาร,ชู้สาว

  23. โทษทางวินัยมี 5 สถาน  ไม่ร้ายแรง 1.ภาคทัณฑ์ 2.ตัดเงินเดือน 3.ลดเงินเดือน  ร้ายแรง 1. ปลดออก 2. ไล่ออก การกระทำ...กระทบต่อกรอบรุนแรงแค่ไหน

  24. มติ ค.ร.ม.ที่ นร 0205/ว 234 ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2536 การลงโทษผู้กระทำผิดวินัย 2 กรณี ดังนี้ 1. กรณีทุจริตต่อหน้าที่ราชการ 2. กรณีละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกัน เป็นเวลา เกินกว่า 15 วัน และมิได้กลับมาปฏิบัติ หน้าที่ราชการอีกเลย ให้ลงโทษไล่ออกจากราชการ โดยไม่อาจลดหย่อนโทษได้ ..................................

  25. ปัญหาเรื่องการร้องเรียนปัญหาเรื่องการร้องเรียน สาเหตุการร้องเรียน... 1. ความขัดแย้งของเจ้าหน้าที่ 2. การบริการประชาชน 3. ความไม่เป็นธรรมของผู้บังคับบัญชา 4. ต้องการรักษาผลประโยชน์ของทางราชการ. ..............................

  26. การลงโทษทางวินัยไม่ร้ายแรง (ม.96) มาตรา 96 ผู้ใดกระทำผิดวินัยไม่ร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชา ซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 สั่งลงโทษภาคทัณฑ์ตัดเงินเดือนลดเงินเดือน ตามควรแก่กรณีให้เหมาะสมกับความผิด ในกรณีมีเหตุอันควรลดหย่อน จะนำมาประกอบ การพิจารณาลดโทษก็ได้ ในกรณีการกระทำผิดวินัย เล็กน้อย และมีเหตุ อันควรงดโทษ จะงดโทษให้ โดยให้ทำทัณฑ์บนเป็น หนังสือ หรือว่ากล่าวตักเตือนก็ได้.

  27. การลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรง (ม. 97) ■ ส่วนภูมิภาค ►ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งลงโทษ ตามมติ อ.ก.พ.จังหวัด ■ส่วนกลาง ►อธิบดีกรมสั่งโทษตามมติ อ.ก.พ.กรม, อ.ก.พ.กระทรวง.

  28. โครงสร้างวินัยข้าราชการโครงสร้างวินัยข้าราชการ ข้าราชการต้องมีวินัย ต่อ 1. ประเทศชาติม.81 2. ประชาชน ม.82(8),ม. 83(9),ม. 85(5) 3. ตำแหน่งหน้าที่ราชการ ม.82(1)(2)(3)(5) (6)(9),ม. 83(3)(4)(5),ม. 85(1)(2)(3) 4. ผู้บังคับบัญชา ม.82(4),ม. 83(1)(2) 5. ผู้ร่วมงาน ม.82(7),ม. 83(7) 6. ตนเอง ม.82(10),ม. 83(6)(8),ม. 85(4)(6).

  29. หมวดที่ 6 วินัยและการรักษาวินัย ลักษณะการบัญญัติกฎหมาย ให้กระทำการอัน เป็นข้อปฏิบัติ (ม.82) ต้องไม่กระทำ อันเป็นข้อห้าม (ม.83) การกระทำ ที่เป็นวินัย ร้ายแรง (ม.85)

  30. มาตรา 85(7)ละเว้นการกระทำหรือกระทำการใดๆ อันเป็นการไม่ปฏิบัติตามมาตรา 82 หรือฝ่าฝืนข้อห้าม ตามมาตรา 83 อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่าง ร้ายแรง ม. 82 ข้อให้ปฏิบัติ ผิดไม่ร้ายแรง ถ้าเสียหาย ร้ายแรง ผิดวินัย ร้ายแรง ม. 83 ข้อห้ามปฏิบัติ ผิดไม่ร้ายแรง

  31. ข้อกำหนดวินัยข้าราชการพลเรือนข้อกำหนดวินัยข้าราชการพลเรือน มาตรา 80 วรรค 1ต้องรักษาวินัยโดยกระทำการ หรือ ไม่กระทำการตามที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ โดยเคร่ง ครัดอยู่เสมอ วรรค 2 ข้าราชการผู้ปฏิบัติราชการ ในต่าง ประเทศ นอกจากต้องรักษาวินัย ตามที่บัญญัติไว้ ในหมวดนี้แล้ว ต้องรักษาวินัยโดยกระทำการ หรือ ไม่กระทำการตามที่กำหนดไว้ในกฎ ก.พ. ด้วย

  32. ข้อกำหนด วินัยข้าราชการพลเรือน 1. วินัยต่อประเทศชาติ มาตรา 81ข้าราชการต้องสนับสนุน การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ด้วย ความบริสุทธิ์ใจ

  33. 1. ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม มาตรา 82(1) ซื่อสัตย์.. ตรงไปตรงมา,ไม่คดโกง,ไม่หลอกลวง สุจริต..ที่ดีที่ชอบตามคลองธรรม เที่ยงตรง..ไม่ลำเอียง 2. วินัยต่อตำแหน่งหน้าที่

  34. 2.ต้องไม่อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยตำแหน่ง หน้าที่ราชการของตนหาประโยชน์ ให้แก่ตนเอง หรือ ผู้อื่น มาตรา 83(3)  อาศัยตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน ประโยชน์..เป็นประโยชน์ที่ควรได้ 3. ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการ ให้เกิดผลดีหรือความ ก้าวหน้าแก่ราชการ ด้วยความ ตั้งใจ อุตสาหะ เอาใจใส่ และรักษาประโยชน์ของทางราชการ มาตรา 82(3)

  35. 4. ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง แก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติ หน้าที่ราชการโดยทุจริตมาตรา 85(1)(ผิดร้ายแรง) เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ทุจริตต่อหน้าที่ราชการ

  36. 5. ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็น ไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ มติคณะรัฐมนตรี นโยบายของรัฐบาล และปฏิบัติตามระเบียบแบบแผน ของทางราชการมาตรา 82(2)

  37. กฎหมาย, กฎ กฎหมาย หรือ กฎ ใดก็ได้ ระเบียบของทางราชการ ต้องเป็นระเบียบเฉพาะ เช่น ระเบียบการเงิน, ระเบียบพัสดุ, ระเบียบการใช้รถยนต์ราชการ ระเบียบแบบแผนของทางราชการ เป็นระเบียบแบบแผนทั่วไปที่เจ้าหน้าที่ทุกคน ต้องปฏิบัติ

  38. ระเบียบแบบแผนของทางราชการ ตาม ม. 82(2) “แบบแผน”คือขนบธรรมเนียมที่กำหนดไว้ หรือเคย ประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมา 1. เป็นระเบียบแบบแผนของทางราชการทั่วไป 2. กำหนดหน้าที่ทั่วไปที่ทุกคนต้องปฏิบัติตาม 3. ไม่จำเป็นต้องกำหนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ระเบียบลงชื่อมาปฏิบัติราชการ ระเบียบการแต่งกาย  ระเบียบการลาหยุดราชการ  แบบแผนในการเสนองานต่อผู้บังคับบัญชา

  39. 1.การลาป่วย 1.1 ตั้งแต่ 30 วันขึ้นไป ต้องมีใบรับรองแพทย์ 1.2 ไม่ถึง 30 วัน จะสั่งให้มีใบรับรองแพทย์ หรือ ให้ไปรับการตรวจจากแพทย์ก็ได้ ปัญหา...ระหว่างป่วย ผู้ลาไม่ได้ไปพบแพทย์..? 2.การลาคลอดบุตร 2.1 เป็นการลาหยุด ช่วงก่อนคลอดและหลังคลอด 2.2 ลาได้ 90 วัน ปัญหา...นางสาวลาคลอดบุตร ? คลอดได้ 15 วัน บุตรตาย จะหยุด 90 วัน ?

  40. 3. การลากิจส่วนตัว 3.1 การลากิจส่วนตัวด้วยเหตุอื่นๆ กรณีเหตุธรรมดา ต้องคำสั่งอนุญาตก่อน กรณีเหตุจำเป็น คือไม่อาจรอรับคำสั่งอนุญาตได้  กรณีเหตุพิเศษ คือไม่อาจส่งใบลาก่อนได้ ใน 1 ปี ระหว่างลากิจ จะได้เงินเดือน 45 วัน ปัญหา...ข้าราชการบรรจุใหม่ ลาได้..? 3.2 การลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร ให้ลาต่อเนื่องจากการคลอด ให้ลาได้ 150 วัน โดยไม่ได้รับเงินเดือนระหว่างลา

  41. 4. การลาพักผ่อน ใน 1 ปี มีสิทธิลาได้ 10 วัน กรณีบรรจุยังไม่ครบ 6 เดือน ไม่มีสิทธิลา ถ้าปีนั้น ไม่ได้ลาหรือลาไม่ครบ ให้นำวันลา มาสะสม ในปีต่อไปได้ แต่เมื่อรวมกับในปีปัจจุบันแล้ว ต้องไม่ เกิน 20 วัน ถ้ารับราชการมาไม่น้อยกว่า 10 ปีติดต่อกัน ให้สะสมได้ไม่เกิน 30 วัน ปัญหา..1. ข้าราชการบรรจุวันที่ 1 เมษายน ของปี ลาได้..? 2. ข้าราชการได้รับอนุญาตให้ลาศึกษาต่อ 2 ปี..?

  42. 5. การลาอุปสมบท หรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์  เป็นการลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา หรือลาไปประกอบ พิธีฮัจย์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ให้เสนอหรือจัดส่งใบลา ก่อนอุปสมบท หรือก่อนออกเดินทางไป ประกอบพิธีฮัจย์ไม่น้อยกว่า 60 วัน เมื่อได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ลาอุปสมบท หรือ ได้รับอนุญาตให้ไปประกอบพิธีฮัจย์แล้ว ต้องดำเนินการภายใน 10 วัน และต้องกลับมารายงานตัวเข้าปฏิบัติราชการ ภายใน 5 วัน ถ้าได้รับอนุญาตให้ลาแล้ว แต่ไม่อาจอุปสมบท หรือประกอบ พิธีฮัจย์ได้ เมื่อรายงานตัวเข้าปฏิบัติราชการแล้ว ให้ขอถอนวันลา และให้ถือว่าวันที่หยุดราชการไปนั้น เป็นวันลากิจส่วนตัว.

  43. คำว่า “ประมาท” หรือ “ประมาทเลินเล่อ” ได้แก่ กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดย ปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมี ตามวิสัยและพฤติการณ์และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวัง เช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่. 6. ต้องไม่ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ในหน้าที่ราชการ มาตรา 83(4)

  44.  ตัวอย่าง กรณีประมาทเลินเล่อ 1. การรักษาพยาบาล เช่น  ให้เลือดผิด, จ่ายยาผิด 2. รถยนต์ของทางราชการ  รถชนกัน, รถตกถนน, รถหาย รถยนต์ของทางราชการประสบอุบัติเหตุ ให้แจ้งความร้องทุกข์ทุกครั้ง(กระทรวงการคลังที่ กค. 0508/ว 27274, 19 กรกฎาคม 2525) 3. ไฟไหม้สถานที่ราชการ

  45. 7. ต้องรักษาความลับของทางราชการ มาตรา 82(6) ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับ ของทางราชการ พ.ศ. 2544 ....................  ความลับของทางราชการ ? คือ ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ที่ไม่อาจเปิดเผย ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องทราบได้  ชั้นความลับของข้อมูลข่าวสาร มี 3 ชั้น 1. ลับที่สุด 2. ลับมาก 3. ลับ

  46. พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 14(4) ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย  รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสาร ส่วนบุคคล ซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้ำ สิทธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร ผู้ครอบครองไม่ยอมเปิดเผย ผู้ขอข้อมูลฯอุทธรณ์ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารมีคำสั่งให้เปิดเผยได้

  47. พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 (ต่อ) มาตรา 24 หน่วยงานของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ส่วนบุคคลที่อยู่ในความควบคุมดูแลของตน โดยปราศจาก ความยินยอมเป็นหนังสือของเจ้าของข้อมูล ที่ให้ไว้ล่วงหน้า หรือในขณะนั้นมิได้ เว้นแต่..... (1)........ (2)........(3).......... (7) เป็นการให้ซึ่งจำเป็น เพื่อป้องกันหรือระงับ อันตรายต่อชีวิต หรือสุขภาพของบุคคล.

  48. พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550  มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับ ของส่วนบุคคล ผู้ใดจะนำไปเปิดเผย ในประการที่น่าจะทำให้ บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนั้น เป็นไปตาม ความประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะ บัญญัติให้เปิดเผย แต่ไม่ว่าในกรณีใดๆผู้ใดจะอาศัยอำนาจ หรือ สิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได้.(จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับ หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ...ยอมความได้) ศาล, พนักงานสอบสวน ... ขอตาม ป. วิอาญา

  49. พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550  มาตรา 7 ดังนั้นการให้เอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพ ของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนตามมาตรา 7 เพื่อ... 1. ประโยชน์ของเจ้าของข้อมูล 2. ประโยชน์สาธารณะ ย่อมให้ได้.....เป็นความเห็นส่วนตัว

  50. 8. ต้องไม่กระทำการ หรือยอมให้ผู้อื่นกระทำการ หาผลประโยชน์อันอาจทำให้เสียความเที่ยงธรรม หรือ เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน มาตรา 83(5)  เที่ยงธรรม คือ เป็นธรรม “เกียรติศักดิ์”ฐานะที่ได้รับการสรรเสริญ ดูที่ตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน

More Related