1 / 15

CLASSROOM ACTION RESEARCH

CLASSROOM ACTION RESEARCH. Asst. Prof. Pragasit SITTHITIKUL, Ph.D. GENERAL CONCEPTS ABOUT RESEARCH. Research --  re + search search ข้อเท็จจริง งานวิจัยจะต้องมีข้อเท็จจริงอย่างน้อย 95% และ error 5% (เป็นข้อเสนอแนะ). Action Research.

alyssa
Télécharger la présentation

CLASSROOM ACTION RESEARCH

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. CLASSROOM ACTION RESEARCH Asst. Prof. Pragasit SITTHITIKUL, Ph.D. Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

  2. GENERAL CONCEPTS ABOUT RESEARCH • Research -- re + search • search ข้อเท็จจริง • งานวิจัยจะต้องมีข้อเท็จจริงอย่างน้อย 95% และ error 5% (เป็นข้อเสนอแนะ) Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

  3. Action Research • Action Research (วิเคราะห์สถานการณ์ >>> สร้าง model >>>หาประสิทธิผลของ model >>> Action Research • การนำผลงานวิจัยเดิม เพื่อแก้ปัญหา (Meta-analysis) >>>>> Action research กำลังเป็นที่นิยม Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

  4. Research Title • วัตถุประสงค์ของงานวิจัยหรือโจทย์วิจัย ไม่ควรมีเกิน 5 ข้อ • ชื่อเรื่องวิจัยควรจะต้องมี 4 องค์ประกอบ (MVVL) M= method, V= valuable, L= location Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

  5. การวิจัยเชิงสำรวจหรือศึกษา จะไม่ใส่คำนี้ลงในชื่อเรื่องวิจัย • ชื่อเรื่อง ถ้ามีประเด็นเก่า 2 ประเด็นขึ้นไป ถือว่าเรื่องนั้นไม่ใหม่ (MVVL) M= method, V= valuable, L= location Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

  6. Innovation • นวัตกรรม ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ • NEW • DIFFERENT • BETTER Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

  7. Theoretical Framework • กรอบความคิด ==ตัวแปรต้น-ตัวแปรตาม คืออะไร • กรอบแนวคิดทางวิจัยทางทฤษฎี (Theoretical conceptual framework) ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย ต้อง review ทั้งหมด คือต้องลงรายละเอียดทุกตัวแปรที่เกี่ยวข้องโดยทั่วไปกับผลกระทบที่ศึกษา • กรอบแนวคิดของการวิจัย (Actual conceptual framework) จะเกี่ยวข้องกับเฉพาะตัวแปรที่สำคัญๆ ที่เป็นสาเหตุของผลกระทบกับตัวแปรกับงานวิจัยที่ทำ Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

  8. Literature Review • การทบทวนวรรณกรรม ให้ดูจาก key words (1 ตัวแปร ควรอ่านเอกสารประมาณ 11 เล่ม (ระดับ ปริญญาเอก) และ 7 เล่ม (ระดับ ปริญญาโทในการทำวิทยานิพนธ์) และ 3-5 เล่ม (ระดับ ปริญญาโทในการทำการศึกษาอิสระ) • ไม่ควรอ้างอิงเอกสารที่เก่าเกิน 5 ปี ยกเว้น เป็นงานวิจัยประเภท historical research • www.scholar.google.com Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

  9. Questionnaire แบบสอบถาม ไม่ควรมีเกิน 60 ข้อ ภายในเวลา 20 นาที หรือ 30 ข้อ ภายในเวลา 10 นาที การเรียงคำถามในแบบสอบถาม หากมีหลายตอน ไม่ควรเริ่มข้อ 1 ใหม่ในตอนต่อไป แต่ให้เรียงข้อคำถามต่อเนื่องตั้งแต่ข้อ 1 ถึงข้อสุดท้าย Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

  10. โอกาสที่ผู้ตอบแบบสอบถาม และส่งกลับหลังส่งไปในครั้งแรก จะมีประมาณ 30% • ดังนั้น 2 อาทิตย์ต่อมา เราจึงควรส่งไปให้คนที่ยังไม่ตอบกลับมา และปกติมักจะตอบกลับมาประมาณ 20% • การส่งตามครั้งที่ 3 มักจะได้แบบสอบถามคืนกลับมา ประมาณ 10% Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

  11. Research Design • การทำวิจัยโดยมีจุดประสงค์เพื่อเข้าใจปัญหา นักวิจัยจะสำรวจประเด็นนั้นๆ โดยอาจใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ (เก็บตัวเลขและใช้สถิติ) หรือวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (เก็บคุณลักษณะและวิเคราะห์เนื้อหา) • ทำการวิจัยมีจุดประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหา ต้องทดลอง Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

  12. การทำวิจัยเชิงปริมาณ จำนวนกลุ่มตัวอย่างต้องมากพอ แต่ไม่ควรน้อยกว่า 30 ตัวอย่าง • การวิจัยเชิงคุณภาพ ไม่คำนึงถึงจำนวนกลุ่มตัวอย่าง แต่จะคำนึงว่าคนๆนั้นให้ข้อมูลดีหรือไม่ต้องสอบถาม key informants จนได้ข้อมูลอิ่มตัว คือถามจนไม่มีข้อมูลใหม่เพิ่มอีกแล้ว โดยอาจใช้ snowball technique หรือ purposive sampling Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

  13. Research Instrument • ในการสร้างเครื่องมือวิจัย สิ่งที่ต้องคำนึงเป็นประเด็นหลัก ดูได้จากตัวแปร และสิ่งที่ต้องพิจารณาเป็นประเด็นย่อยๆ คือ ดูจากนิยามศัพท์และนิยามตัวแปร และต้องคำนึงถึงความเหมาะสมในการนำไปใช้ได้ เช่น จำนวนข้อเหมาะสม เวลาที่ใช้ และ ครอบคลุมเนื้อหา Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

  14. Data Analysis • การวิเคราะห์ความพึงพอใจ ใช้สถิติเชิงบรรยาย (descriptive statistic) • ค่าความเที่ยง (reliability) หรือค่าความเชื่อมั่นต้องมีค่าอย่างต่ำ 0.7 Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

  15. การอ่านค่าในกรณีที่มี 5 ระดับ 1-1.5 น้อยที่สุด 1.51-2.5 น้อย 2.51-3.5 ปานกลาง 3.51-4.5 มาก 4.51-5 มากที่สุด Asst. Prof. Dr. Pragasit SITTHITIKUL

More Related