1 / 49

Introduction to UNIX and Linux

Introduction to UNIX and Linux. Seree Chinodom. ยูนิกซ์คืออะไร. เป็นระบบปฏิบัติการชนิดหนี่ง ตอบสนองการทำงานแบบระบบเปิด(Open System) ใช้งานในลักษณะผู้ใช้หลายคน(Muti-users) สามารถทำงานได้หลายงานพร้อมกันในเวลาเดียวกัน (Muti-tasking). ประวัติความเป็นมา.

amalia
Télécharger la présentation

Introduction to UNIX and Linux

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Introduction to UNIX and Linux Seree Chinodom

  2. ยูนิกซ์คืออะไร • เป็นระบบปฏิบัติการชนิดหนี่ง • ตอบสนองการทำงานแบบระบบเปิด(Open System) • ใช้งานในลักษณะผู้ใช้หลายคน(Muti-users) • สามารถทำงานได้หลายงานพร้อมกันในเวลาเดียวกัน (Muti-tasking)

  3. ประวัติความเป็นมา • พัฒนาโดย Ken Thompson และ Dennis Ritchie • ที่ Bell Laboratories, USA • พัฒนามาจาก multics (1969) • Thompson พัฒนาภาษาชนิดใหม่ที่ใช้เขียนโปรแกรมเรียกว่าภาษา 'B' • Ritchie พัฒนาภาษา 'B' เป็นภาษา 'C' และช่วยพัฒนา 'UNIX' • ครั้งแรกที่พัฒนาใช้บนเครือง PDP-7

  4. ประวัติความเป็นมา • มีสองระบบที่นิยมใช้กัน • SYSTEM V (Commercial, run by AT&T) • BSD (Educational, run by Bell Labs) • ปัจจุบันพัฒนาใช้ในรูปแบบ graphical interfaces • MOTIF • X Windows • Open View

  5. ประวัติความเป็นมา • บริษัทที่ผลิตปัจจุบัน • Sun Microsystems (SPARC) • Data General (AVION) • IBM (RS6000 AIX) • Hewlett Packard • Santa Cruz Organisation (SCO) • DEC

  6. องค์ประกอบของยูนิกซ์ • Kernel • File System • Shell • Utilities

  7. โปรแกรมประยุกต์ เชลล์ เคอร์เนล ฮาร์ดแวร์ โครงสร้างของระบบยูนิกซ์

  8. Kernel • เป็นหัวใจของในการทำงานของระบบ ทำหน้าที่ • ควบคุมการทำงานงานในทั้งหมดของระบบคอมพิวเตอร์ • จัดสรรทรัพยากรของระบบ • บริหารหน่วยความจำ • ควบคุมอุปกรณีที่ติดตั้งทั้งภายในและภายนอก • Kernel ขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่อง เป็นส่วนที่ติดต่อกับเครื่องโดยตรง

  9. File System • เป็นส่วนที่ใช้เก็บข้อมูล (Hard Disk) • จัดเก็บในรูป directory, subdirectory • จัดเก็บในรูปต้นไม้หัวกลับ • เรียกใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ เหมือนกับเรียกใช้ไฟล์ข้อมูล

  10. Shell (command Interpreter) • ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับ Kernel • แปลคำสั่งจากผู้ใช้ • คำสั่งสามารถนำมาเขียนเป็นชุดคำสั่งให้ทำงานเรียกว่า Shell script • กำหนดทิศทางการเข้าออกของ Input/Output

  11. โปรแกรมอรรรถประโยชน์ • file management (rm, cat, ls, rmdir, mkdir) • user management (passwd, chmod, chgrp) • process management (kill, ps) • printing (lp, troff, pr)

  12. Main Featurees of UNIX • multi-user • more than one user can use the machine at a time • supported via terminals (serial or network connection) • multi-tasking • more than one program can be run at a time • hierarchical directory structure • to support the organisation and maintenance of files

  13. Main Featurees of UNIX(2) • portability • only the kernel ( <10%) written in assembler • tools for program development • a wide range of support tools (debuggers, compilers)

  14. Linux คืออะไร • Linux เป็นชื่อตัวปฏิบัติการระบบ (Operating System) ตัวหนึ่ง เช่นเดียวกับ DOS, Windows 95, Windows NT, OS/2 หรือ ระบบ Unix • Linux ถูกออกแบบมาให้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ตัวประมวลผลหรือ CPU ตระกูล x86 ( เช่น 80386, 486, Pentium เป็นต้น) • ปัจจุบันมีการพัฒนาให้ใช้กับตัวประมวลผลตระกูลอื่นๆ เช่น Alpha chip ได้ด้วย • Linuxมีลักษณะการทำงานแบบ Unix

  15. ความเป็นมาของ Linux • ลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบ UNIX ที่ถูกพัฒนาขึ้นเป็นครั้งแรกที่ University of Helsinki ประเทศ Finland โดยนักศึกษาที่ชื่อ Linus B. Torvalds • ถูกแจกจ่ายให้ทดลองใช้งานบนอินเตอร์เน็ต • ตัวเคอร์เนลของลีนุกซ์ไม่ได้ใช้ซอร์สโค้ดจาก AT&T หรือระบบปฏิบัติการ UNIX อื่น • แอพพลิเคชันซอฟต์แวร์หลักที่ใช้งานบนลีนุกซ์ส่วนใหญ่พัฒนามาจากโปรเเจ็กต์ GNU ที่ Free Software Foundation (FSF)

  16. ความเป็นมาของ Linux • Linux พัฒนามาจากมินนิกซ์ (Minix) ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการ UNIX เล็กๆ ตัวหนึ่งที่พัฒนาขึ้นโดย Andy Tanenbaum เพื่อประกอบการเรียนรู้ในหนังสือเกี่ยวกับการออกแบบระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ • ลินุกซ์ถูกพูดถึงเป็นครั้งแรกในกลุ่มข่าว comp.os.minix • ตัว Linux จริงๆ แล้วนั้นมีลิขสิทธิ์ แต่ว่าเราสามารถใช้งาน Linux โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดโดยปฏิบัติตามเงื่อนไขของ GNU Public License (GPL, บางท่านอาจเรียก Gopy Left)

  17. ความเป็นมาของ Linux • ลีนุกซ์เวอร์ชัน 0.01 ถูกแจกจ่ายให้ทดลองใช้ ราวๆ ปลายเดือนสิงหาคม 1991 ในเวอร์ชันนี้มีเพียงฮาร์ดดิสค์ไดรเวอร์และระบบไฟล์ขนาดเล็กให้ใช้งานเท่านั้น ไม่มีแม้แต่ฟล็อบปี้ดิสก์ไดรเวอร์ จะต้องมีระบบมินนิกซ์อยู่แล้วจึงจะสามารถทำการคอมไพล์และทดลองใช้งานได้ เนื่องจากมันยังไม่มีโหลดเดอร์และคอมไพล์เลอร์ที่จะทำงานบนเคอร์เนลนี้ได้โดยตรง ต้องอาศัยการคอมไพล์ข้ามระบบ (Cross-compile) และบูตระบบผ่านทางมินนิกซ์

  18. ความเป็นมาของ Linux • Linus เปิดตัวลีนุกซ์อย่างเป็นทางการครั้งแรกในวันที่ 5 ตุลาคม 1991 บนกลุ่มข่าว comp.os.minix ด้วยเวอร์ชัน 0.02 ซึ่งลีนุกซ์ในเวอร์ชันนี้สามารถรัน bash (GNU Bourne Again Shell), gcc (GNU C Compiler) • หลังจากเวอร์ชัน 0.03 Linus ได้เพิ่มเวอร์ชันไปเป็น 0.10 เนื่องจากระบบเริ่มทำงานได้มากขึ้นและมีผู้สนใจร่วมพัฒนามากขึ้น หลังจากนั้นอีกสองสามเวอร์ชัน Linus ได้เพิ่มเวอร์ชันขึ้นเป็น 0.95

  19. ความเป็นมาของ Linux • มีนาคม 1994 Linus ก็ได้เปิดตัวลีนุกซ์ 1.0 ขึ้น และเริ่มมีผู้นำไปใช้งานกันอย่างแพร่หลายตั้งแต่นั้นมา • ปัจจุบันลีนุกซ์ได้พัฒนามาถึงเวอร์ชัน 2.0 (2.0.15) แล้ว ซึ่งมีความความสามารถด้านต่างๆ พัฒนาเพิ่มขึ้นจากเวอร์ชัน 1.0 มากมาย • สามารถใช้งาน Linux ได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในส่วนลิขสิทธิ์ แต่ Linux ไม่ใช่ Freeware หรือ Shareware ตัว Kernel (คือแกนกลางของตัวปฏิบัติการ Linux) นั้น สงวนลิขสิทธิ์โดย Linus Torvalds • ส่วนโปรแกรมประกอบอื่นๆ ที่เขียนขึ้นโดยผู้ใดก็จะเป็นลิขสิทธิ์ของคนนั้น

  20. ทำไมต้องเป็นลีนุกซ์ จุดเด่นที่น่าสนใจและเป็นเหตุผลที่ทำให้มีผู้เปลี่ยนจากระบบปฏิบัติการอื่นๆ มาใช้งานลีนุกซ์คือ • ลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่แจกฟรี • ลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการ UNIX ที่สามารถรันได้บนเครื่องพีซีทั่วไปที่มีราคาไม่แพง ตั้งแต่ 386 เป็นต้นไป • ประสิทธิภาพสูง • มีคุณภาพดีเยี่ยม

  21. ทำไมต้องเป็นลีนุกซ์ • เป็นระบบปฏิบัติการแบบหลายผู้ใช้และหลายงาน ( Multi-user, Multi-tasking ) • มีระบบ X Window สำหรับการติดต่อกับผู้ใช้ในรูปแบบกราฟิกซึ่งสนับสนุนโปรแกรมจัดการ Window ( Window Manager ) หลายตัว • สนับสนุนระบบเครือข่ายหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น อีเธอร์เน็ต, โทเก้นริง, SLIP, PPP หรือ UUCP • การใช้งานร่วมกับ DOS และ Windowsได้

  22. ทำไมต้องเป็นลีนุกซ์ • ความสามารถในการใช้งานไฟล์ร่วมกับระบบปฏิบัติการอื่นๆ ลีนุกซ์สนับสนุนระบบไฟล์ของระบบปฏิบัติการหลายชนิด เช่น DOS ( FAT ), Windows for Workgroup ( SMB ), Windows 95 ( VFAT ), Windows NT ( NTFS ), NetWare ( NCP ), OS/2 ( HPFS ), MINIX, NFS และ System V • ความต้องการทรัพยากรของระบบ ระบบขั้นต่ำที่ลีนุกซ์สามารถทำงานได้คือเครื่องพีซีที่มีหน่วยประมวลผลกลาง 80386 /SX หน่วยความจำ 2 เมกะไบต์ ฟลอบปี้ดิสค์ขนาด 1.44 หรือ 1.2 เมกะไบต์ การ์ดแสดงผล และจอภาพแบบโมโนโครม

  23. ทำไมต้องเป็นลีนุกซ์ • มีผู้คอยให้ความช่วยเหลือมากมายเมื่อเกิดปัญหาขึ้นกับระบบ • ลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิด เกือบทุกโปรแกรมที่รันบนลีนุกซ์และแม้แต่ตัวเคอร์เนลเองจะถูกแจกจ่ายไปพร้อมกับซอร์สโค้ด • ระบบจัดการไฟล์ หรือแอพพลิเคชันโปรแกรมพัฒนาขึ้นมาใช้งานเองได้โดยง่าย ดังจะเห็นได้จากส่วนหนึ่งของโปรแกรมเมอร์ที่ร่วมพัฒนาลีนุกซ์ เป็นนักศึกษาที่ยังคงเรียนอยู่ในมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วโลก

  24. ความต้องการทางด้านฮาร์ดแวร์ความต้องการทางด้านฮาร์ดแวร์ • เมนบอร์ดและหน่วยประมวลผลกลาง : ขณะนี้ลีนุกซ์สามารถทำงานได้บนหน่วยประมวลผลกลาง Intel ในตระกูล 80386 ขึ้นไป (80386/80386SX,80486/80486SX, Pentium, Pentium Pro และ Pentium II) รวมทั้งหน่วยประมวลผลกลางจากบริษัทอื่นๆ ที่เข้ากันได้ เช่น จาก AMD และ Cyrix ถ้าคุณใช้ 80386 หรือ 80486SX • เมนบอร์ดที่ใช้จะต้องมีระบบบัสแบบ ISA, EISA,VESA หรือ PCI LocalBus

  25. ความต้องการทางด้านฮาร์ดแวร์ความต้องการทางด้านฮาร์ดแวร์ • หน่วยความจำ : ลีนุกซ์ต้องการหน่วยความจำอย่างน้อย 2 เมกะไบต์ อย่างไรก็ตาม คุณควรจะมีอย่างน้อย 4 เมกะไบต์เพื่อไม่ให้ระบบทำงานช้าเกินไป • ฮาร์ดดิสค์คอนโทรลเลอร์ : ต้องมีคอนโทรลเลอร์ที่เป็น AT-standard (16บิต) หรือ XT-standard (8บิต) สำหรับฮาร์ดดิสก์ที่มีการเชื่อมต่อแบบ MFM, RLL และ IDE ส่วนคอนโทรลเลอร์ฮาร์ดดิสค์แบบ SCSI ที่สามารถนำมาใช้งานได้ก็มีอยู่หลายรุ่นด้วยกัน เช่น Adaptec AHA1542B, AHA1542C, AHA1742A, Future Domain 1680, TMC-850, Seagate ST-02, UltraStore SCSI, Western Digital WD7000FASST เป็นต้น

  26. ความต้องการทางด้านฮาร์ดแวร์ความต้องการทางด้านฮาร์ดแวร์ • พื้นที่ฮาร์ดดิสค์ : ส่วนใหญ่แล้วจะขึ้นอยู่กับความต้องการและจำนวนซอฟต์แวร์ที่จะติดตั้ง • สามารถติดตั้งลีนุกซ์ลงบนฮาร์ดดิสค์ที่มีเนื้อที่ว่างขนาด 10-20 เมกะไบต์ • ถ้าเลือกติดตั้งแบบครบหมดจะกินเนื้อที่ประมาณ 300 เมกะไบต์ • จอภาพและการ์ดแสดงผล : • ลีนุกซ์สนับสนุนจอภาพและการ์ดแสดงผลทั้ง Hercules, CGA, EGA, VGA, IBM Monochrome และ SuperVGA สำหรับการแสดงผลในเท็กซ์โหมด • สำหรับการแสดงผลในกราฟิกโหมดนั้นจะขึ้นอยู่กับระบบ X Window ที่คุณเลือกใช้ แต่โดยปกติแล้วจะใช้ได้กับการ์ดแสดงผลทั่วๆ ไป

  27. ความต้องการทางด้านฮาร์ดแวร์ความต้องการทางด้านฮาร์ดแวร์ • อีเธอร์เน็ตการ์ด : รายการคร่าวๆ ของอีเธอร์เน็ตการ์ดที่ลีนุกซ์สนับสนุนได้แก่ • 3com 3c503, 3c503/16, 3c509, 3c589 • Novell NE1000, NE2000 • Western Digital WD8003, WD8013 • Hewlett-Packard HP27245, HP27247, HP27250 • D-Link DE-600

  28. ความต้องการทางด้านฮาร์ดแวรความต้องการทางด้านฮาร์ดแวร • อุปกรณ์ต่อพ่วง • เม้าส์และอุปกรณ์ชี้อื่นๆ : ลีนุกซ์สนับสนุนทั้ง serial mouse ทั่วๆ ไป เช่น Logitech, MM series, Mouseman, Microsoft และยังสนับสนุน Microsoft, Logitech และ ATIXL busmouse ,mouse ที่มีการเชื่อมต่อแบบ PS/2 สำหรับอุปกรณ์ชี้อื่นๆ เช่น trackballs ซึ่งสามารถจำลองการทำงานเป็น mouse ข้างต้นได้ก็สามารถใช้ได้เช่นกัน • ซีดีรอม : ลีนุกซ์สนับสนุนซีดีรอมไดร์ฟที่มีอินเตอร์เฟสแบบ SCSI เกือบทุกรุ่น เพียงแต่ะต้องมีคอนโทรลเลอร์ SCSI ที่ใช้กับลีนุกซ์ได้ นอกจากนี้ซีดีรอมไดร์ฟแบบอื่นๆ ที่สามารถนำมาใช้งานกับลีนุกซ์ได้ เช่น NEC CDR-74, Sony CDU-541, CDU-31a, Mitsumi และซีดีรอมแบบ IDE (ATAPI)

  29. ความต้องการทางด้านฮาร์ดแวร์ความต้องการทางด้านฮาร์ดแวร์ • เทปไดร์ฟ : สนับสนุนเทปไดร์ฟที่มีการเชื่อมต่อแบบ SCSI และอื่นๆ เช่นQIC-117, QIC-40/80, QIC-3010/3020 (QIC-WIDE) • โมเด็มและเครื่องพิมพ์ : มีหลักการง่ายๆ ก็คือ ถ้าคุณสามารถใช้โมเด็มหรือเครื่องพิมพ์นั้นบน DOS หรือระบบปฏิบัติการอื่นๆ ได้ คุณก็ควรจะสามารถนำมาใช้กับลีนุกซ์ได้เช่นกัน • ซาวนด์การ์ด : ที่สามารถใช้งานกับลีนุกซ์ได้ เช่น Adlib (OPL2), Audio Excell DSP16, Aztech Sound Galaxy NX Pro, Gravis Ultrasound, Logitech SoundMan, Microsoft Sound System (AD1848), OAK OTI-601D cards (Mozart), Sound Blaster และTurtle Beach Wavefront cards (Maui, Tropez) เป็นต้น

  30. การติดต่อกับผู้ใช้ใน UNIX • การติดต่อแบบตัวอักขระ: Shell • การติดต่อกับผู้ใช้โดยใช้ภาพ : X-Window

  31. Shell • Shell คือโปรแกรมที่ทำหน้าที่อ่านและปฏิบัติตามคำสั่งที่ผู้ใช้ระบบป้อนให้กับเครื่อง • Shell เป็นโปรแกรมแรกที่ทำงานหลังจากที่ผู้ใช้เข้าใช้ระบบ(login) ได้สำเร็จ • Shell ยังเป็นภาษาสำหรับเขียนโปรแกรมอีกด้วย • ภาษาที่เขียนด้วย shell เรียกว่า shell script • Shell มีการทำงานตาม shell Script ในลักษณะของ Interpreter

  32. ชนิดของ Shell • Shell ในตระกูล Bourne - Shell • Shell ในตระกูล C - Shell

  33. Shell ในตระกูล Bourne Shell • Bourne Shell • เป็นshell ตัวแรกในระบบ UNIX • มีโครงสร้างคล้ายภาษา ALGOL มีเครื่องหมายเตรียมพร้อมเป็น $ • ชื่อไฟล์ของ shell : sh • Korn Shell • พัฒนาต่อจาก Bourne Shell มีเครื่องหมายเตรียมพร้อมเป็น $ • ชื่อไฟล์ของ shell : ksh • Bourne Again Shell • พัฒนาต่อจาก Bourne Shell แต่เป็นโปรแกรมที่แจกฟรี มีเครื่องหมายเตรียมพร้อมเป็น $ • ชื่อไฟล์ของ shell : bash

  34. Shell ในตระกูล Bourne Shell(2) • Zee Shell • เป็น Shell ลูกผสมระหว่างตระกูล Bourne Shell และ ตระกูล C Shell และเป็นโปรแกรมที่แจกฟรี • ชื่อไฟล์ของ shell : zsh • bash และ zsh อยู่ในโปรแกรมชุด GNU ของ The Free Software Foundation • bash และ zsh มีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน • zsh มีคุณสมบัติค่อนมาทาง Bourne Shell มากกว่า C Shell

  35. Shell ในตระกูล C Shell • C - Shell พัฒนามาจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย(เบิร์กเลย์) สำหรับใช้ใน UNIX ตระกูล BSD มีเครื่องหมายเตรียมพร้อมเป็น % • ชื่อไฟล์ของ shell : csh • Tenex C - Shell พัฒนาต่อจาก C - Shell สำหรับใช้ในระบบปฏิบัติการ Tenex ซึ่งเป็น UNIX Compatible • ชื่อไฟล์ของ shell : tcsh • พัฒนาโดยมหาวิทยาลับ Carnegie-Mellon และพัฒนาต่อเนื่องมาโดยมหาวิทยาลัย Cornell • แจกฟรี

  36. การติดต่อกับผู้ใช้โดยใช้ภาพ : X Window X Window History • พัฒนาที่ MIT (Massachusetts Institue of Tecnology) ในปี ค.ศ. 1980 • MIT’s Project Athena and Digital Equipment Corporation • เวอร์ชันแรกเผยแพร่เมื่อ เดือนพฤษภาคม 1984 • ต้นปี 1985มี X1 - X6 • X6 พัฒนาเพื่อใช้กับจอภาพ DEC’S QVSS บนเครื่อง MIcroVAX เมื่อกลางปี 1985

  37. X Window • Brown University นำ X9 ใช้บนเครื่อง IBM RT/PC และพัฒนามาเป็น Version 10 • Version 11 • Release 1 ใช้เมื่อ กันยายน 1987 • Release 2 ใช้เมื่อ มีนาคม 1988 • Release 3 ใช้เมื่อ กุมภาพันธ์ 1989 • Release 4 ใช้เมื่อ มกราคม 1990 • Release 5 ใช้เมื่อ สิงหาคม 1991 • ปัจจุบัน Version 11 Release 6

  38. X Window System Concept • The Server - Client Model • Client - Server Architecture for graphic application • X Server เป็นโปรแกรมที วิ่งบนระบบและใช้เข้าถึงส่วนต่าง ๆที่เป้น graphic Hardware ควบคุมการแสดงผลบนจอภาพ อินพุต-เอาต์พุต เช่นแป้นพิมพ์ เมาส์ และจอภาพ • X Client เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ติดต่อกับ Server • X Window เป็น network-oriented graphic system • X Client สามารถทำงานบนเครื่อง Server หรือ remote workstation

  39. X Window System Concept • Window Management • Clients ทำงานภายใต้ X โดยสามารถแสดง windows ได้หลาย windows โดย windows ต่างๆนั้นจะถูกควบคุมด้วบ X clientโดยส่วนที่ควบคุมนี้เรียกว่า window maneger วึ่งทำงานควบคุ้ไปกับ X client • Starting X • startx • xinit, .xiniitrc • Exiting X • เลือกเมนู exit หรือ logout

  40. Running X clients on a remote machine • บนเครื่อง client พิมพ์ xhost + server_name telnet server_name DISPLAY=client_name:0.0 export DISPLAY

  41. การติดต่อเข้าใช้ระบบ เราสามารถติดต่อกับ host ได้ 3 วิธีดังนี้ • direct serial connection via dumb terminal • direct serial connection via intelligence terminals (PC) • network connection( via rlogin, telnet, ftp etc)

  42. การ Login เข้าสู่ระบบ • เมื่อทำการเชื่อมต่อและติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆครบเรียบร้อยแล้วนั้น เมื่อเปิดเครื่องเริ่มใช้งาน หลังจากระบบพร้อมที่จะทำงานแล้ว หน้าจอก็จะมีข้อความคล้าย ดังรูป Linux 2.0.36 (k12.compsci.buu.ac.th) (ttyp0) Welcome to Burapha Linux 3.4 Release 3 k12 login:

  43. การ Login เข้าสู่ระบบ • เครื่องจะขึ้น login prompt เพื่อเตรียมพร้อมรับการทำงาน เมื่อท่านต้องการเข้าใช้งานเครื่อง ต้องใส่ชื่อ login และ password หรือรหัสผ่านของชื่อ login นั้นๆ • login prompt อาจจะเป็น $ หรือ % ขึ้นกับ shell ที่ใช้งาน

  44. การออกจากระบบ • เมื่อจบการการใช้งานแล้วก็ควร logout หรือออกจากโปรแกรมที่กำลังทำงานอยู่ กลับมาสู่ login prompt เหมือนเดิม • การออกจากระบบ ให้พิมพ์ว่า logout หรือ exit ที่ $ ตัวอย่าง เช่น $ exit • ระบบก็จะกลับมาสู่ Login Prompt เหมือนเดิม

  45. ความสำคัญของชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านความสำคัญของชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน • ไม่ควรให้ login และ password ของท่านตกไปอยู่กับคนอื่นเพราะ • คนๆ นั้นสามารถกระทำการทุกอย่างบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในชื่อของท่านเช่นเขียน E-mail ไปให้คนอื่น แต่เป็นชื่อของท่าน หรือไปทำลายข้อมูลต่างๆ ได้ อันจะนำความเดือดร้อนมาให้กับท่าน • อย่าเปิดหน้าจอที่ login ของท่านทิ้งไว้ แล้วไปทำอย่างอื่น เพราะคนอื่นสามารถใช้ login ของท่านได้ในขณะนั้น

  46. การแบ่งระดับผู้ใช้ • ระดับผู้ใช้ธรรมดา จะสามารถใช้งานเครื่อง หรือโปรแกรมได้บางโปรแกรมเท่านั้น • ระดับ Super User (ส่วนใหญ่จะมีชื่อ login ว่า root) เปรียบเสมือนเป็นผู้ดูแลระบบ • สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงทุกอย่างได้ในเครื่อง • สามารถจำแลงแปลงกายเป็นผู้ใช้คนใดก็ได้ • อ่าน - เขียนข้อมูลของทุกคนได้ • ควรเก็บรักษา password ของ root นี้ไว้อย่างดี และไม่ปล่อยให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องทราบ

  47. การเปลี่ยนรหัสผ่าน • สิ่งที่ควรทำเป็นอันดับแรก เมื่อติดตั้งระบบเรียบร้อย และ ควรทำเป็นประจำทุกๆ เดือน คือ การเปลี่ยน password (รหัสผ่าน) ของ root และ admin • หลักการกำหนด password ก็คือ • ตั้งให้คนอื่นเดาไม่ได้ ไม่ควรเป็นคำที่มีในพจนานุกรม หรือคำพูดติดปากที่ใช้กันบ่อยๆ • ควรจะมีทั้งตัวพิมพ์เล็กและใหญ่ เครื่องหมายต่างๆ และตัวเลข ทั้งนี้เพื่อไม่ให้คนอื่นสามารถเดารหัสผ่านของคุณได้ง่ายควรใช้ความยาวไม่ต่ำกว่า 5 ตัว และผสมตัวเลขบ้าง ตัวอักษรพิเศษบ้าง (เช่น / ; ^ เป็นต้น) • ไม่ควรใช้ชื่อ วันที่ วันเกิด หรือ ตัวอักษรชุดง่ายๆ เช่น 123456 เป็นอันขาดเนื่องจากสามารถทายได้ง่าย

  48. Home directory • Home directory เป็น directory บ้านของผู้ใช้ • ผู้ใช้ชื่อ seree home directory คือ /usr/home/seree หรือ /home/seree

  49. แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรมอรรถประโยชน์แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรมอรรถประโยชน์ • โปรแกรมเดียวทำหน้าที่อย่างเดียว • การนำโปรแกรมอรรถประโยชน์มาทำงานร่วมกันเพื่อให้เกิดงานตามที่ต้องการ • รูปแบบทั่วไปของการเรียกใช้งานโปรแกรมอรรถประโยชน์ คำสั่ง [-flags] [ argument_list]

More Related