1 / 21

การสำรวจปิโตรเลียมในประเทศไทย

การสำรวจปิโตรเลียมในประเทศไทย. นางสาว มัญชุฬี มัชฌิ กะ ID 54402627 สาขาเทคโนโลยีพลังงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. OUTLINE. การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย การสำรวจปิโตรเลียมกับการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม. การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม.

amanda
Télécharger la présentation

การสำรวจปิโตรเลียมในประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสำรวจปิโตรเลียมในประเทศไทยการสำรวจปิโตรเลียมในประเทศไทย นางสาวมัญชุฬีมัชฌิกะ ID 54402627 สาขาเทคโนโลยีพลังงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

  2. OUTLINE • การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม • ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย • การสำรวจปิโตรเลียมกับการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม

  3. การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียมการสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม • การสำรวจทางธรณีวิทยา • การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ • การเจาะสำรวจ

  4. การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม(ต่อ)การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม(ต่อ) • การสำรวจทางธรณีวิทยา - เริ่มด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสภาพธรณีวิทยาของพื้นที่และบริเวณใกล้เคียง - พื้นที่สำรวจเป็นพื้นที่บนบกนักธรณีวิทยาจะต้องศึกษาสภาพธรณีวิทยาของพื้นที่ การใช้ภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายจากดาวเทียม

  5. การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม(ต่อ)การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม(ต่อ) • การสำรวจทางธรณีวิทยา (ต่อ)  - การตรวจวิเคราะห์อายุหิน การวิเคราะห์ตัวอย่างหินทางธรณีเคมี - วิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพของหินการประเมินผล และการสำรวจทางธรณีวิทยา  เจ้าหน้าที่สำรวจทางธรณีวิทยา ที่มา : http://guru.sanook.com/search/การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม

  6. การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม (ต่อ) • การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ - อาศัยหลักคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของชั้นหินชนิดต่างๆ คุณสมบัติด้าน แม่เหล็กไฟฟ้า และคุณสมบัติในการเป็นตัวกลางของคลื่นชนิดต่างๆ - การเรียงลำดับชั้นหินโครงสร้างทางธรณีวิทยา โดยใช้เครื่องมือทาง ธรณีฟิสิกส์

  7. การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม (ต่อ) • การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ (ต่อ) - เทคนิคทางด้านธรณีฟิสิกส์ที่ใช้ในการสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม - การตรวจวัดค่าความเข้มสนามแม่เหล็กโลก - การตรวจวัดค่าความโน้มถ่วง - การตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือนของชั้นหิน การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ ที่มา : http://guru.sanook.com/search/การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม

  8. การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม (ต่อ) • การเจาะสำรวจ - เพื่อหาข้อมูลทางธรณีวิทยาเกี่ยวกับลำดับชั้นหินใต้พื้นผิวลึกลงไปและ ตรวจสอบลักษณะตัวอย่างหิน เพื่อยืนยันลักษณะโครงสร้างทาง ธรณีวิทยาใต้ดินและค้นหาปิโตรเลียมหรือร่องรอยของปิโตรเลียม การเจาะสำรวจปิโตรเลียมบริเวณพื้นที่บนบก ที่มา : http://guru.sanook.com/search/การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม

  9. การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม (ต่อ) • การเจาะสำรวจ (ต่อ) - เพื่อกำหนดขอบเขตที่แน่นอนของแหล่งปิโตรเลียม ปริมาณการไหล และปริมาณสำรองของปิโตรเลียมในแหล่งกักเก็บ - เพื่อการประเมินศักยภาพ และสมรรถนะของการผลิตปิโตรเลียมใน เชิงพาณิชย์

  10. ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทยประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย • ปี พ.ศ. 2464 – 2503 - เมืองฝางได้นำน้ำมันดิบมาจ่ายเป็นส่วย - พ.ศ. 2464 จ้างนักธรณีวิทยามาสำรวจหาปิโตรเลียมที่แหล่งฝาง - พ.ศ. 2465 จ้างช่างเจาะมาทำการเจาะสำรวจปิโตรเลียม - พ.ศ. 2479 – 2487 กรมทางหลวงได้ดำเนินการขุดเจาะเพื่อหาชั้นทรายน้ำมัน - พ.ศ. 2492 กรมทรัพยากรธรณีสำรวจและขุดเจาะหลุมปิโตรเลียมที่แหล่งฝาง - พ.ศ. 2494 กรมทรัพยากรธรณีขุดเจาะหลุมปิโตรเลียมเพิ่ม 2 หลุม

  11. ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ)ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ) • ปี พ.ศ. 2464 – 2503 (ต่อ) - พ.ศ. 2496 เจาะเพิ่ม 1 หลุม พบชั้นน้ำมันและทดลองผลิตน้ำมัน - พ.ศ. 2497 หยุดการผลิต - พ.ศ. 2498-2499 ได้ทำการผลิตน้ำมันดิบ 3 หลุมจาก 9 หลุมที่พบน้ำมัน - พ.ศ. 2499 กรมพลังงานทหารได้รับโอนกิจการน้ำมันจากฝางไปดำเนินงานต่อ - พ.ศ. 2500 กรมทรัพยากรธรณีย้ายแท่นเจาะจากฝางมาที่บางปะอินและหยุดซ่อม เนื่องจากเครื่องเจาะชำรุด

  12. ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ)ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ) • ปี พ.ศ. 2504-2523 - พ.ศ. 2504 รัฐบาลได้เปิดโอกาสให้เอกชนยื่นขอสิทธิในการสำรวจและผลิต ปิโตรเลียม - พ.ศ. 2505 บริษัท Unocal ได้รับสิทธิการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในภาคอีสาน - พ.ศ. 2508 ประเทศไทยเริ่มกำหนดเส้นสกัดไหล่ทวีปทางด้านอ่าวไทย - พ.ศ. 2509 บริษัท กัลฟ์ออยล์ ได้รับสิทธิการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมใน กรุงเทพฯและปริมณฑล

  13. ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ)ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ) • ปี พ.ศ. 2504-2523 (ต่อ) - พ.ศ. 2510 รัฐบาลได้เปิดโอกาสให้เอกชนยื่นขอสิทธิในการสำรวจและผลิต ปิโตรเลียมในเขตอ่าวไทย - พ.ศ. 2512 บริษัท กัลฟ์ออยล์ทำการเจาะหลุมสำรวจปิโตรเลียมบริเวณท่าเรือ คลองเตย - พ.ศ. 2514 พบปิโตรเลียม สำหรับหลุมเจาะหลุมแรกในอ่าวไทยและมีการสำรวจ ปิโตรเลียมในทะเลอันดามัน

  14. ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ)ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ) • ปี พ.ศ. 2504-2523 (ต่อ) - พ.ศ. 2515-2530 มีการสำรวจธรณีฟิสิกส์ วิธีวัดคลื่นไหวสะเทือนแบบ 2 มิติ - พ.ศ. 2516 พบก๊าซธรรมชาติและก๊าซธรรมชาติเหลว จากหลุมเจาะในอ่าวไทย - พ.ศ. 2518 เจาะหลุมประเมินหลุมแรกของประเทศเพื่อพิสูจน์ศักยภาพของ แหล่งก๊าซ

  15. ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ)ประวัติการเจาะหลุมปิโตรเลียมในประเทศไทย(ต่อ) • ปี พ.ศ. 2524 – ปัจจุบัน - พ.ศ. 2522 บริษัท Thai Shell และบริษัทEsso Exploration Inc. ได้รับสัมปทาน ในการสำรวจปิโตรเลียมบนบก - พ.ศ. 2524 พบน้ำมันดิบที่ จ. สุโขทัย และ จ. กำแพงเพชร - พ.ศ. 2528 รัฐบาลไทยได้จัดตั้งบริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม - พ.ศ. 2539 ได้สำรวจวัดคลื่นไหวสะเทือนแบบ 2 มิติ และเจาะสำรวจ 5 หลุม - ปัจจุบัน มีผู้ได้รับสัมปะทาน 28 สัมปทาน แปลงสำรวจ 37 แปลง มีแหล่ง ปิโตรเลียมไม่น้อยกว่า 30แหล่ง

  16. ที่มา : http://teenet.cmu.ac.th/sci/fossil03.php

  17. การสำรวจปิโตรเลียมกับการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมการสำรวจปิโตรเลียมกับการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม • กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติได้พิจารณาจัดทำข้อกำหนด มาตรฐาน ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เป็นแนวทางปฏิบัติสำหรับผู้รับสัมปทาน - การกำจัดเศษดิน หินจากหลุมเจาะ - การบำบัดน้ำทิ้ง - การกำจัดน้ำทิ้งที่ปนเปื้อนน้ำมัน - การกำหนดมาตรฐานน้ำทิ้ง

  18. สรุป • ปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญของโลก และเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้น การกำเนิดและการสะสมตัวต้องใช้ระยะเวลานาน หลายสิบล้านปี ดังนั้นควรพิจารณาการใช้ประโยชน์ ให้คุ้มค่าที่สุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น • ต้องรักษาฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในสภาพที่ดี ควบคู่ไปกับการสำรวจและพัฒนาปิโตรเลียม

  19. สรุป (ต่อ) • เทคนิคการสำรวจได้รับการพัฒนา ทั้งทางด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการ ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ย่นระยะเวลาการทำงาน และลดค่าใช้จ่าย เพื่อค้นหาแหล่งปิโตรเลียม ให้ทันกับความต้องการใช้ของมนุษย์ • การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจธรณีฟิสิกส์ โดยเฉพาะการวัดคลื่นไหวสะเทือน แบบ 3 มิติ ทำให้ได้รายละเอียดของโครงสร้างแหล่งธรณีที่คาดว่าจะมีปิโตรเลียมกักเก็บอยู่ หรือการสร้างแบบจำลองเพื่อให้เข้าใจถึงสภาวะแวดล้อม ซึ่งการกำเนิดปิโตรเลียมเป็นการลดความเสี่ยงในการลงทุน

  20. Reference • http://guru.sanook.com/search/การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียม • http://teenet.cmu.ac.th/sci/fossil03.php • http://www.oknation.net/blog/print.php?id=442488 • http://www.dmf.go.th/dmfweb/index.php?option=com_knowlage&view=elearn&task=detail&id=1&id_less=1&Itemid=7&lang=en • http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK24/chapter7/t24-7-l2.htm • http://www.thaigaming.com/general-discussion/943.htm

  21. Thank you for your attention

More Related