1 / 51

ยุทธศาสตร์เชิงรุกในการประมวลข้อมูลสถิติเกี่ยวกับสารเคมี

ยุทธศาสตร์เชิงรุกในการประมวลข้อมูลสถิติเกี่ยวกับสารเคมี เพื่อการป้องกันอุบัติภัย อุบัติเหตุ และการสร้างความปลอดภัยด้านเคมีวัตถุ วราพรรณ ด่านอุตรา หน่วยข้อสนเทศวัตถุอันตรายและความปลอดภัย ศูนย์วิจัยแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Télécharger la présentation

ยุทธศาสตร์เชิงรุกในการประมวลข้อมูลสถิติเกี่ยวกับสารเคมี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์เชิงรุกในการประมวลข้อมูลสถิติเกี่ยวกับสารเคมี เพื่อการป้องกันอุบัติภัย อุบัติเหตุ และการสร้างความปลอดภัยด้านเคมีวัตถุ วราพรรณ ด่านอุตรา หน่วยข้อสนเทศวัตถุอันตรายและความปลอดภัยศูนย์วิจัยแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การประชุมวิชาการอาชีวเวชศาสตร์แห่งประเทศไทย (สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม) 8 สิงหาคม 2546 ณ โรงแรมบางกอกพาเลซ

  2. สาเหตุของอุบัติภัยจากวัตถุเคมี พ.ศ. 2521 - 2545

  3. สถิติการประสบอันตรายเนื่องจากการทำงานสถิติการประสบอันตรายเนื่องจากการทำงาน ที่มา : สำนักงานประกันสังคม

  4. การเสนอสถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานการเสนอสถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน ของสำนักงานประกันสังคม

  5. การเสนอสถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานการเสนอสถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน ของสำนักงานประกันสังคม

  6. การเสนอสถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานการเสนอสถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน ของสำนักงานประกันสังคม

  7. สถิติการประสบอันตรายเนื่องจากการทำงาน พ.ศ. 2545

  8. สถิติการประสบอันตรายเนื่องจากการทำงาน พ.ศ. 2545

  9. สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยสถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย จำแนกตามสิ่งที่ทำให้ประสบอันตราย พ.ศ. 2545

  10. สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยสถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย จำแนกตามสิ่งที่ทำให้ประสบอันตราย พ.ศ. 2545

  11. สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยสถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย จำแนกตามสิ่งที่ทำให้ประสบอันตราย พ.ศ. 2545

  12. การประมวลข้อมูล • รวบรวมข้อมูล • วิเคราะห์ • สังเคราะห์ออกมาเป็นสถานการณ์ - ความรู้พื้นฐาน - สมมติฐาน - ความเข้าใจ

  13. การสังเคราะห์ข้อมูล สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน พ.ศ. 2545

  14. จำนวนผู้ประสบอันตราย 190,979 ราย สาเหตุจากสิ่งมีพิษ สารเคมี 9,781 ราย เป็นโรคเนื่องจากสารเคมี รวม 412 ราย แปลผลได้อย่างไร ?

  15. ระบบข้อมูลตอบอะไร • สภาพปัญหา • สัญญาณอันตราย

  16. การตอบปัญหาด้วยข้อมูลการตอบปัญหาด้วยข้อมูล ปัจจัยสำคัญ • ข้อมูลถูกต้อง ทันสมัย • แปลถูกทาง ปราศจากอคติ • ใช้มองปัญหาเชิงรุกเพื่อแก้ปัญหาระยะยาว • อื่น ๆ

  17. การประมวลข้อมูลสถิติเกี่ยวกับสารเคมีการประมวลข้อมูลสถิติเกี่ยวกับสารเคมี • ระบบเดิม • ข้อปฏิบัติตามประกาศต่าง ๆ • - ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม • - ประกาศกระทรวงมหาดไทย • - อื่น ๆ • ระบบใหม่ • การวิจัย

  18. ตัวอย่างการประมวลข้อมูลระบบเดิมตัวอย่างการประมวลข้อมูลระบบเดิม ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย ข้อ 5. ให้นายจ้างที่มีสารเคมีอันตรายในสถานประกอบการแจ้งรายละเอียดต่อไปนี้ต่ออธิบดี… ภายใน 7 วัน นับแต่ วันที่มีสารเคมีอันตรายไว้ในครอบครอง การแจ้งตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามแบบที่อธิบดีกำหนด (สอ. 1)

  19. แบบ สอ. 1 แบบแจ้งรายละเอียดของสารเคมีอันตรายในสถานประกอบการ ตามข้อ 5 แห่งประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย วันที่……. เดือน………………………………. พ.ศ. ……….. 1. รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ (Product Data) 1.1 ชื่อทางการค้า……………………………. ชื่อทางเคมี……………………………. สูตรทางเคมี………………………… 1.2 การใช้ประโยชน์………………………………………………………………………………………………………….. 1.3 ปริมาณสูงสุดที่มีไว้ในครอบครอง………………………………………………………………………………………... 1.4 ผู้ผลิต/ผู้นำเข้า…………………………………………………………………………………………………………….. 2. การจำแนกสารเคมีอันตราย 2.1 U.N. Number 2.2 CAS No. 2.3 สารก่อมะเร็ง 3. สารประกอบที่เป็นอันตราย 4. ข้อมูลทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Data) 5. ข้อมูลด้านอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 6. ข้อมูลเกี่ยวกับอันตรายต่อสุขภาพ (Health Hazard Data) 7. มาตรการด้านความปลอดภัย (Safety Measures) 8. ข้อปฏิบัติที่สำคัญ (Special Instructions) ลงชื่อ …………………………………………. (…………………………………………) ตำแหน่ง……………………………………….. ชื่อสถานประกอบการ……………………………………………. ที่ตั้ง………………………………….……………………………. โทรศัพท์…………………..……….โทรสาร…………………….

  20. แบบ สอ. 2 แบบรายงานความปลอดภัยและประเมินการก่ออันตรายของสารเคมีอันตราย ในสถานประกอบการ ตามข้อ 6 แห่งประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย เขียนที่……………………………………………………. วันที่……. เดือน………………………………. พ.ศ. ……….. ชื่อและที่อยู่ของผู้ประกอบการ ส่วนที่ 1 ข้อมูลที่เกี่ยวกับสารเคมีอันตรายทุกชนิด 1. รายชื่อของสารเคมีอันตราย (ชื่อทางการค้า ชื่อทางเคมี สูตรทางเคมี) 2. ความบริสุทธิ์ของสารเคมีอันตราย ชื่อและเปอร์เซ็นต์ของสารหลักที่เจือปนอยู่ในสารเคมีอันตราย 3. วิธีการตรวจวิเคราะห์เพื่อหาสารเคมีอันตรายที่อาจรั่วไหล 4. อันตรายต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากสารเคมีอันตราย ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานประกอบการ ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมการดำเนินงานของสถานประกอบการ ส่วนที่ 4 ข้อมูลเกี่ยวกับอุบัติภัยที่อาจเกิดขึ้น ลงชื่อ…………………………………………. (…………………………………………) ตำแหน่ง………………………………………. ผู้รายงาน * (ตรวจอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง)

  21. แบบ สอ. 3 แบบรายงานความปลอดภัยและประเมินการก่ออันตรายของสารเคมีอันตราย ในสถานประกอบการ ตามข้อ 16 แห่งประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย เขียนที่……………………………………………………. วันที่……. เดือน………………………………. พ.ศ. ……….. ชื่อและที่อยู่ของผู้ประกอบการ ขอรายงานผลการตรวจวัดปริมาณความเข้มข้นของสารเคมีอันตราย ดังต่อไปนี้ ชื่อผู้เก็บตัวอย่าง…………………………………… ชื่อหน่วยงานที่เก็บตัวอย่าง……………………………………………………. ชื่อหน่วยงานที่วิเคราะห์ตัวอย่าง……………………………………………………………………………………………………... ลงชื่อ…………………………………………. (…………………………………………) ตำแหน่ง………………………………………. ผู้รายงาน หมายเหตุ 1. การเก็บ การวิเคราะห์ ให้ใช้มาตรฐานของ NIOSH JISHA หรือมาตรฐานสากลอื่น ๆ 2. ผู้เก็บตัวอย่างควรมีความรู้ทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม (Industrial Hygiene) * ( ตรวจปีละ 2 ครั้ง)

  22. แบบ สอ. 4 แบบรายงานผลการตรวจสุขภาพลูกจ้างที่ทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย ตามข้อ 19 แห่งประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย เขียนที่……………………………………………………. วันที่……. เดือน………………………………. พ.ศ. ……….. ชื่อและที่อยู่ของผู้ประกอบการ ขอรายงานผลการตรวจวัดปริมาณความเข้มข้นของสารเคมีอันตราย ดังต่อไปนี้ ได้ส่งผลการตรวจสุขภาพเฉพาะรายที่ผิดปกติ (ถ้ามี) ตามหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสุขภาพลูกจ้าง ที่ทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย มาพร้อมรายงานนี้แล้ว ลงชื่อ…………………………………………. (…………………………………………) ตำแหน่ง………………………………………. ผู้รายงาน * (ตรวจปีละ 1 ครั้ง : พนักงานที่ทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอย่างน้อย 2 ปี)

  23. ข้อวิเคราะห์รูปแบบการประมวลผลข้อมูลข้อวิเคราะห์รูปแบบการประมวลผลข้อมูล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย • แบบฟอร์ม • - กรอกยาก • - ประกาศฯ ไม่เอื้อการระบุเลขอ้างอิงสากล • รูปแบบ • - ตั้งรับ • - การประมวลผลใช้เวลามาก • - ขาดการติดตามผล

  24. เปลี่ยนบทบาทภาครัฐจากการตั้งรับและตรวจสอบ • พัฒนารูปแบบให้เกิดความร่วมมือจากทุกภาคส่วน • พัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการประมวลผล • วางนโยบายและแนวปฏิบัติการเตรียมความพร้อม เพื่อให้ผู้รับผิดชอบประจำใช้ผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง • อื่น ๆ ข้อเสนอยุทธศาสตร์การประมวลผลข้อมูลเชิงรุก

  25. ตัวอย่างการประมวลผลข้อมูลเชิงรุกตัวอย่างการประมวลผลข้อมูลเชิงรุก

  26. โครงการวิจัย เพื่อพัฒนาระบบตรวจสอบความเคลื่อนไหวสารเคมี ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย โดยความสนับสนุนของ สกว.

  27. ลักษณะการดำเนินงาน • พัฒนาโครงการวิจัยจากปัญหาจริง • นักวิจัยทำงานร่วมกับผู้รับผิดชอบของหน่วยงาน • เสนอผลงานเพื่อให้ใช้ประโยชน์จริง

  28. ระบบการดำเนินงานก่อนโครงการวิจัยระบบการดำเนินงานก่อนโครงการวิจัย เก็บข้อมูลการประกอบการ ตามแบบฟอร์ม วอ. / อก. 7 (วัตถุอันตราย 45 รายการ)

  29. แบบ วอ. / อ. 7 ใบแจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย ผลิต นำเข้า ส่งออก มีไว้ในครอบครอง ชื่อสถานประกอบการ…………………………………..……ที่อยู่………………………………………………………………………………..

  30. คำถาม วัตถุอันตราย 45 รายการ • มีที่มาอย่างไร • เหตุผล วอ/อก.7 • ใช้ติดตามอะไร • ความหมายของสาระในแบบฟอร์ม

  31. ระบบการดำเนินงานก่อนเริ่มโครงการวิจัยระบบการดำเนินงานก่อนเริ่มโครงการวิจัย 1. สำรวจผู้ประกอบการที่ต้องแจ้ง วอ. / อก. 7 ปีละ 2 ครั้ง (มกราคม / กรกฎาคม) 2. ทำจดหมายเตือน 3. รวบรวมแบบฟอร์ม 4. บันทึกข้อมูลลงคอมพิวเตอร์ (Ms-Excel)

  32. สรุปข้อมูลชื่อวัตถุอันตราย ตาม วอ. / อก. 7 (ม.ค. - ธ.ค. 45) • จำนวนชื่อทั้งหมด 531 รายการ • ข้อผิดพลาดการกรอกข้อมูล • - แจ้งชื่อวัตถุอันตรายเป็นชื่อทางการค้า (18) • - ชื่อวัตถุอันตรายเป็นกลุ่มสารไม่ทราบแน่ชัดว่าเป็นสารตัวใด (4) • - ชื่อวัตถุอันตรายเป็นผลิตภัณฑ์ (14) • - ไม่ใช่ชื่อวัตถุอันตราย (3) • - เป็นวัตถุอันตรายที่หน่วยงานอื่นควบคุม (1)

  33. ข้อสรุปเบื้องต้นจากงานวิจัยข้อสรุปเบื้องต้นจากงานวิจัย • แบบฟอร์ม วอ. / อก. 7 ไม่ชัดเจน • ผู้ประกอบการให้ความร่วมมือ • ข้อมูลที่ได้ไม่มีคุณภาพที่จะนำไปใช้งานต่อได้ • รูปแบบการติดตามงานเดิมเสียเวลามาก ไม่มีประสิทธิผล

  34. ข้อเสนอแนะจากผลงานเบื้องต้นข้อเสนอแนะจากผลงานเบื้องต้น • ระดมความคิดเพื่อวิเคราะห์แบบฟอร์ม และรูปแบบการดำเนินงาน • ปรับปรุงแบบฟอร์ม • เสนอแก้ประกาศฯ เพื่อให้ได้ผลตามวัตถุประสงค์ ของหน่วยงาน

  35. ผลลัพธ์ กรมโรงงานอุตสาหกรรม แต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อทบทวนวัตถุประสงค์และเนื้อหา แบบฟอร์ม วอ. / อก. 7

  36. การสำรวจสารเคมีในโรงงานอุตสาหกรรมการสำรวจสารเคมีในโรงงานอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  37. วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ • เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลสารเคมีที่มีการจัดเก็บภายในโรงงานอุตสาหกรรม • เพื่อเป็นศูนย์กลางข้อมูลเฉพาะทางด้านสารเคมีและทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของระบบเครือข่ายข้อมูลสารเคมีกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน • เพื่อให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านข้อมูลสารเคมีแก่หน่วยงานรัฐ

  38. ขอบเขตประเภทโรงงานที่สำรวจขอบเขตประเภทโรงงานที่สำรวจ ประเภทโรงงานที่ใช้เคมีเป็นวัตถุดิบ ประเภทโรงงานที่ผลิตภัณฑ์เป็นสารเคมี

  39. การดำเนินงาน กรอกข้อมูลผ่าน Internet โดย วิศวกรตรวจโรงงาน เก็บข้อมูล และสร้างแบบฟอร์ม สำหรับกรอกข้อมูลในระบบอินเตอร์เน็ต อบรมผู้ประกอบการให้บันทึกข้อมูลลงอินเตอร์เน็ต

  40. ผลการดำเนินงาน(พ.ย. 45 - ก.ย. 46) จำนวนโรงงานในขอบเขต 9,605 แห่ง จำนวนโรงงานที่สำรวจได้ 5,819 แห่ง (60.6 %)

  41. สร้างเครื่องมืออำนวยความสะดวก • ให้ผู้ประกอบการเก็บข้อมูล • ตรวจคุณภาพข้อมูลก่อนการดำเนินงานต่อ ยุทธศาสตร์เชิงรุกของกรมโรงงานอุตสาหกรรม

  42. ปริมาณงาน • คุณภาพงาน ? ผลลัพธ์การใช้ยุทธศาสตร์เชิงรุก

  43. การวิเคราะห์คุณภาพข้อมูลสารเคมีที่สำรวจได้การวิเคราะห์คุณภาพข้อมูลสารเคมีที่สำรวจได้ ดำเนินการคัดแยกข้อมูลสารเคมี จำนวน 6,324 สารเคมี (ที่ไม่ซ้ำกัน) แยกได้ออกเป็น 6 แบบดังนี้คือ 1. ชื่อสารเคมีถูก CAS ถูก จำนวน 2,725 รายการ 2. ชื่อสารเคมีถูก CAS ผิด จำนวน 91 รายการ 3. ชื่อทางการค้า จำนวน 1,916 รายการ 4. สูตรเคมี จำนวน 68 รายการ 5. ชื่ออื่นที่เข้าใจว่าสารใด แต่ไม่ใช่ชื่อทางเคมี จำนวน 552 รายการ 6. ชื่อสารเคมีที่ไม่สามารถเดาได้ว่าเป็นสารเคมีใด จำนวน 882 รายการ

  44. หน่วยงานอื่น ๆ จะใช้ยุทธศาสตร์เชิงนี้ หรือไม่ ? อย่างไร ?

  45. ขั้นตอนการดำเนินงาน • แผนแม่บท • แผนปฏิบัติการ • พัฒนาดัชนีชี้วัด • ติดตามประเมินผล

  46. ตัวอย่างแผนแม่บทฯ

  47. แผนแม่บทความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2545 - 2549 (กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน)

  48. Mission Elements 1. พัฒนามาตรฐานแรงงานให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล 2. พัฒนาระบบการบังคับใช้กฎหมายแรงงานให้มีประสิทธิภาพ และมีคุณธรรม 3. พัฒนาระบบความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำงาน เพื่อป้องกันการสูญเสียของนายจ้างและลูกจ้าง 4. พัฒนาองค์กรและระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ อย่างต่อเนื่อง

More Related