1 / 50

เงินนอกงบประมาณ

เงินนอกงบประมาณ. สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ กรมบัญชีกลาง. The Office of Off-Budgetary Management. โดย สุดท้าย ชัยจันทึก. Nonbuddg@cgd.go.th. สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ. เงินนอกงบประมาณคืออะไร ?. 1. กรอบแนวคิดในการอนุญาตใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ. 2.

Télécharger la présentation

เงินนอกงบประมาณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เงินนอกงบประมาณ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ กรมบัญชีกลาง The Office of Off-Budgetary Management โดย สุดท้าย ชัยจันทึก Nonbuddg@cgd.go.th สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  2. เงินนอกงบประมาณคืออะไร ? 1 กรอบแนวคิดในการอนุญาตใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ 2 ประเภทของเงินนอกงบประมาณ/ฐานะเงินนอกงบประมาณ ระบบการบริหารและเครื่องมือที่ใช้ในการบริหาร 5 7 3 ประเภทของทุนหมุนเวียน โครงสร้างเงินนอกงบประมาณในประเทศไทย กรอบแนวทางการพัฒนาและผลลัพธ์ที่คาดหวัง 4 8 6 หัวข้อการนำเสนอ ที่มาของเงินนอกงบประมาณและขอบเขตการกำกับดูแล สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  3. เงินนอกงบประมาณคืออะไร ? สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  4. กรอบแนวคิดการอนุญาตใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณกรอบแนวคิดการอนุญาตใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  5. ความเสี่ยงด้านการคลัง ของระบบเงินนอกงบประมาณ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  6. เงินนอกงบประมาณ ในการกำกับดูแล • พ.ร.บ.เงินคงคลัง 2491 • เงินทุนหมุนเวียน • เงินฝาก เช่น เงินค่าใช้จ่ายเก็บภาษีท้องถิ่น เงินค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานการกงสุล เงินค่าใช้จ่ายในการบริหารที่ราชพัสดุ • พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ 2502 • เงินบริจาค • เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ • เงินบูรณะทรัพย์สิน • เงินรายรับสถานพยาบาล/สถานศึกษา • เงินที่ได้รับในลักษณะเงินผลพลอยได้ ข้อบังคับ ระเบียบ มาตรา 24 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 3,4, 12,13พระราชบัญญัติ เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 กรมบัญชีกลาง ที่มาของเงินนอกงบประมาณ และขอบเขตกำกับดูแล สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  7. โครงสร้างเงินนอกงบประมาณในประเทศไทยโครงสร้างเงินนอกงบประมาณในประเทศไทย สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  8. ประเภทของเงินนอกงบประมาณประเภทของเงินนอกงบประมาณ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  9. ประเภทของทุนหมุนเวียนประเภทของทุนหมุนเวียน กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เงินทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทำของ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการบริหารท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ-กองทัพเรือ กองทุนประกันสังคม กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  10. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ประเภทเงินฝาก 10. เงินกู้ 11. เงินท้องถิ่น 12. เงินผลพลอยได้ 13. เงินเพื่อประโยชน์การศึกษา 14. เงินสินบนรางวัล 15. เงินฝากต่างๆ 16. เงินรับฝากเพื่อรอจัดสรร/ถอนคืน 17. เงินนอกงบประมาณตามวัตถุประสงค์อื่น 1. เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 2. เงินบริจาค/เงินสนับสนุน 3. เงินรายรับสถานศึกษา 4. เงินรายรับสถานพยาบาล 5. เงินบูรณะทรัพย์สิน 6. เงินค่าใช้จ่ายเก็บภาษีท้องถิ่น 7. เงินรายได้จากการดำเนินงาน 8. เงินประกันสัญญา/เงินมัดจำ 9. เงินดอกเบี้ยกลางศาล/ค่าธรรมเนียมศาล/ค่าธรรมเนียมในการบังคับคดี

  11. ภาพแสดงข้อมูลทางการเงินของเงินนอกงบประมาณ (ภาพรวม) • ข้อมูลเบื้องต้น ณ 31 มีนาคม 2554 (ประจำไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554) สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  12. ภาพแสดงข้อมูลทางการเงินของเงินนอกงบประมาณ (ภาพรวม) สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  13. ภาพแสดงข้อมูลทางการเงินของเงินนอกงบประมาณ (ภาพรวม) สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  14. ทุนหมุนเวียน ณ 31 มีนาคม 2554 สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  15. เงินฝาก ณ 31 มีนาคม 2554 เงินฝากคลัง หมายถึง เงินที่กระทรวงการคลังรับฝากไว้และจ่ายคืนตามคำขอของผู้ฝาก ประกอบด้วยเงินฝากคลังของส่วนราชการ/หน่วยงานของรัฐ ซึ่งประกอบด้วย 17 ประเภท สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  16. แผนภาพแสดงข้อมูลฐานะเงินนอกงบประมาณแผนภาพแสดงข้อมูลฐานะเงินนอกงบประมาณ ปีงบประมาณ 2550-2553 สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  17. แผนภาพแสดงข้อมูลเงินนอกงบประมาณ เงินงบประมาณ และGDPปีงบประมาณ 2550-2553 หน่วย: ล้านบาท สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  18. 2.อนุมัติประมาณการรายจ่าย2.อนุมัติประมาณการรายจ่าย 1. แนวทางการจัดตั้ง 3.ประเมินผลการดำเนินงาน 4.การยุบรวม/เลิก เครื่องมือที่ใช้ในการบริหาร เงินนอกงบประมาณ กรณีทุนหมุนเวียน 2.1 อำนาจกระทรวงการคลัง 2.2 อำนาจคณะกรรมการ 5.การรายงานตาม รธน. 2550 ม. 170 สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  19. ระบบการบริหารเงินนอกงบประมาณ (ทุนหมุนเวียน) สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  20. 5.การรายงานตาม รธน. พ.ศ.2550 ม. 170 เครื่องมือที่ใช้ในการบริหาร เงินนอกงบประมาณ กรณีเงินฝาก 2.การพิจารณาอนุมัติ 2.1 แผนประมาณการรับ-จ่าย 2.2 ประมาณการรายจ่ายประจำปี 3.การให้ความตกลงนอกเหนือระเบียบ 1.การพิจารณายกเว้นการนำเงินส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน 4.การติดตามการ ใช้จ่ายเงินตามแผน สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  21. ระบบการบริหารเงินนอกงบประมาณ (เงินฝาก) สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  22. กระทรวงยุติธรรม เงินนอกงบประมาณ ในความรับผิดชอบดูแลของกระทรวงยุติธรรม ประเภทเงินฝาก ได้แก่ 1. เงินดอกเบี้ยอันเกิดจากเงินกลาง 2. เงินผลพลอยได้จากการใช้แรงงานและการฝึกวิชาชีพผู้ต้องขัง ประเภททุนหมุนเวียน ได้แก่ 3. กองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 4. กองทุนยุติธรรม สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  23. เงินดอกเบี้ยอันเกิดจากเงินกลางเงินดอกเบี้ยอันเกิดจากเงินกลาง เงินกลาง คือ เงินที่คู่ความหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องในคดีนำมาวางไว้ต่อศาลโดยบทบัญญัติ ของกฎหมาย - ค่าฤชาธรรมเนียมซึ่งคู่ความฝ่ายที่แพ้คดีต้องนำมาวางศาลพร้อมกับอุทธรณ์ – ฎีกา - เงินที่คู่ความนำมาวางเพื่อชำระหนี้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ - เงินที่ลูกหนี้ตามคำพิพากษานำมาวางศาลเพื่องดหรือถอนการบังคับคดี - เงินประกันตามคำสั่งศาลชั้นขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนมีคำพิพากษา - เงินที่นายประกันนำมาวางศาลเป็นหลักประกันในการขอประกันตัวผู้ต้องหาหรือจำเลย - เงินค่าขายทรัพย์จากการขายทอดตลาด - เงินได้จากการรวบรวมทรัพย์สินของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย - เงินในคดีวางทรัพย์ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  24. เงินดอกเบี้ยอันเกิดจากเงินกลางเงินดอกเบี้ยอันเกิดจากเงินกลาง การนำเงินดอกเบี้ยอันเกิดจากเงินกลางส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน กระทรวงการคลังและสำนักงบประมาณได้พิจารณาร่วมกัน มีความเห็นให้กระทรวงยุติธรรมดำเนินการเกี่ยวกับเงินดอกเบี้ยอันเกิดจากเงินกลางโดยให้ส่วนราชการสังกัดกระทรวงยุติธรรมนำส่งเงินดอกเบี้ยฯ เป็นจำนวนร้อยละ 10 ของยอดเงินดอกเบี้ยอันเกิดจากเงินกลางคงเหลือทุกสิ้นเดือนมีนาคมและสิ้นเดือนกันยายนของทุกปี เป็นรายได้แผ่นดิน โดยให้นำส่งภายใน 60 วัน นับจากวันสิ้นเดือนนั้น ๆ ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0507/34113 ลงวันที่ 3 กรกฎาคม 2529 สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  25. เงินดอกเบี้ยอันเกิดจากเงินกลางเงินดอกเบี้ยอันเกิดจากเงินกลาง ยอดเงินคงเหลือของเงินดอกเบี้ยอันเกิดจากเงินกลาง ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2554 จำนวน 4,943,007,484.47 บาท ประกอบด้วย สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 48,778,177.09 บาท กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน 13,371,657.95 บาท กรมคุมประพฤติ 11,626,793.15 บาท สำนักงานกิจการยุติธรรม 8,887,429.63 บาท กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 5,454,549.69 บาท กรมบังคับคดี 4,854,888,876.96 บาท สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  26. เงินผลพลอยได้จากการฝึกวิชาชีพและการใช้แรงงานผู้ต้องขังเงินผลพลอยได้จากการฝึกวิชาชีพและการใช้แรงงานผู้ต้องขัง เงินผลพลอยได้จากการฝึกวิชาชีพและการใช้แรงงานผู้ต้องขัง เป็นเงินที่ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน โดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 24 วรรคห้า แห่งพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และแก้ไขเพิ่มเติม เงินผลพลอยได้ ให้ดำเนินการดังนี้ ร้อยละ 90 ให้เรือนจำเก็บไว้เป็นเงินทุนหมุนเวียนเพื่อใช้จ่ายในการดำเนินกิจการ ร้อยละ 10 ให้เรือนจำนำส่งกรมราชทัณฑ์ เป็นเงินทุนพัฒนาพฤตินิสัย เพื่อใช้จ่ายในการสวัสดิการผู้ต้องขัง และส่งเสรมสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวกับการฝึกวิชาชีพและการใช้แรงงานผู้ต้องขัง ยอดเงินคงเหลือเงินผลพลอยได้ฯ ณ เดือนสิงหาคม 2554 มีจำนวน 68,500,000 บาท สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  27. เงินผลพลอยได้จากการฝึกวิชาชีพและการใช้แรงงานผู้ต้องขังเงินผลพลอยได้จากการฝึกวิชาชีพและการใช้แรงงานผู้ต้องขัง สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  28. กองทุนยุติธรรม กระทรวงยุติธรรมได้จัดตั้งกองทุนยุติธรรมขึ้นเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2549 โดยมีแนวคิดในการส่งเสริมสนับสนุนให้การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้เป็นไปด้วยความเสมอภาคและเป็นธรรม และสามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้ง่ายยิ่งขึ้น ภารกิจหลัก ส่งเสริมสนับสนุนให้การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน เป็นไปด้วยความเสมอภาคและเป็นธรรม ประชาชนสามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้ง่ายขึ้น อันจะส่งผลให้การอำนวยความยุติธรรมและระบบราชการโดยรวม สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  29. กองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติดกองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ.2534 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงยุติธรรม ภารกิจหลัก : บริหารจัดการทรัพย์สินของกองทุนให้เกิดประโยชน์ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด อย่างมีประสิทธิภาพ ขนาดสินทรัพย์ ณ 30 มิ.ย. 2554 (เบื้องต้น) = สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  30. กองทุนยุติธรรม • กองทุนยุติธรรมจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2549 สังกัดกระทรวงยุติธรรม ภารกิจหลัก : ให้การสนับสนุนเงินค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้ความช่วยเหลือประชาขนในด้านกฎหมาย การฟ้องร้อง การดำเนินคดี หรือการบังคับคดี การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของผู้ที่ได้รับ ความเดือดร้อน หรือไม่ได้ความเป็นธรรมหรือการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชนตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ รวมถึงผู้ที่กระทำการใด ๆ เพื่อปกป้อง คุ้มครอง หรือรักษาทรัพยากรธรรมชาติ หรือสิ่งแวดล้อม ขนาดสินทรัพย์ ณ 30 มิ.ย. 2554 (เบื้องต้น) = 89.49 ล้านบาท

  31. การรายงานการรับและการใช้จ่ายเงิน ตามมาตรา 170 แห่งรัฐธรรมนูญฯ • มาตรา 170 แห่งรัฐธรรมนูญฯ • กำหนดให้รายงานการรับและการใช้จ่ายเงินโดยหน่วยงานของรัฐที่มีเงินรายได้ ที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน • จัดทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินดังกล่าวเสนอต่อคณะรัฐมนตรี ทุกสิ้นปีงบประมาณ • เสนอรายงานฯ ต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต่อไป • กระบวนการ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  32. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ที่มา : • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 170 • กำหนด “ให้เงินรายได้ของหน่วยงานของรัฐใดที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ให้หน่วยงานของรัฐนั้นทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินดังกล่าวเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเมื่อสิ้นปีงบประมาณทุกปี • และให้คณะรัฐมนตรีทำรายงานเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต่อไป โดยการใช้จ่ายเงินรายได้ดังกล่าวต้องอยู่ภายใต้กรอบวินัยการเงินการคลังตามหมวดนี้ด้วย”

  33. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 เงินรายได้ที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน • คือ เงินรายได้ของหน่วยงานของรัฐ ซึ่งได้รับอนุมัติ/อนุญาต ตามอำนาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง /กฎหมายบัญญัติให้เก็บไว้ใช้จ่ายได้โดยไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน

  34. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 หน่วยงานของรัฐที่ต้องจัดส่งรายงานฯ • ส่วนราชการ • หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ • หน่วยงานของรัฐอื่นที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล • องค์การมหาชน • รัฐวิสาหกิจ

  35. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 แนวทางปฏิบัติในการจัดทำรายงานฯ 1. กรณีหน่วยงานที่มีการจัดทำงบการเงิน - รายงานแสดงฐานะการเงิน - รายงานแสดงผลการดำเนินงาน - รายงานการรับ – จ่ายเงิน 2. กรณีหน่วยงานที่ไม่มีการจัดทำงบการเงิน - รายงานการรับ – จ่ายเงินและเงินคงเหลือ 3. นำเสนอการวิเคราะห์การดำเนินงาน และรายงานสรุปการประเมินผลการบริหารและการดำเนินงาน

  36. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 องค์ประกอบของการจัดทำรายงานฯ

  37. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170

  38. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ตัวอย่างรูปแบบรายงานแสดงฐานะการเงิน

  39. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ตัวอย่างรูปแบบรายงานแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)

  40. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ตัวอย่างรูปแบบรายงานแสดงผลการดำเนินงาน

  41. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ตัวอย่างรูปแบบรายงานการรับ-จ่ายเงิน

  42. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ตัวอย่างรูปแบบรายงานการรับ-จ่ายเงินและเงินคงเหลือ

  43. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170

  44. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 + สรุปข้อมูลทั่วไปของเงิน รายได้ที่ไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน เช่น ประเภทเงิน ที่มาของเงิน วัตถุประสงค์ + สรุปผลการใช้จ่ายเงิน และข้อมูลอื่นๆ ผลการดำเนินงาน จากบุคคลที่ 3 (ถ้ามี) ผลการดำเนินงานจากบุคคลที่ 3 (ถ้าผลผลผ ผลการประเมินจากกรมบัญชีกลาง (กรณีทุนหมุนเวียน)

  45. การจัดทำรายงานฯ ตาม มาตรา 170 ขั้นตอนการจัดทำรายงานฯ และจัดส่งรายงานฯ ให้กรมบัญชีกลาง • 1. หน่วยงานของรัฐ (ภูมิภาค) • ดำเนินการ • สำรวจเงินรายได้ฯ จากทะเบียนคุม • จัดทำรายงานฯ แยกเป็นแต่ละประเภทเงินรายได้ฯ • จัดส่งรายงานฯ ให้ส่วนกลาง • 2. หน่วยงานของรัฐ (ส่วนกลาง) • ดำเนินการ • รวบรวมและจัดทำรายงานฯ ในภาพรวมของหน่วยงานแยกเป็นแต่ละประเภทเงินรายได้ฯ • จัดทำรายงานฯ ส่งให้กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) ภายใน 60 วันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ • 3. กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) • ดำเนินการ • จัดทำรายงานภาพรวมของเงินรายได้ฯ • นำเสนอต่อ ครม. และสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาทราบในลำดับต่อไป

  46. ตรวจสอบและยืนยันความครบถ้วนของรายงานฯ ปี 2553 (ภายใน 30 ก.ย.54) • จัดทำและส่งรายงานฯ ประจำปี 2554 (เปรียบเทียบปี 2554-2553) ภายในเดือนพฤศจิกายน 2554 สิ่งที่ต้องดำเนินการสืบเนื่อง

  47. กรอบแนวทางการพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณกรอบแนวทางการพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  48. แผนระยะสั้น (ภายใน 1 ปี) ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากร การจัดทำ “แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารเงินนอกงบประมาณ” ยุทธศาสตร์ด้านสารสนเทศ ยุทธศาสตร์ด้านการกำกับและบริหาร แนวทางดำเนินการ เพื่อพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ แผนระยะยาว (1-3 ปี) สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  49. เสริมสร้างฐานะการคลัง และบริหารเงินนอกงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ เสริมฐานะทางการคลัง การบริหารเงินนอกงบประมาณ อยู่ภายใต้กรอบวินัยการคลัง เงินนอกงบประมาณกับ ผลลัพธ์ที่คาดหวัง บริหารรายจ่ายภาครัฐให้เกิด ประโยชน์สูงสุด สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

  50. Thank You ! สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ ช่องทางติดต่อ E-mail: Nonbuddg@cgd.go.th โทรศัพท์: 0 2127 7434 (พชร อนันตศิลป์) หรือ 0 2127 7000 ต่อ 4401 โทรสาร: 0 2127 7435 สำนักกำกับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ

More Related