1 / 15

Five Forces

Five Forces. Michael E. Porter’s Five-Forces. เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ(ภาคพิเศษ)รุ่น 11 วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริหาร. การเข้ามาแข่งขัน ในอุตสาหกรรมของคู่แข่งขันใหม่ ๆ. อำนาจต่อรองของผู้จัดหาวัตถุดิบ. อำนาจต่อรองของลูกค้า. สภาวะการ แข่งขันภายในอุตสาหกรรม. สินค้าทดแทน. การวิเคราะห์ Five Forces.

andrew
Télécharger la présentation

Five Forces

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Five Forces Michael E. Porter’s Five-Forces เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ(ภาคพิเศษ)รุ่น 11 วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริหาร

  2. การเข้ามาแข่งขัน ในอุตสาหกรรมของคู่แข่งขันใหม่ ๆ อำนาจต่อรองของผู้จัดหาวัตถุดิบ อำนาจต่อรองของลูกค้า สภาวะการ แข่งขันภายในอุตสาหกรรม สินค้าทดแทน

  3. การวิเคราะห์ Five Forces 1. วิเคราะห์สภาวะการแข่งขันภายในอุตสาหกรรม 2. วิเคราะห์คู่แข่งรายใหม่ 3. วิเคราะห์สินค้าทดแทน 4. วิเคราะห์อำนาจต่อรองของลูกค้า 5. วิเคราะห์อำนาจต่อรองของซัพพลายเออร์

  4. 1. วิเคราะห์สภาวะการแข่งขันภายในอุตสาหกรรม การวิเคราะห์สภาวะการแข่งขันภายในอุตสาหกรรม ทำโดยการศึกษา • จำนวนคู่แข่ง และความสามารถในการแข่งขัน (Market Structure) • ความเจริญเติบโตของ Demand • ความแตกต่างของสินค้า Product Differences • กำลังการผลิตส่วนเกิน

  5. 1. วิเคราะห์สภาวะการแข่งขันภายในอุตสาหกรรม (ต่อ) • ต้นทุนคงที่ของอุตสาหกรรม • ต้นทุนในการเก็บรักษา • อุปสรรคกีดขวางการออกจากธุรกิจ -- Sunk Cost, การเปลี่ยนแปลงเครื่องจักร และโรงงานไปทำการผลิตสินค้าอื่น กระทำได้ยาก, ความผูกพันทางจิตใจ, หน้าตา และชื่อเสียง, ผลกระทบโดยรวมของธุรกิจทั้งหมด (ความต่อเนื่อง) , ข้อตกลงกับ สหภาพแรงงาน

  6. 2. วิเคราะห์คู่แข่งรายใหม่ ผู้แข่งขันรายใหม่ จะเข้ามาแข่งขันในตลาดได้ ขึ้นอยู่กับปัจจัย 2 ประการคือ • Barrier to Entry อุปสรรคกีดขวางการเข้ามาในอุตสาหกรรมนี้ง่ายหรือยาก • การป้องกัน หรือการตอบโต้จากคู่แข่งเดิมในตลาดอำนาจต่อรองของซัพพลายเออร์

  7. 2. วิเคราะห์คู่แข่งรายใหม่ (ต่อ) Barrier to Entry อุปสรรคกีดขวางการเข้ามาในอุตสาหกรรมนี้ง่ายหรือยาก ซึ่งได้แก่ • การประหยัดจากขนาด (Economies of Scale) • ความแตกต่างของสินค้า (Product Differentiation) หรือความภักดีต่อยี่ห้อ (Brand Royalty) • เงินลงทุน (Capital Requirements)

  8. 2. วิเคราะห์คู่แข่งรายใหม่ (ต่อ) • การเข้าถึงช่องทางในการจัดจำหน่าย (Access to distribution Channel) • นโยบายของรัฐบาล (Government Policy) รวมถึงสัมปทาน และใบอนุญาตต่าง ๆ • ต้นทุนแฝงในการเปลี่ยนแปลงสินค้าที่ใช้ (Switching Cost) • ข้อได้เปรียบในเรื่องของการเป็นเจ้าของเทคโนโลยี่ ประสิทธิผลที่ได้จากการเรียนรู้

  9. 2. วิเคราะห์คู่แข่งรายใหม่ (ต่อ) การป้องกัน หรือการตอบโต้จากคู่แข่งเดิมในตลาด คู่แข่งรายใหม่ อาจศึกษาจากพฤติกรรมของคู่แข่งเดิมในตลาด ที่เคยทำในการตอบโต้การเข้าตลาด ซึ่งการป้องกันจากผู้คู่แข่งเดิม อาจทำโดย การใช้การตัดราคา ซึ่งพบว่า ถ้าตลาดค่อนข้างอิ่มตัว หรือโตช้า ผู้แข่งเดิม มักจะตอบโต้อย่างรุนแรง เพื่อรักษาส่วนแบ่งตลาดไว้ ซึ่งตรงข้ามกับตลาดสินค้าที่ยังเติบโต ซึ่งไม่ค่อยมีการตัดราคารุนแรง

  10. 3. วิเคราะห์สินค้าทดแทน วิเคราะห์สินค้าทดแทน เป็นสิ่งที่คุกคามเราได้ง่าย ซึ่งทำให้ปริมาณการขาย และกำไร ลดลง ซึ่งต้องพิจารณาถึง • ความยืดหยุ่นในการทดแทนกันของสินค้า • ต้นทุน หรือค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนแปลงไปสู่สินค้าทดแทน • ระดับความจงรักภักดีในสินค้า • ระดับราคาสินค้าทดแทน และคุณสมบัติในการใช้งานของสินค้าทดแทน

  11. 4. วิเคราะห์อำนาจต่อรองของลูกค้า วิเคราะห์อำนาจต่อรองของลูกค้า เกี่ยวข้องการตั้งราคาขาย ซึ่งโยงไปหากำไรของผู้ผลิต ซึ่งอำนาจต่อรองเกิดจาก • ปริมาณการซื้อที่มาก ทำให้ผู้ซื้อมีอำนาจต่อรองสูง • ข้อมูลต่าง ๆ ของสินค้า ที่ผู้ซื้อทราบยิ่งมีมาก ก็ยิ่งมีอำนาจในการต่อรองสูง • Brand Royalty • การรวมตัวของกลุ่มผู้ซื้อ ยิ่งมาก อำนาจในการต่อรองยิ่งมาก

  12. 4. วิเคราะห์อำนาจต่อรองของลูกค้า (ต่อ) วิเคราะห์อำนาจต่อรองของลูกค้า เกี่ยวข้องการตั้งราคาขาย ซึ่งโยงไปหากำไรของผู้ผลิต ซึ่งอำนาจต่อรองเกิดจาก • ยิ่งความสามารถของผู้ซื้อ ที่อาจจะไปผลิตสินค้าเอง หรือความสามารถรวมกิจการไปข้างหลัง (Backward Integration) ได้ดีเท่าไร อำนาจต่อรองก็สูง • ยิ่งต้นทุนในการเปลี่ยนแปลงไปใช้สินค้าคู่แข่งอื่น ต่ำเพียงไร อำนาจในการต่อรองยิ่งสูง

  13. 5. วิเคราะห์อำนาจต่อรองของซัพพลายเออร์ วิเคราะห์อำนาจต่อรองของซัพพลายเออร์ ในฐานที่เราเป็น ผู้ผลิตที่ซื้อมา แล้วขายไป หรือเราเป็นผู้ผลิตที่ซื้อวัตถุดิบจากซัพพลายเออร์ ยิ่งอำนาจต่อรองเรามากเพียงใด ต้นทุนในการผลิตก็จะยิ่งต่ำ และทำให้เกิดกำไรมากขึ้น ปัจจัยเหล่านี้ได้แก่ • จำนวนผู้ขายวัตถุดิบ ยิ่งน้อยราย ทำให้ Suppliers มีอำนาจต่อรองมากขึ้น และสัดส่วนที่ Suppliers นั้นขายให้เรายิ่งน้อย อำนาจในการต่อรองยิ่งเพิ่มขึ้น

  14. 5. วิเคราะห์อำนาจต่อรองของซัพพลายเออร์ (ต่อ) • การรวมตัวของ Suppliers ยิ่งมาก อำนาจต่อรองของ Suppliers ยิ่งมาก • จำนวนแหล่งวัตถุดิบ หรือวัตถุดิบที่มียิ่งน้อย อำนาจต่อรองของ Suppliers ยิ่งมาก • ความแตกต่าง และความเหมือนของวัตถุดิบ ยิ่งมาก ทำให้อำนาจต่อรองของ Suppliers ยิ่งมาก ยิ่งถ้า Supplier นั้นเป็นผู้ผลิตรายเดียว ยิ่งทำให้เขามีอำนาจต่อรองเพิ่มขึ้น

  15. 5. วิเคราะห์อำนาจต่อรองของซัพพลายเออร์ (ต่อ) • และเช่นเดียวกัน ถ้าความสามารถในการลงลึก เข้าไปทำการผลิตเอง หรือเข้าไปทำแข่งขันกับ Suppliers หรือ ความสามารถในการ Forward Integration ยิ่งน้อย จะทำให้ Suppliers ยิ่งมีอำนาจต่อรองสูง

More Related