1 / 145

ลงลิฟท์ กลับมาทบทวน บันไดขั้นที่ 1 เพื่อคุณภาพ อย่างยั่งยืน

ลงลิฟท์ กลับมาทบทวน บันไดขั้นที่ 1 เพื่อคุณภาพ อย่างยั่งยืน. ธวัช ชาญชญานนท์และคณะ สำหรับอบรมเชิงปฏิบัติการ การทบทวนบันไดขั้นที่หนึ่ง 6 มีนาคม 2552. การรับรองเป็นเพียงแรงจูงใจ และให้กำลังใจแก่การทำดี คุณค่าที่แท้จริงอยู่ที่คุณภาพ และความปลอดภัยที่ให้แก่ผู้ป่วย.

andrew
Télécharger la présentation

ลงลิฟท์ กลับมาทบทวน บันไดขั้นที่ 1 เพื่อคุณภาพ อย่างยั่งยืน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ลงลิฟท์ กลับมาทบทวน บันไดขั้นที่ 1 เพื่อคุณภาพ อย่างยั่งยืน ธวัช ชาญชญานนท์และคณะ สำหรับอบรมเชิงปฏิบัติการ การทบทวนบันไดขั้นที่หนึ่ง 6 มีนาคม 2552

  2. การรับรองเป็นเพียงแรงจูงใจ และให้กำลังใจแก่การทำดีคุณค่าที่แท้จริงอยู่ที่คุณภาพและความปลอดภัยที่ให้แก่ผู้ป่วย

  3. การพัฒนาคุณภาพที่ง่าย มัน ดีและมีความสุข

  4. สบายๆ ตามบันไดสามขั้น ขั้นแรก ไฟลุกตรงไหน ตามไปดูตรงนั้น กันอย่าให้เกิดซ้ำ ขั้นสอง มองงานของตนเอง หาเป้า เฝ้าดู ทำให้บรรลุเป้า ขั้นสาม มองมาตรฐาน เชื่อมโยง ประเมินผล เรียนรู้ ยกระดับ ก้าวแรกที่เข้าใจ ก้าวต่อไปก็ไม่ใช่เรื่องยาก

  5. ลักษณะของการพัฒนาในบันไดขั้นที่ 2 • เปลี่ยนจากการตั้งรับปัญหา มาสู่การวิเคราะห์และวางระบบที่ดี • มุ่งเน้นการวางระบบ ป้องกันความเสี่ยง และการพัฒนาต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองต่อเป้าหมายและบริบทของหน่วยงาน • กำหนดเครื่องชี้วัดสำคัญเพื่อติดตามการบรรลุเป้าหมาย • มีการนำมาตรฐาน HA ที่จำเป็นมาสู่การปฏิบัติ • ทบทวนคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และเชื่อมต่อกับระบบงานสำคัญ

  6. เกณฑ์การตัดสิน บันไดขั้นที่ 2 • การทบทวนคุณภาพ • ทบทวนอย่างต่อเนื่อง และเชื่อมต่อกับระบบงานที่สำคัญ • การวิเคราะห์โอกาสพัฒนาและการปรับปรุง • ทุกหน่วยงานและทีมสหสาขาวิชาชีพ (PCT) วิเคราะห์ unit/team profile • การวิเคราะห์นำไปสู่การกำหนดลำดับความสำคัญในการพัฒนาที่ตรงประเด็นและเครื่องชี้วัดที่เหมาะสม • มีการปรับปรุงตามโอกาสพัฒนาที่วิเคราะห์ได้และครอบคลุมประเด็นที่มีสำคัญสูง, มีการทบทวนโอกาสพัฒนา, มีความเข้าใจและการปฏิบัติในหน่วยงานหลักที่สำคัญ • การพัฒนาตามมาตรฐาน HA • มีกระบวนการที่ดี, ครอบคลุมประเด็นสำคัญ, มีโอกาสที่จะนำไปสู่ผลลัพธ์ตามเป้าหมายของมาตรฐาน, แกนหลักมีความเข้าใจ

  7. เกณฑ์การตัดสิน บันไดขั้นที่ 2 • การใช้ core value & concept • มีการกำหนดความคาดหวังที่ชัดเจน, แกนนำสามารถอธิบายและยกตัวอย่างการนำไปปฏิบัติได้ • ทิศทางนำ:เด่นชัดในผู้นำระดับสูง • ผู้รับผล:ตอบสนองความต้องการที่สำคัญ • คนทำงาน:มีการทำงานเป็นทีมภายในหน่วยงาน/วิชาชีพ • การพัฒนา:ประยุกต์ใช้เครื่องมือและเทคนิคได้เหมาะสมกับปัญหา • พาเรียนรู้:เรียนรู้และพัฒนา • แนวคิดง่ายๆ • ทำงานประจำให้ดี มีอะไรให้คุยกัน ขยันทบทวน • เป้าหมายชัด วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด

  8. ลักษณะของการพัฒนาในบันไดขั้นที่ 3 • มีการนำมาตรฐาน HA ที่มาสู่การปฏิบัติอย่างครบถ้วน • มีการเชื่อมโยง การใช้นวตกรรม • มีการประเมินผล เรียนรู้ และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • แสดงให้เห็นผลลัพธ์ที่ดีขึ้นหรือการบรรลุเป้าหมายขององค์กร • มีวัฒนธรรมคุณภาพและวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้

  9. จากสิ่งที่เรียบง่ายในธรรมชาติจากสิ่งที่เรียบง่ายในธรรมชาติ การตอบสนอง สิ่งเร้า

  10. สู่ความสามารถในการเรียนรู้ของมนุษย์สู่ความสามารถในการเรียนรู้ของมนุษย์ ตอบสนอง ทบทวน เรียนรู้ สิ่งเร้า ปรับปรุง

  11. และระบบที่ซับซ้อนขององค์กรและระบบที่ซับซ้อนขององค์กร แนวคิด/หลักการ การตอบสนอง สิ่งเร้า/บริบท การออกแบบ การเรียนรู้ แนวทาง/ตัวอย่าง การปรับปรุง

  12. แนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพแนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพ สิ่งที่กำกับอยู่ในใจ Do Core Value & Concept Action Plan Study ภูมิหลังของเรา Units Systems Patient Pop. HPH Objective/Indicator Design Context Learning เข็มทิศเดินทาง Standard/Criteria Improvement Act Customer & needs Capability & limitation Challenges

  13. การทบทวนในบันไดขั้นที่ 1 Risk & Safety Teamwork Customer แนวคิด/หลักการ ตอบสนอง ทบทวน เรียนรู้ เหตุการณ์ แนวทาง/ตัวอย่าง ปรับปรุง

  14. แนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพแนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพ สิ่งที่กำกับอยู่ในใจ Core Value & Concept Action โลกที่เป็นจริง Units Systems Patient Pop. HPH Context Design Learning เข็มทิศเดินทาง Standard/Criteria Improvement

  15. Core Values & Concept Visionary Leadership System Perspective Agility Patient Focus Focus on Health Community Responsibility Value on Staff Individual Commitment Teamwork Ethic & Professional Standard ทิศทางนำ ผู้รับผล คนทำงาน การพัฒนา พาเรียนรู้ Creativity & Innovation Management by Fact Continuous Process Improvement Focus on Results Evidence-based Approach Learning Empowerment

  16. Core Values & Concept in Clinical Tracer Visionary Leadership System Perspective Agility Patient Focus Focus on Health Community Responsibility Value on Staff Individual Commitment Teamwork Ethic & Professional Standard ทิศทางนำ ผู้รับผล คนทำงาน การพัฒนา พาเรียนรู้ Creativity & Innovation Management by Fact Continuous Process Improvement Focus on Results Evidence-based Approach Learning Empowerment

  17. หลักง่ายๆ ชุดที่หนึ่ง (งานประจำ) • ทำงานประจำให้ดี (Commitment) • มีอะไรให้คุยกัน (Team Work) • ขยันทบทวน (Learning, Continuous Improvement)

  18. หลักง่ายๆ ชุดที่สอง (การพัฒนา) • เป้าหมายชัด (Visionary Leadership) • วัดผลได้ (Focus on result, Management by Fact) • วัดตรงประเด็น อย่าให้เป็นภาระ • ให้คุณค่า (Focus on Patient, Focus on Health) • อย่ายึดติด (Creativity & Innovation, Agility) • อย่าติดรูปแบบ • ลอกเลียนได้ แต่ต้องปรับให้เข้ากับของเรา • ไม่เลือกบุคคล สถานที่ เวลา

  19. เป้าหมายชัด • เป้าหมายทำให้งาน “ว้า น่าเบื่อ” เป็นงาน “ว้าว” • เป้าหมายมีได้ในทุกเรื่อง ทุกระดับ • เป้าหมายหาได้เพียงถามว่า “ทำไปทำไม” • ทำไมต้องมีคลินิกเบาหวาน • ทำไมต้องตรวจตลาด • ทำไมต้องกวาดล้างยุงลาย • ต่อจากเป้าหมายคือการถามว่า“แล้วทำตามเป้าหมายได้ผลดีเพียงใด”

  20. วัด (ประเมิน) ผลได้ • การประเมินที่ตรงประเด็น คือประเมินเปรียบเทียบกับเป้าหมาย • การประเมินที่ไม่เป็นภาระคืออย่ารีบกระโดดไปหาตัวชี้วัด • การประเมินด้วยวิธีการเชิงคุณภาพเป็นเรื่องที่ทำได้ง่าย ทำให้เห็นประเด็นได้ครอบคลุม

  21. ประเด็นสำคัญ จุดแข็งจุดอ่อน จัดลำดับความสำคัญ ประเมินด้วยความรู้สึก แปลงความรู้สึกเป็นคะแนน เลือกบางเรื่องมาติดตามตัวชี้วัด

  22. ประเด็นสำคัญ Psychosocial Support ARV continuity OI Prevention + การรวมกลุ่ม self help group - การยอมรับของครอบครัว/ชุมชน - มีบางคนยังไม่ยอมเข้าร่วมกลุ่ม Concern/จุดแข็งจุดอ่อน + การรวมกลุ่ม self help group - การยอมรับของครอบครัว/ชุมชน - มีบางคนยังไม่ยอมเข้าร่วมกลุ่ม จัดลำดับความสำคัญ ประมาณว่ามีครอบครัวอยู่ในแต่ละระดับเป็นสัดส่วนเท่าใด ประเมินด้วยความรู้สึก แปลงความรู้สึกเป็นคะแนน ระดับการยอมรับและช่วยเหลือของครอบครัว 1. ทอดทิ้งไปเลย 2. อยู่ระหว่างการทำใจ 3. ยอมรับ แต่ขาดศักยภาพ 4. มีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน เลือกบางเรื่องมาติดตามตัวชี้วัด

  23. ประเมิน HPในชุมชน • ระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน • เมินเฉย (Ignorance) • ให้ทำอะไรก็ทำ (Passive) • ค้นหาตัวเอง • คิดเอง ทำเอง (Proactive) • มีสัดส่วนของชุมชนในแต่ละกลุ่มเท่าไร • จะเลือกทำอะไร กับชุมชนใด

  24. ให้คุณค่า: การให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วย • สถานการณ์ “ผู้ป่วยเป็นเบาหวานและไตวาย แพทย์สั่งอาหารเบาหวานและลดเค็ม” • พยาบาลวางแผนให้สุขศึกษาเรื่อง “ลดอาหารเค็มจัด” • คำถามเพื่อตรวจสอบการทำงาน • สิ่งที่สอนนั้นจะเกิดผลในทางปฏิบัติหรือไม่? • ถ้าไม่ได้ มีข้อจำกัดอะไร จะร่วมกันหาทางออกอย่างไร? • ผู้ป่วยจะรู้ได้อย่างไรว่าปฏิบัติได้ในระดับที่เหมาะสม?

  25. ไม่เลือก บุคคล สถานที่ เวลาคุณภาพและคุณค่าในทุกลมหายใจ • Lab สามารถทำอะไรได้บ้างในระหว่างเจาะเลือดผู้ป่วย DM • คุยกับผู้ป่วย • “ครั้งที่แล้วผลน้ำตาลเป็นอย่างไร” • “ค่าที่ได้มีความหมายว่าอย่างไร” • “คุณหมอ/พยาบาลแนะนำว่าอย่างไร” • “ทำได้ตามที่แนะนำหรือเปล่า” • Feedback ข้อมูลสำคัญกลับไปให้แพทย์/พยาบาล • เล่าเรื่องสนุกๆ ให้ผู้ป่วยฟัง • เจ้าตัวคือผู้ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด • ความสัมพันธ์ระหว่างอาหาร การออกกำลัง กับ น้ำตาล

  26. แนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพแนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพ สิ่งที่กำกับอยู่ในใจ Core Value & Concept Action โลกที่เป็นจริง Units Systems Patient Pop. HPH Context Design Learning เข็มทิศเดินทาง Standard/Criteria Improvement

  27. บริบทของโรงพยาบาลชุมชนบริบทของโรงพยาบาลชุมชน • ลักษณะของ รพ.ชุมชน (ที่แตกต่างจาก รพ.ระดับอื่น) • ลักษณะเฉพาะของ รพ. แต่ละแห่ง • เป้าหมายสำคัญ/ปัญหาท้าทายที่โรงพยาบาลต้องเผชิญ • ข้อจำกัด • โรคที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ โรคที่เป็นโอกาสพัฒนา • ผู้ป่วย/ผู้รับผลงานสำคัญ ความต้องการของแต่ละกลุ่ม ความซับซ้อนของผู้ป่วย • ลักษณะโดยรวมของบุคลากร อายุ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ • สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม เครือข่าย การมีส่วนร่วม • อื่นๆ • จากบริบทที่วิเคราะห์ได้แต่ละประเด็น ทำให้เห็นจุดที่ควรใส่ใจในเรื่องคุณภาพอะไรบ้าง

  28. ทบทวนคุณค่าของการทบทวนทบทวนคุณค่าของการทบทวน ความรู้สึกต่อการทบทวน ปัญหาในการทบทวน ? วิธีการสร้างสรรค์ที่นำมาใช้ คุณค่าของการทบทวน

  29. รวมทั้งรพ. ทั้งระดับรพ. และระดับหน่วย ทำในแต่ละหน่วย ลดภาระในการทบทวนของแต่ละหน่วย 1. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย 2. การทบทวนความคิดเห็น/คำร้องเรียนของผู้รับบริการ 3. การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา 4. การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ชำนาญกว่า 5. การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง 6. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 7. การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 8. การทบทวนการดูแลผู้ป่วยจากเหตุการณ์สำคัญ 9. การทบทวนความสมบูรณ์ของเวชระเบียน 10. การทบทวนการใช้ความรู้ทางวิชาการ 11. การทบทวนการใช้ทรัพยากร 12. การติดตามเครื่องชี้วัดสำคัญ

  30. เหตุการณ์ Root cause ระบบที่เกี่ยวข้อง ความคาดหวังต่อระบบที่ดี นำเหตุการณ์/อุบัติการณ์มาเล่าสู่กันฟัง

  31. จุดพลังและสร้างคุณค่าจุดพลังและสร้างคุณค่า ยกตัวอย่างรูปธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ? หาวิธีการทำให้ดียิ่งขึ้น ระบุประเด็นที่ยังไม่เห็นทางออก

  32. จากบทเรียนของบุคคล ไปสู่กลุ่มและองค์กร เรียนรู้ ทำงาน แลกเปลี่ยน สรุปบทเรียน เก็บลงฐานข้อมูล ทำสื่อเรียนรู้ ขยายการเรียนรู้ เอาความรู้ฝังเข้าไป ในงานและบริการ

  33. ถามตนเองทุกวัน หัวหน้าพาทำ ทำไมเรายังต้องพัฒนาคุณภาพ วันพรุ่งนี้ตัวเราเองจะทำอะไรให้ดีขึ้น จะทำให้งานของเราง่ายขึ้นได้อย่างไร จะช่วยให้เพื่อนของเราทำงานได้ง่ายขึ้นอย่างไร จะทำให้ลูกค้าของเราได้รับคุณค่ามากขึ้นได้อย่างไร เราทำหน้าที่ตามเป้าหมายของหน่วยงานและองค์กรได้สมบูรณ์หรือยัง

  34. ทบทวนการ ดูแลรักษา หาโอกาสสอดแทรก การสร้างเสริมสุขภาพ C3THER Holistic Empowerment Lifestyle Prevention จากทำให้ สู่ช่วยให้ทำเองได้ Empower ผู้ป่วยและครอบครัว พิจารณาให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต ป้องกันมิให้เป็นซ้ำ ป้องกันสำหรับคนอื่น ต่อเชื่อมกับกิจกรรมในชุมชน

  35. ทำกิจกรรม ตามนโยบาย ทำงานนโยบาย ให้มีคุณภาพ กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน กำหนดผลลัพธ์ที่ต้องการ ติดตามวัด ประเมินผล ปรับปรุงให้ได้ผล -พฤติกรรม -การดูแลตนเอง -ผลลัพธ์สุขภาพ

  36. ทำจากแรง กระตุ้นภายใน ทำเพราะถูกสั่ง ไม่สั่งก็ทำ ไม่มีคนอื่นทำ ก็ทำคนเดียว ทำจนเป็นความเคยชิน ทำจนความคิดและพฤติกรรมเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น ชวนกันทำมากขึ้น

  37. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? หัวใจสำคัญของการทบทวนขณะดูแลผู้ป่วยคืออะไร เพิ่มความไวในการค้นหาปัญหาของผู้ป่วย ตอบสนอง/แก้ปัญหาของผู้ป่วยในทันที เรียนรู้จากสิ่งที่ผู้ป่วยแต่ละคนหยิบยื่นให้ เรียนรู้จากมุมมองของวิชาชีพอื่น เห็นประเด็นที่จะนำไปปรับปรุงระบบงาน

  38. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? ทุกหน่วยงานจะต้องทบทวนเรื่องนี้หรือไม่ - หน่วยงานที่จะได้ประโยชน์จากการทบทวนนี้มากที่สุด คือหอผู้ป่วย หรือ ห้องสังเกตอาการ ซึ่งมีระยะเวลาสัมผัสกับผู้ป่วยนานพอ - หน่วยงานอื่นๆ อาจจะประยุกต์แนวคิดนี้ไปใช้ได้ - หน่วยงานเช่น OPD, ER,ทันตกรรม มีวิธีการอื่นที่ ให้ประโยชน์ เช่น Trauma Audit, Retrospective Review

  39. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? จะต้องทบทวนให้ครบ C3THERทุกครั้งหรือไม่ - C3THER เป็นเพียงเครื่องเตือนใจเพื่อความครบถ้วน ในการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ - ในขั้นฝึกปฏิบัติ ควรทบทวนให้ครบทุกประเด็น - เมื่อเข้าใจเป้าหมายและมีทักษะในการมองปัญหาดีแล้ว อาจจะเลือกทบทวนเฉพาะประเด็นสำคัญของผู้ป่วยแต่ละราย - เมื่อคล่องแล้ว อาจจะใช้สูตรเตือนใจอื่นๆ ก็ได้

  40. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? จำเป็นต้องทบทวนโดยทีมสหสาขาวิชาชีพหรือไม่ - ทีมสหสาขาวิชาชีพ ช่วยให้เกิดมุมมองที่หลากหลาย และช่วยในการประสานแผนการดูแลผู้ป่วย มีความจำเป็นในผู้ป่วยที่ซับซ้อน - การรอทบทวนโดยทีมสหสาขาวิชาชีพเพียงอย่างเดียว อาจจะทำให้เสียโอกาสในการเรียนรู้จากผู้ป่วย - แนะนำให้ทบทวนในทุกโอกาสที่เป็นไปได้ เมื่อมีเวลาว่าง, หรือระหว่างที่ให้การดูแล/รักษา/พยาบาลผู้ป่วย จะเป็นโดยคนคนเดียว หรือร่วมกับเพื่อนก็ได้

  41. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? ควรทบทวนบ่อยเพียงใด - ทุกคนที่ขึ้นทำงานกับผู้ป่วย ควรฝึกทบทวนในทุกโอกาสที่ทำได้ ไม่ต้องรอคนอื่น สามารถทำได้ทุกวัน - การทบทวนร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ ควรทบทวนทุกสัปดาห์ ถ้าเป็นไปได้ - ในการตรวจเยี่ยมผู้ป่วยร่วมกันระหว่างแพทย์กับพยาบาล ก็สามารถฝึกซ้อมการทบทวนในบางประเด็นที่สังเกตเห็นได้

  42. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? จะบันทึกข้อมูลอย่างไร - R คือส่วนหนึ่งของการทบทวนเวชระเบียน ถ้าเวชระเบียนไม่สมบูรณ์ ก็ควรบันทึกข้อมูลเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ - ถ้าการทบทวนพบปัญหาบางอย่างที่มองข้ามไป ก็ควรบันทึกสิ่งที่พบเห็นและการดูแลผู้ป่วยที่เพิ่มเติมขึ้นมานั้นในเวชระเบียน - อาจพบว่าบางกรณีมีความน่าสนใจที่ควรบันทึกไว้เรียนรู้ในอนาคต ก็ควรจดบันทึกไว้ต่างหาก หากยินดีเผื่อแผ่ให้เพื่อนๆ ในโรงพยาบาลอื่นได้รับรู้ พรพ.ก็พร้อมที่จะเป็นตัวกลางให้

  43. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? จะเชื่อมโยงกับเรื่องความเสี่ยงทางคลินิกอย่างไร - การพิจารณาว่าผู้ป่วยรายนั้นมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนอะไร มีอะไรที่เราละเลยไป คือการค้นหาความเสี่ยงทางคลินิก - การที่เราตอบสนองต่อความเสี่ยงที่ค้นพบ คือการจัดการกับความเสี่ยงเพื่อป้องกันผลที่ไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลที่พบเหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการป้องกันความเสี่ยงสำหรับผู้ป่วยที่มีลักษณะคล้ายกัน

  44. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? ถ้าไม่มีการบันทึกข้อมูลการทบทวนต่างหาก จะรวบรวมความเสี่ยงทางคลินิกอย่างไรให้ครบถ้วน • - การบันทึกข้อมูลสรุปความเสี่ยงที่พบไว้อย่างง่ายๆ จะช่วยให้การวิเคราะห์ความเสี่ยงทางคลินิกทำได้ง่ายและครบถ้วนมากขึ้น • มีวิธีการอื่นๆ ที่เราสามารถระบุความเสี่ยงทางคลินิกได้ • - ทบทวนจากประสบการณ์ของทีมงาน • - ตรวจเยี่ยมเพื่อค้นหาความเสี่ยงเป็นการเฉพาะ • - ทบทวนจากเวชระเบียน • - รวบรวมจากรายงานอุบัติการณ์ • - วิเคราะห์จาก flow chartในการดูแลโรคนั้น

  45. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? ผู้ประเมินจะทราบอย่างไรว่า รพ. มีการทบทวน - ดูเวชระเบียน เห็นบันทึกการดูแลที่ครอบคลุม - ถามทีมงาน ได้รับบทเรียนอะไรจากการทบทวน การทบทวนนำมาสู่การปรับปรุงที่สำคัญอะไรบ้าง - ดูผู้ป่วยที่น่าสนใจ ทีมงานเห็นประเด็นที่ควรจะเห็นหรือไม่

  46. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? การทำ M&M Conferenceใช้แทนได้หรือไม่ - M&M Conference เทียบได้กับการทบทวนอุบัติการณ์ที่รุนแรง ซึ่งนานๆ ครั้งจะเกิดขึ้น - M&M Conference เป็นการทบทวนหลังจากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์แล้ว มิใช่การทบทวนระหว่างการดูแลผู้ป่วย

  47. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? จำเป็นหรือไม่ที่ต้องทบทวนข้างเตียงผู้ป่วย - การดูผู้ป่วยที่ข้างเตียง จะได้รับข้อมูลมากกว่าการรับฟังการนำเสนอในห้องประชุม - การอภิปรายในทีม ไม่ควรกระทำที่ข้างเตียงผู้ป่วย - อย่าหลงประเด็นสับสนกับการทำ Journal Clubซึ่งเป็นการทบทวนความรู้ทางวิชาการที่ควรทำ แต่ไม่ควรดึงทีมออกมาจากการดูสภาพจริงที่ตัวผู้ป่วย

  48. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? คาดหวังว่าจะต้องนำผลการทบทวนไปใช้แค่ไหน ปรับปรุงการดูแลผู้ป่วยรายนั้นทันที ปรับปรุงระบบงานที่เกี่ยวข้อง สื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจเหตุผลของการปรับระบบงาน จัดระบบที่จะให้มีการเรียนรู้ร่วมกันในอนาคต ทุกคนมีความไวมากขึ้นในการตรวจจับปัญหา

  49. จุดพลังและสร้างคุณค่าจุดพลังและสร้างคุณค่า ยกตัวอย่างรูปธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ? หาวิธีการทำให้ดียิ่งขึ้น ระบุประเด็นที่ยังไม่เห็นทางออก

  50. วางระบบ ทบทวน จากคอยไล่ดับไฟ สู่การป้องกันไฟ จากการแก้ไขเป็นรายๆ สู่ความครอบคลุมทุกๆ ราย

More Related