1 / 99

การดูแลสุขภาพ กายและใจ ของข้าราชการตำรวจ

การดูแลสุขภาพ กายและใจ ของข้าราชการตำรวจ. การดูแล สุขภาพ ตำรวจ ๕ พย. ๒๕๕๖. ข้าราชการตำรวจ มีหน้าที่. ตรวจตรารักษาความสงบ มีอำนาจจะสอบสวน จับกุม คุมขัง ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย เป็นผู้ที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบอันใหญ่หลวงในการดูแลคุ้มครอง ให้เกิดความสงบสุขแก่พลเมืองของประเทศ.

annis
Télécharger la présentation

การดูแลสุขภาพ กายและใจ ของข้าราชการตำรวจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดูแลสุขภาพ กายและใจของข้าราชการตำรวจ • การดูแล • สุขภาพ • ตำรวจ ๕ พย. ๒๕๕๖

  2. ข้าราชการตำรวจ มีหน้าที่ • ตรวจตรารักษาความสงบ • มีอำนาจจะสอบสวน • จับกุม คุมขัง • ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย • เป็นผู้ที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบอันใหญ่หลวงในการดูแลคุ้มครอง ให้เกิดความสงบสุขแก่พลเมืองของประเทศ

  3. สุขภาพ

  4. การดูแลสุขภาพของข้าราชการตำรวจการดูแลสุขภาพของข้าราชการตำรวจ ใครดูแล ?? • ดูแลตนเอง • บุคคลากรทางการแพทย์ • สถาบันทางการแพทย์ โรงพยาบาลรัฐ โรงพยาบาลเอกชน สุขภาพ

  5. การดูแลสุขภาพของข้าราชการตำรวจ ใครดูแล ?? ดูแลตนเอง อย่างไร ?? • มีความรู้ • มีความเข้าใจ • มีวินัย • มีศรัทธา สุขภาพ

  6. การดูแลสุขภาพของข้าราชการตำรวจ ใครดูแล ?? • บุคคลากรทางการแพทย์ • ผู้เชี่ยวชาญ • ผู้ชำนาญการ • แพทย์เฉพาะทาง สุขภาพ

  7. การดูแลสุขภาพของข้าราชการตำรวจ ใครดูแล ?? • สถาบันทางการแพทย์ โรงพยาบาลรัฐ โรงพยาบาลเอกชน • พร้อมให้บริการ • มีระบบปฏิบัติการที่มี มาตรฐาน และรวดเร็ว • ทันสมัย และ มีประสพการณ์ สุขภาพ

  8. การดูแลสุขภาพของข้าราชการตำรวจ ใครดูแล ?? ดูแลตนเอง อย่างไร ?? • มีความรู้ • มีความเข้าใจ • มีวินัย • มีศรัทธา สุขภาพ

  9. การดูแลสุขภาพของข้าราชการตำรวจ จุดมุ่งหมาย?? จุดมุ่งหมาย ?? • สุขภาพ สภาพ ที่มีความสุข กาย และ ใจ • ความสุขที่แท้จริง • ความสุข และ ความเจริญ สุขภาพ

  10. โรคหัวใจ และ หลอดเลือด • โรคหัวใจแต่กำเนิด • โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง

  11. โรคหัวใจ และ หลอดเลือด • โรคหัวใจแต่กำเนิด • โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ....................................... • โรคลิ้นหัวใจพิการ (ลิ้นหัวใจตีบ ลิ้นหัวใจรั่ว) • โรคหัวใจวาย • ความดันโลหิตสูง................................................... • โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ • โรคเนื้องอกของหัวใจ

  12. Atherosclerosis:

  13. ปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจ • ภาวะคอเลสเตอรอลในเลือดสูง • ความดันโลหิตสูง • เบาหวาน • ความอ้วน • ความเครียด • การขาดการออกกำลังกาย • การสูบบุหรี่การดื่มสุรา • การมีประวัติในครอบครัวเป็นโรคหัวใจขาดเลือด

  14. ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ • อายุ • ประวัติครอบครัว • ไขมันในเลือดสูง • ความดันโลหิตสูง • เบาหวาน • เพศ • สูบบุหรี่ • โรคอ้วน • การไม่ออกกำลังกาย • ลักษณะนิสัย

  15. การใช้ชีวิต • 3 3อ • อารมณ์ • อาหาร • ออกกำลังกาย

  16. Relationship of Serum Cholesterol to Mortality (Seven Countries Study) 35 Northern Europe 30 25 United States 20 Death rate from CHD/1000 men 15 Southern Europe, inland 10 Serbia Southern Europe, Mediterranean 5 Japan 0 2.60 3.25 3.90 4.50 5.15 5.80 6.45 7.10 7.75 8.40 9.05 Serum total cholesterol (mmol/l) (Adapted from Verschuren et al., 1995)

  17. อัตราตายที่ลดลงในสหรัฐอเมริกา 1972 - 1990 % Decline in Mortality Year NHLBI 1990

  18. แนวโน้มโรคหัวใจและหลอดเลือดในประเทศไทยแนวโน้มโรคหัวใจและหลอดเลือดในประเทศไทย Ratio 1:10,000 adm Year 1991 Sant Hathirat

  19. อัตราตายในประชากรไทย 2529-2536 อัตราตาย/100,000 34,272 เสียชีวิตจากหัวใจและหลอดเลือด 4 คน/ชั่วโมง Year คณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ 2536

  20. Mr.Guy Arthur Jung AGE: 48 Yrs. Dr.Sopon Krisanarungson / Dr.JakkawanWongwiwat Coroflex please 2.75x28 mm. Pre-angioplasty Post-angioplasty 19 June 2011

  21. Necropsy Study. • The data from the study (WHO/ISFC study of Patho-biological Determinants of Atherosclerosis in Youth (PBDAY) … WHO 1997 (10 year multinational collaborative study:1986-1996)) • Pilot study 18 centers in 15 countries: 1987 • Main study 11 centers in 11countries: 1997 Necropsy Study

  22. Necropsy Study. • Main study 11 centers in 11 countries • main study 1277 cases m 75% f 25% • Fatty streak lesions in AO were found 100% of 355 cases in RCA were found 68 % of 319 cases • Raised lesions 7.05% in DTA, 25.75% in AA, 22.5% in RCA Necropsy Study

  23. โรคที่พบ บ่อย • ความดันโลหิตสูง • เบาหวาน • ไขมันในเลือดสูง • เกาส์ • โรคอ้วน • โรคหัวใจ • โรคทางเดินหายใจ • โรคทางเดินอาหาร

  24. ความดันโลหิตสูง อัมพาต โรคหัวใจ โรคไต

  25. ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตสูง 3.0 Men, ages 45-74 2.0 CHD Risk Ratio 1.0 อัมพาต โรคหัวใจ โรคไต Systolic <140 140-160 >160 Diastolic <90 90-95 >95 Blood Pressure (mmHg)

  26. เสียชีวิตจากโรคหัวใจ เสียชีวิตจากโรคหัวใจ พิจารณา อายุ และ เพศ ชาย หญิง อายุ (ปี)

  27. ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ • อายุ • ประวัติครอบครัว • ไขมันในเลือดสูง • ความดันโลหิตสูง • เบาหวาน • เพศ • สูบบุหรี่ • โรคอ้วน • การไม่ออกกำลังกาย • ลักษณะนิสัย

  28. สารพิษจากบุหรี่ • นิโคติน • คาร์บอนมอนนอกไซด์ • น้ำมันดิน • ฟอร์มอลดีไฮด์

  29. บุหรี่ 4.0 Men, ages 40-64 3.0 CHD Risk Ratio 2.0 1.0 0 ~10 ~20 >20 Cigarette Consumption Per Day

  30. โรคหัวใจ ใครๆ ก็ไม่รัก

  31. ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ • ไขมันในเลือดสูง

  32. ไขมันในเลือด • โคเลสเตอรอล (Cholesterol) • ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) • เอชดีแอล (HDL) • แอลดีแอล (LDL)

  33. ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ • อายุ • ประวัติครอบครัว • ไขมันในเลือดสูง • ความดันโลหิตสูง • เบาหวาน • เพศ • สูบบุหรี่ • โรคอ้วน • การไม่ออกกำลังกาย • ลักษณะนิสัย

  34. อ้วนลงพุง ไขมันผิดปกติ ความดันสูง น้ำตาลในเลือดผิดปกติ

  35. โรคอ้วน • มีโอกาสเกิด เบาหวาน ชนิดที่ 2 เพิ่มขึ้น 3-4 เท่า เบาหวาน พบว่า 80% อ้วน • ไขมันในเลือดผิดปกติ • นิ่วในถุงน้ำดี • โรคข้อเข่าเสื่อม • เกาส์ • มะเร็ง: เต้านม, มดลูก, ลำไส้ใหญ่, ไต • อารมณ์แปรปรวน

  36. โรคอ้วน • เพิ่มอัตราการเป็นอัมพาต 2 เท่า • sudden death 2.8 เท่า • เพิ่มอัตราการเป็นหัวใจวาย 1.9 เท่า • เพิ่มอัตราการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ 1.5 เท่า

  37. สาเหตุที่ทำให้เป็นโรคอ้วนสาเหตุที่ทำให้เป็นโรคอ้วน • กรรมพันธ์ • นิสัยจากการรับประทานอาหาร • การไม่ออกกำลังกาย • เพศ • อายุอารมณ์และจิตใจ • ยา • โรคทางกายกินมาก ขยับน้อย อ้วน • กินเท่าไร ใช้ให้หมด • ลดพุง ลดโรค

  38. โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมากโรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก • ปัญหาเกี่ยวกับหัวใจ ซึ่งได้แก่ โรคหลอดเลือดและหัวใจ เช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดโคโรนารี

  39. โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมากโรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก • มะเร็ง เช่น มะเร็งลำไส้ใหญ่ ปากมดลูก เยื่อบุมดลูก มดลูก รังไข่ เต้านม ต่อมลูกหมาก ถุงน้ำดี ตับอ่อน

  40. โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมากโรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก • โรคทางเดินหายใจและปอด หายใจลำบากขณะนอนหลับ นอนกรน (snoring) เพราะทางเดินหายใจเริ่มตีบตัน ร่างกายจะขาดออกซิเจน ทำให้ ร่างกายพักผ่อนไม่เต็มที่ ง่วงนอนในเวลากลางวัน หลับในขณะขับรถ จนเกิดอุบัติเหตุได้

  41. โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมากโรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก • โรคกระดูกและข้อต่อ โรคข้อต่อเสื่อม (os-teoarthritis in joints) โดยเฉพาะบริเวณสะโพก หัวเข่า ข้อศอก • โรคเก๊าท์ (gout)

  42. โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมากโรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก • เส้นเลือดในสมองแตกหรืออุดตัน (stroke)

  43. โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมากโรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก • โรคเกี่ยวกับไต เช่น นิ่ว ไตวายจากความดันโลหิตสูง

  44. โรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมากโรคที่พบบ่อยในคนอ้วนมาก • -ซึมเศร้า (depression)-เส้นเลือดขอด (varicose vein)-เหงื่อออกมาก (sweating)-การเป็นหมัน (infertility)

  45. Benefits of weight loss. • ลด จำนวนการเสียชีวิต และความเจ็บป่วย • โรคต่างๆ ลดลง ลดโอกาสเกิดมะเร็ง ที่เกี่ยวกับโรคอ้วน ลง 53 % ลด การตายจากเบาหวานลง 44 % ลด การตายลง 20 % เป็นผลดีต่อการควบคุมความดันโลหิตสูง เป็นผลดีต่อการควบคุมความผิดปกติของไขมันในเลือด

  46. ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ • อายุ • ประวัติครอบครัว • ไขมันในเลือดสูง • ความดันโลหิตสูง • เบาหวาน • เพศ • สูบบุหรี่ • โรคอ้วน • การไม่ออกกำลังกาย • ลักษณะนิสัย

More Related