1 / 36

สัมนารับฟังความคิดเห็น

โครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (M-MAP). สัมนารับฟังความคิดเห็น. 19 พฤศจิกายน 2552. สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. หัวข้อการนำเสนอ. ทบทวนความเป็นมา แนวคิดการวางแผนโครงข่าย โครงข่ายของต่างประเทศ สรุปแผนงานโครงข่าย ผลการศึกษา

annis
Télécharger la présentation

สัมนารับฟังความคิดเห็น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (M-MAP) สัมนารับฟังความคิดเห็น 19พฤศจิกายน 2552 สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร

  2. หัวข้อการนำเสนอ • ทบทวนความเป็นมา • แนวคิดการวางแผนโครงข่าย • โครงข่ายของต่างประเทศ • สรุปแผนงานโครงข่าย • ผลการศึกษา - ปริมาณผู้โดยสาร - ค่าลงทุน - ผลประโยชน์และความคุ้มค่าของโครงการ

  3. กม. 0 2 5 10 Km. แผนแม่บทเดิม BMT 2547-2552 (291 กม.)

  4. เปิดให้บริการ ระหว่างก่อสร้าง แผนเร่งรัด กม. 0 2 5 10 Km. แผนเร่งรัด 5 เส้นทาง(145 กม.) ตามมติ ครม.18 มีนาคม 2551 บางซื่อ-รังสิต-ธรรมศาสตร์ (36.3 กม.) บางซื่อ-บางใหญ่ (23 กม.) หมอชิต-สะพานใหม่(11.4 กม.) บางซื่อ-หัวลำโพง (6.5 กม.) บางซื่อ-ตลิ่งชัน (15 กม.) ARL พญาไท-สุวรรณภูมิ (28.5 กม.) บางซื่อ-พญาไท-หัวหมาก (19 กม.) บางซื่อ-ท่าพระ, หัวลำโพง-บางแค (27 กม.) ถนนตากสิน-บางหว้า (5.3 กม.) อ่อนนุช-แบริ่ง (5.3 กม.) แบริ่ง-สมุทรปราการ (12.8 กม.)

  5. กม. 0 2 5 10 Km. เส้นทางที่นำมาศึกษา (707 กม.)

  6. รถไฟชานเมือง (CT) รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (MRT) ระบบขนส่งมวลชนอื่นๆ CT (LRT, BRT, Bus Feeder) CT CT CT แนวคิดการวางแผนโครงข่าย อยุธยา บางปะอิน ปทุมธานี 50 Km นครปฐม 40 LRT พุทธมณฑล 30 20 10 ลาดกระบัง ฉะเชิงเทรา MRT สมุทรปราการ สมุทรสาคร

  7. ระบบขนส่งมวลชน

  8. ROMA

  9. BEIJING

  10. SEOUL

  11. LONDON

  12. PARIS

  13. TOKYO

  14. ข้อดีของโครงข่ายใหม่  เพิ่มความสามารถในการให้บริการประชาชน โครงข่ายมีรูปแบบระบบที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการเดินทาง โดย ระบบMRT สายสีส้มให้บริการในพื้นที่การเดินทางสูง มีความถี่ จำนวนสถานีมากกว่า  ลดจำนวนการเปลี่ยนต่อรถไฟฟ้า เดินทางสะดวกขึ้น  เพิ่มพื้นที่ให้บริการตามแนว ถ.เพชรบุรี และราชปรารภ

  15. 8 สายหลัก 4 สายรอง

  16. เปิดให้บริการ ระหว่างก่อสร้าง กม. 0 2 5 10 Km. เปิดให้บริการและระหว่างก่อสร้าง (85 กม.) ARL พญาไท-สุวรรณภูมิ (28.5 กม.) ถนนตากสิน-บางหว้า (5.3 กม.) อ่อนนุช-แบริ่ง (5.3 กม.)

  17. เปิดให้บริการ ระหว่างก่อสร้าง แผนเร่งรัด กม. 0 2 5 10 Km. แผนเร่งรัด 5 เส้นทาง(145 กม.) ภายในปี 2557 บางซื่อ-รังสิต-ธรรมศาสตร์ (36.3 กม.) บางซื่อ-บางใหญ่ (23 กม.) หมอชิต-สะพานใหม่(11.4 กม.) บางซื่อ-ตลิ่งชัน (15 กม.) ARL พญาไท-สุวรรณภูมิ (28.5 กม.) ถนนตากสิน-บางหว้า (5.3 กม.) อ่อนนุช-แบริ่ง (5.3 กม.) แบริ่ง-สมุทรปราการ (12.8 กม.)

  18. เปิดให้บริการ ระหว่างก่อสร้าง แผนเร่งรัด กม. 0 2 5 10 Km. แผนเร่งรัด 5 เส้นทาง(145 กม.) ภายในปี 2559 บางซื่อ-รังสิต-ธรรมศาสตร์ (36.3 กม.) บางซื่อ-บางใหญ่ (23 กม.) หมอชิต-สะพานใหม่(11.4 กม.) บางซื่อ-หัวลำโพง (6.5 กม.) บางซื่อ-ตลิ่งชัน (15 กม.) ARL พญาไท-สุวรรณภูมิ (28.5 กม.) บางซื่อ-พญาไท-หัวหมาก (19 กม.) บางซื่อ-ท่าพระ, หัวลำโพง-บางแค (27 กม.) ถนนตากสิน-บางหว้า (5.3 กม.) อ่อนนุช-แบริ่ง (5.3 กม.) แบริ่ง-สมุทรปราการ (12.8 กม.)

  19. เปิดให้บริการ ระหว่างก่อสร้าง แผนเร่งรัด กม. 0 2 5 10 Km. หลังแผนแผนเร่งรัด ระยะทางรวม 236 กม. 145 สถานี ครอบคลุม 370 ตร.กม. 3.3 ล้านคน บางซื่อ-รังสิต-ธรรมศาสตร์ (36.3 กม.) บางซื่อ-บางใหญ่ (23 กม.) หมอชิต-สะพานใหม่(11.4 กม.) บางซื่อ-หัวลำโพง (6.5 กม.) บางซื่อ-ตลิ่งชัน (15 กม.) ARL พญาไท-สุวรรณภูมิ (28.5 กม.) บางซื่อ-พญาไท-หัวหมาก (19 กม.) บางซื่อ-ท่าพระ, หัวลำโพง-บางแค (27 กม.) ถนนตากสิน-บางหว้า (5.3 กม.) อ่อนนุช-แบริ่ง (5.3 กม.) แบริ่ง-สมุทรปราการ (12.8 กม.)

  20. กม. 0 2 5 10 Km. โครงข่ายเพิ่มเติม ภายในปี 2562 สะพานใหม่-คูคต(7 กม.) ARL บางซื่อ-พญาไท (7.9 กม.) แคราย-มีนบุรี (36 กม.) ศาลายา-ตลิ่งชัน (14 กม.) ตลิ่งชัน-ศูนย์วัฒนธรรม-มีนบุรี (37.5 กม.) หัวลำโพง-บางบอน (18 กม.) สนามกีฬาฯ-ยศเส(1 กม.) บางซื่อ-ราษฎร์บูรณะ (19.8 กม.)

  21. กม. 0 2 5 10 Km. โครงข่ายปี พ.ศ. 2562 ระยะทางรวม 377 กม. 233 สถานี ครอบคลุม 525 ตร.กม. 3.8 ล้านคน สะพานใหม่-คูคต(7 กม.) ARL บางซื่อ-พญาไท (7.9 กม.) แคราย-มีนบุรี (36 กม.) ศาลายา-ตลิ่งชัน (14 กม.) ตลิ่งชัน-ศูนย์วัฒนธรรม-มีนบุรี (37.5 กม.) หัวลำโพง-บางบอน (18 กม.) สนามกีฬาฯ-ยศเส(1 กม.) บางซื่อ-ราษฎร์บูรณะ (19.8 กม.)

  22. กม. 0 2 5 10 Km. โครงข่ายเพิ่มเติม ภายในปี 2572 คูคต-ลำลูกกา (6.5 กม.) วัชรพล-สะพานพระราม 9 (26 กม.) บางบำหรุ-มักกะสัน (10.5 กม.) ลาดพร้าว-สำโรง (30.4 กม.) บางแค-พุทธมณฑลสาย 4 (8 กม.) ดินแดง-สาทร (9.5 กม.) บางบอน-มหาชัย (20 กม.) สมุทรปราการ-บางปู (7 กม.)

  23. กม. 0 2 5 10 Km. โครงข่ายปี พ.ศ. 2572 ระยะทางรวม 495 กม. 308 สถานี ครอบคลุม 680 ตร.กม. 5.13 ล้านคน คูคต-ลำลูกกา (6.5 กม.) วัชรพล-สะพานพระราม 9 (26 กม.) บางบำหรุ-มักกะสัน (10.5 กม.) ลาดพร้าว-สำโรง (30.4 กม.) บางแค-พุทธมณฑลสาย 4 (8 กม.) ดินแดง-สาทร (9.5 กม.) บางบอน-มหาชัย (20 กม.) สมุทรปราการ-บางปู (7 กม.)

  24. ปริมาณผู้โดยสาร Total Ridership (2562-2572) ผู้โดยสารที่เปลี่ยนต่อ ผู้โดยสารเข้าระบบ ผู้โดยสารทั้งหมดของสายปัจจุบัน Transfer New Boarding

  25. จำนวนผู้โดยสารสูงสุด Maximum Line Load (2572) CT MRT LRT

  26. ปริมาณผู้โดยสารต่อระยะทางปริมาณผู้โดยสารต่อระยะทาง New Boarding / Km. (2572) CT MRT LRT

  27. จำนวนผู้โดยสารรวมแยกตามรายแผนจำนวนผู้โดยสารรวมแยกตามรายแผน * จำนวนผู้โดยสารเข้าระบบ (Boarding)+จำนวนผู้โดยสารที่มาเปลี่ยนต่อ (Transfer)

  28. ค่าก่อสร้างส่วนเพิ่มเติมค่าก่อสร้างส่วนเพิ่มเติม Construction Cost CT MRT LRT

  29. ผลประโยชน์ของโครงการ แผนเร่งรัด VOC การประหยัดน้ำมัน 1.0 ล้านล้านบาท Economic Benefit แผนเร่งรัด การใช้ยานพาหนะ 1.5 ล้านล้านบาท VOT 9.5 ล้านล้านบาท ประหยัดเวลา 6.0 ล้านล้านบาท ENV ด้านสิ่งแวดล้อม 1.0 ล้านล้านบาท

  30. ผลประโยชน์ของโครงการ แผน 10 ปี VOC การประหยัดน้ำมัน 1.3 ล้านล้านบาท Economic Benefit แผน 10 ปี การใช้ยานพาหนะ 2.0 ล้านล้านบาท VOT 14.1 ล้านล้านบาท ประหยัดเวลา 9.5 ล้านล้านบาท ENV ด้านสิ่งแวดล้อม 1.3 ล้านล้านบาท

  31. ผลประโยชน์ของโครงการ แผน 20 ปี VOC การประหยัดน้ำมัน 1.5 ล้านล้านบาท Economic Benefit แผน 20 ปี การใช้ยานพาหนะ 2.2 ล้านล้านบาท VOT 16.9 ล้านล้านบาท ประหยัดเวลา 11.6 ล้านล้านบาท ENV ด้านสิ่งแวดล้อม 1.5 ล้านล้านบาท

  32. ความคุ้มค่าของโครงการความคุ้มค่าของโครงการ

  33. การกระจายของงบประมาณ

More Related