1 / 1

โวลท์เตจดิ ไว เดอร์ วัดแรงดันกระแสตรง กระแสสลับ และ แรงอิม พัลส์ พิกัด 100 kV

โวลท์เตจดิ ไว เดอร์ วัดแรงดันกระแสตรง กระแสสลับ และ แรงอิม พัลส์ พิกัด 100 kV. Universal Voltage Divider. ทรงวุฒิ วิรัตนา พรแสง ส่องศรี ศุภ ฤกษ์ ศุภนิมิตร พีร วุฒิ ยุทธ โกวิท สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. บทคัดย่อ

annona
Télécharger la présentation

โวลท์เตจดิ ไว เดอร์ วัดแรงดันกระแสตรง กระแสสลับ และ แรงอิม พัลส์ พิกัด 100 kV

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โวลท์เตจดิไวเดอร์วัดแรงดันกระแสตรง กระแสสลับ และแรงอิมพัลส์ พิกัด 100 kV Universal Voltage Divider ทรงวุฒิ วิรัตนา พรแสง ส่องศรี ศุภฤกษ์ ศุภนิมิตรพีรวุฒิ ยุทธโกวิท สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง บทคัดย่อ ตัวอย่างโปสเตอร์ในรายวิชาโครงงานวิศวกรรม สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ประจำปีการศึกษา 2556 สำหรับการนำเสนอในกาสอบเพื่อสำเร็จการศึกษา ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ในวันศุกร์ที่ 21 มีนาคม 2557 ณ อาคารปฏิบัติการวิศวกรรม 2 (ECC) การนำเสนอผลงานในรูปของโปสเอตอร์ ควรจะให้ข้อมูลกับผู้อ่านเชิง 3. ตัวอย่างในการพิมพ์สมการ ในการพิมพ์สมการอนุโลมให้ใช้ Time New Roman ขนาด 28 พอยน์ได้ 4. ข้อเสนอแนะ ผู้เขียนจะต้องตรวจสอบความถูกต้องของการใช้ภาษา และหน่วยให้สอดคล้องกัน และเป็นสากล ขนาดของตัวอักษรควรจะเหมาะสมและมองเห็นได้ชัดเจน ในบทนำ ควรจะมีเหตุผลในการทำการวิจัย วิธีการดำเนินการวิจัย หรืออาจนำวิธีการดำเนินการวิจัยขึ้นเป็นอีกหัวข้อก็ได้ ผู้เขียนสามารถจัดวางตำแหน่งได้ตามความเหมาะสม เช่น ในกรณีที่รูปภาพมีไดอะแกรมที่ละเอียดผู้เขียนสามารถวางรูปภาพเติมโปสเตอร์ได้ตามความเหมาะสม ไม่จำเป็นต้องมี 2 คอลัมน์ก็ได้ เพื่อหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการนำเสนอผลงาน ควรจะตรวจสอบรายละเอียดต่างๆ เช่น คำสะกด ชนิดของตัวอักษร สัญลักษณ์ และสมการเคมี รูปภาพที่ชัดเจน กราฟที่มีการบรรยายชัดเจน ควรอ่านซ้ำอย่างน้อยสองครั้ง และควรให้ผู้อื่นอ่านผลงานของท่านอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งจะทำให้ท่านนำเสนอข้อมูลอันเป็นประโยชน์ทางวิชาการได้ดีขึ้น รูปที่ 2 ตัวอย่างชิ้นงานที่เสร็จสมบูรณ์ ตารางที่ 1 ผลการทดสอบ C/Q = 1/(b.qmax) + (1/qmax). C Q = ( Co – C ) V / B C/Q = 1/(b.qmax) + (1/qmax). C Abstract This paper presents a design and construction of a Universal Voltage Divider for measuring of Impulse, DC and AC voltages with rated of 200 kV, 100 kV and 100 kV respectively. The high-voltage part is designed and constructed by using R-C circuit component technique. The high-voltage and low voltage circuits comprise many sub-circuits commonly connected as a unit, while each sub-circuit has different response to different voltage types. • บทนำ • บทความฉบับนี้นำเสนอการเขียนโปสเตอร์เพื่อใช้ในการสอบ วิชา โครงงานวิศวกรรมของสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า โดยให้นักศึกษาทำในรูปแบบของไฟล์ PowerPoint ทำการตั้งค่าหน้ากระดาษให้มีขนาด 84.1 x 118.9 ซม. ภายในโปรเตอร์จะแบ่งออกเป็น 2 คอลัมน์ใหญ่ๆ โดยในโปสเตอร์จะต้องประกอบด้วย ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย) และชื่อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ) ชื่อผู้เขียนบทความ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ชื่อสถาบัน บทคัดย่อภาษาไทย และภาษาอังกฤษ เนื้อเรื่องแบ่งออกเป็น บทนำ เนื้อความหลัก การทดลองและผลการทดลอง สรุปผลการทดลอง • 2. คำแนะนำในการพิมพ์ • 2.1 คำแนะนำทั่วไป • โปสเตอร์จัดทำเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ตามรูปแบบ จำนวน 1 แผ่น ขนาด A0 (84.1 ซม. x 118.9 ซม.)แนวตั้ง โดยจัดพิมพ์เป็น 2 คอลัมน์ ให้พิมพ์โดยไม่เว้นบรรทัด • ห้ามทำการเปลี่ยนสีหัวและท้ายโปสเตอร์โดยเด็ดขาด เพื่อให้เป็นรูปแบบเดียวกัน • มุมซ้ายด้านบนให้มีสัญลักษณ์ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • แถบสีด้านล่างสามารถใส่สัญลักษณ์อื่นๆ เพิ่มเติมได้ • 2.2 ขนาดตัวอักษรและการเว้นระยะ • - พิมพ์โปสเตอร์ด้วยตัวอักษรรูปแบบ TH SarabunPSKเท่านั้น • - ชื่อเรื่องบทความภาษาไทย ใช้ตัวอักษรแบบหนาขนาด 72 พอยน์ • - ชื่อเรื่องบทความภาษาอังกฤษ ใช้ตัวอักษรแบบหนาขนาด 60 พอยน์ • - ชื่อผู้จัดทำ ชื่อสถาบัน ใช้ตัวอักษรแบบหนาขนาด 44 พอยน์ • ชื่อหัวข้อใหญ่ ใช้ตัวอักษรแบบหนาขนาด 44 พอยน์ • ชื่อหัวข้อย่อย บทคัดย่อ และเนื้อหา ข้อความต่างๆ ใช้ตัวอักษรขนาดใช้ตัวอักษรขนาด 36 พอยน์ • สมการการต่างๆ อนุโลมให้ใช้ Time New Roman ได้ โดยดูความเหมาะสมเป็นหลัก • รูปที่ 1 ตัวอย่างภาพประกอบโปสเตอร์ สรุปผลและการวิเคราะห์ ผู้นำเสนอ อาจจะเตรียม บทความทางวิชาการฉบับเต็ม ให้กับผู้สนใจได้ และควรเตรียมชิ้นงาน (หากชิ้นงานสามารถเคลื่อนย้ายได้) ซึ่งผู้นำเสนอควรมีการวางแผน เตรียมอุปกรณ์ อาทิเช่น ปลั๊กไฟ โต๊ะในการวางชิ้นงาน รวมไปถึงอุปกรณ์ในการติดโปสเตอร์, อุปกรณ์ประดับโปสเตอร์ประจำบอร์ด และติดโปสเตอร์ไว้จนกระทั่งจบช่วงเวลาในการนำเสนอ โดยทางผู้ประสานงานวิชาโครงงานวิศวกรรม จะประกาศตำแหน่งการติดตั้งโปสเตอร์ของแต่ละกลุ่มอีกครั้งหนึ่ง ต้องมีนักศึกษาประจำชิ้นงาน ยืนอยู่บริเวณโปสเตอร์ของตัวเองจนกระทั่งหมดเวลาการนำเสนอ Department of Electrical Engineering, Faculty of Engineering King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang Academic year 2014

More Related