760 likes | 1.05k Vues
การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์. กลิ่นจันทน์ เขียวเจริญ. หัวข้อการบรรยาย. ที่มาและหลักการ การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ. ที่มาและหลักการ. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.
E N D
การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ กลิ่นจันทน์ เขียวเจริญ
หัวข้อการบรรยาย • ที่มาและหลักการ • การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ที่มาและหลักการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 (4) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคู่ไปกับการปรับปรุงรูปแบบและวิธีการทำงาน เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนวทางในการปฏิบัติราชการ มาตรา 78 (5) จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอื่น เพื่อให้การจัดทำและการให้บริการสาธารณะเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน มาตรา 78 (8) ดำเนินการให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐได้รับสิทธิประโยชน์อย่างเหมาะสม
ที่มาและหลักการ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน ... ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ
ที่มาและหลักการ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 9, 12, 45, 48, 49
ที่มาและหลักการ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555)
ที่มาและหลักการ จากเครื่องมือในการควบคุมสู่เครื่องมือในการบริหาร Four functions of management: planning, organizing, leading, controlling If you can’t measure, you can’t managed If you can’t measure, you can’t improved What gets measure, gets done วัดหรือประเมินเฉพาะสิ่งที่มีความสำคัญเท่านั้น (Key Performance Indicators) ปัจจุบันมีเครื่องมือใหม่ๆ ที่เข้ามาช่วยในเรื่องของการประเมินผลมากขึ้น เช่น BSC, KPI, Benchmarking, Management Cockpit, BSC Software
ที่มาและหลักการ การปรับปรุงและ พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น P D A C มาตรฐาน PLAN วัตถุประสงค์/เป้าหมายชัดเจน (ต้องการผลสัมฤทธิ์อะไร) DOปฏิบัติมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนไว้ CHECK วัดว่าปฏิบัติได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนหรือไม่ (KPI ชัดเจน) ACTปรับปรุงแก้ไขให้ได้ตามที่วางแผนไว้
ที่มาและหลักการ ระบบการบริหารราชการแผ่นดินเชิงกลยุทธ์แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ Plan • การวางแผนปฏิบัติการ • แผนปฏิบัติราชการ • ประจำปี (คำขอ • งบประมาณประจำปี) • การวางยุทธศาสตร์ • แผนการบริหารราชการ • แผ่นดิน • แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี Do Act • การวัดผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ • เงินรางวัลตามผลงาน การติดตามประเมินผล และ การทบทวนยุทธศาสตร์ Check
ที่มาและหลักการ Strategy Formulation แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี S W O T Vision Strategic Issue Goal (KPI / target) Strategies Strategic Control Strategy Implementation Action Plan Strategic Management Process Risk Assessment & Management Structure Process/IT Alignment Rule & Regulation People/ Culture Blueprint for Change
ที่มาและหลักการ ระบบการบริหารราชการแผ่นดินเชิงกลยุทธ์แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ Planning Measurement แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (4 ปี) เป้าประสงค์ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ Corporate Scorecard ยุทธศาสตร์รัฐบาล • Strategic Business Unit Scorecard • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • แผนปฏิบัติราชการ (4 ปี) • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เป้าประสงค์ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • แผนปฏิบัติราชการ (รายปี) • กระทรวง กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด Sub-unit Scorecard Team & Individual Scorecard Budgeting
ที่มาและหลักการ ความสอดคล้องจากแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ถ่ายทอดมาสู่ระดับกระทรวงและระดับกรม เป้าหมายตาม แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน Z y1 y2 เป้าหมาย ระดับกระทรวง เป้าหมาย ระดับกรม x1 x2 x3 x4
แผนปฏิบัติราชการสี่ปีแผนปฏิบัติราชการสี่ปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2555 - 2558 แผนปฏิบัติราชการสี่ปี (กรม) กรมพัฒนาที่ดิน นโยบายย่อยที่ 1.4 ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาทรัพยากรการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ สมดุลและยั่งยืน • พัฒนาพื้นที่ทำการเกษตรที่มีปัญหาแห้งแล้งซ้ำซากให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืน • การอนุรักษ์ดินและน้ำโดยการพัฒนาแหล่งน้ำชุมชน • จำนวนแหล่งน้ำชุมชนที่ได้รับการพัฒนา 970 แห่ง • เป้าประสงค์ • เพิ่มพื้นที่ชลประทานได้ประมาณ 4.22 ล้านไร่ • เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของฐานทรัพยากรธรรมชาติด้านการประมงและบริหารจัดการให้เกิดความสมดุลและยั่งยืน • ดำเนินการกระจายการถือครองที่ดินที่เป็นธรรมและการพัฒนาที่ดินอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์เชิงนโยบาย 1 เกิดกลไกในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการทุกระดับโดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน • เร่งรัดขยายการก่อสร้างแหล่งน้ำในไร่นานอกเขตชลประทานเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรในการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง • การอนุรักษ์ดินและน้ำโดยการพัฒนาแหล่งน้ำในไร่นา • จำนวนแหล่งน้ำในไร่นาที่ได้รับการพัฒนา 689,628 บ่อ • เป้าหมาย / ตัวชี้วัด • จำนวนแผนและกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ • จำนวนกฎหมายที่ผ่านการปรับปรุงและแก้ไข • จำนวนกิจกรรมความร่วมมือระหว่างประเทศ • ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมมีความพึงพอใจ • จำนวนแหล่งน้ำที่ดำเนินการอนุรักษ์ พัฒนาและฟื้นฟู • จำนวนแหล่งน้ำที่ดำเนินการพัฒนาเพิ่มน้ำต้นทุน • จำนวนหมู่บ้านที่มีระบบฐานข้อมูลเตือนภัยน้ำหลาก ดินถล่ม • จำนวนแผน มาตรการ ในการบรรเทาภัยจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก • จำนวนแหล่งน้ำบาดาลที่ได้รับการอนุรักษ์ พัฒนา และฟื้นฟู • เป้าหมาย / ตัวชี้วัด • เพิ่มพื้นที่ชลประทานได้ประมาณ 4.22 ล้านไร่ • พื้นที่ทำการประมงที่ได้รับการบริหารจัดการไม่น้อยกว่าปีละ 8.8 ล้านไร่ • แหล่งอาศัยสัตว์น้ำได้รับการบริหารจัดการไม่น้อยกว่าปีละ 60 แห่ง • ทรัพยากรที่ดินได้รับการบริหารจัดการไม่น้อยกว่าปีละ 2.15 ล้านไร่ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติการฝนหลวง - พื้นที่เป้าหมายที่ได้รับประโยชน์จากการปฏิบัติการฝนหลวง • จำนวนพื้นที่เป้าหมายที่ได้รับประโยชน์จากการปฏิบัติการฝนหลวง (160 ล้านไร่)
แผนปฏิบัติราชการสี่ปีแผนปฏิบัติราชการสี่ปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2555 - 2558 แผนปฏิบัติราชการสี่ปี (กรม) กรมชลประทาน นโยบายย่อยที่ 1.4 ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาทรัพยากรการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ สมดุลและยั่งยืน • การพัฒนาแหล่งน้ำ • ปริมาณน้ำเก็บกักและพื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น • เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำโดยการผันน้ำและกระจายน้ำ • จำนวนพื้นที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้น (4,222,817 ไร่) • จำนวนปริมาณเก็บกักที่เพิ่มขึ้น (1,096.52 ล้าน ลบ.ม.) • จำนวนปริมาณน้ำต้นทุนที่เพิ่มให้อ่างฯ (140.00 ล้าน ลบ.ม./ปี) • จำนวนแหล่งน้ำชุมชน/ชนบทที่เพิ่มขึ้น (3,152 แห่ง) • เป้าประสงค์ • เพิ่มพื้นที่ชลประทานได้ประมาณ 4.22 ล้านไร่ • เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของฐานทรัพยากรธรรมชาติด้านการประมงและบริหารจัดการให้เกิดความสมดุลและยั่งยืน • ดำเนินการกระจายการถือครองที่ดินที่เป็นธรรมและการพัฒนาที่ดินอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์เชิงนโยบาย 2 เพิ่มพื้นที่ชลประทานได้ประมาณ 3.35 ล้านไร่ • การบริหารจัดการน้ำ • ทุกภาคส่วนได้รับน้ำอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม • จำนวนพื้นที่ชลประทานที่บริหารจัดการน้ำ (25.10 ล้านไร่) • ร้อยละของพื้นที่ชลประทานที่ได้รับน้ำต่อพื้นที่เป้าหมาย (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 100) • จำนวนศูนย์/โครงการที่ดำเนินการ (335 แห่ง) • เป้าหมาย / ตัวชี้วัด • จำนวนพื้นที่ชลประทาน • เป้าหมาย / ตัวชี้วัด • เพิ่มพื้นที่ชลประทานได้ประมาณ 4.22 ล้านไร่ • พื้นที่ทำการประมงที่ได้รับการบริหารจัดการไม่น้อยกว่าปีละ 8.8 ล้านไร่ • แหล่งอาศัยสัตว์น้ำได้รับการบริหารจัดการไม่น้อยกว่าปีละ 60 แห่ง • ทรัพยากรที่ดินได้รับการบริหารจัดการไม่น้อยกว่าปีละ 2.15 ล้านไร่ • การป้องกันและบรรเทาภัยอันเนื่องจากน้ำ • ความสูญเสียที่ลดลงอันเนื่องจากภัยอันเกิดจากน้ำ • จำนวนพื้นที่ที่ได้รับประโยชน์ (3.71 ล้านไร่) • จำนวนพื้นที่ป้องกันและบรรเทาปัญหาน้ำท่วมพื้นที่การเกษตรและพื้นที่ในเขตชุมชนเมือง (52,000 ไร่) (ต่อ)
หัวข้อการบรรยาย • ที่มาและหลักการ • การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • การบูรณาการการทำงานระหว่างกระทรวงในยุทธศาสตร์ที่มีเป้าหมายร่วมกันและการจัดทำตัวชี้วัดร่วมยุทธศาสตร์ (Joint KPIs)ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 • การจัดสรรเงินรางวัลประจำปี
การประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐในกำกับของฝ่ายบริหารการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐในกำกับของฝ่ายบริหาร กระทรวง สถาบัน อุดมศึกษา จังหวัด กลุ่ม ภารกิจ องค์การ มหาชน มหาวิทยาลัย ของรัฐ มหาวิทยาลัย ในกำกับของรัฐ2 สป. กรม กรม กรม สำนักงาน ก.พ.ร. รับผิดชอบการติดตามประเมินผล หน่วยงานของรัฐรูปแบบใหม่ หน่วยบริการ รูปแบบพิเศษ3 หน่วยธุรการของ องค์กรของรัฐ ที่เป็นอิสระ3 กองทุน ที่เป็น นิติบุคคล1 รัฐวิสาหกิจ1 1 กระทรวงการคลัง รับผิดชอบการติดตามประเมินผล 2 สกอ. และ สมศ. รับผิดชอบการติดตามประเมินผล 3คณะกรรมการ รับผิดชอบการติดตามประเมินผล
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ขั้นตอนการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ 1.1 ก.พ.ร. เห็นชอบกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 1.2 เจรจาความเหมาะสมของตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย น้ำหนัก และเกณฑ์การให้คะแนนตามคำรับรองฯ ของแต่ละส่วนราชการ 1.3 ลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ 1.4 ส่วนราชการจัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) ไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. เพื่อประกอบการประเมินผล การจัดทำคำรับรอง การปฏิบัติราชการ 2.1 รอบ 6 เดือน (1 ต.ค. – 31 มี.ค.) - ส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) ไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. (ภายในวันที่ 30 เมษายน) - กรอกรายงานการประเมินผลตนเอง (e-SAR Card) เข้าระบบใน www.opdc.go.th(ภายในวันที่ 30 เมษายน) - ส่งคำขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัด น้ำหนัก และเกณฑ์การให้คะแนน (อุทธรณ์ครั้งที่ 1) (ภายในวันที่ 31 มีนาคม) 2.2 รอบ 9 เดือน (1 ต.ค. – 30 มิ.ย.) - กรอกรายงานการประเมินผลตนเอง (e-SAR Card) เข้าระบบใน www.opdc.go.th(ภายในวันที่ 16 กรกฎาคม) 2.3 รอบ 12 เดือน (1 ต.ค. – 30 ก.ย.) - ส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) ไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. (ภายในวันที่ 31 ตุลาคม) - กรอกรายงานการประเมินผลตนเอง (e-SAR Card) เข้าระบบใน www.opdc.go.th(ภายในวันที่ 31 ตุลาคม) - ส่งคำขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัด น้ำหนัก และเกณฑ์การให้คะแนน (อุทธรณ์ครั้งที่ 2) (ภายในวันที่ 31 ตุลาคม) 1 2 3 การติดตามการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ขั้นตอนการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ 3.1 สำนักงาน ก.พ.ร. ติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ณ ส่วนราชการ (Site Visit) รอบ 12 เดือน จากนั้น - แจ้งผลการประเมินให้ส่วนราชการทราบเพื่อยื่นยัน/ทักท้วง - ปรับปรุงคะแนนการประเมินผลให้สมบูรณ์ครบถ้วน 3.2 สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำสรุปผลคะแนนตามคำรับรองฯ ของส่วนราชการ - เชื่อมโยงผลการประเมินไปกับการจัดสรรสิ่งจูงใจ 3.3 สำนักงาน ก.พ.ร. นำผลการประเมินการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ 3 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ขั้นตอนการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ • พัฒนาอะไร • ผลงานวัดด้วยตัวชี้วัดอะไร • เป้าหมายเท่าใด ส่งแผนปฏิบัติราชการ ให้สำนักงาน ก.พ.ร. เจรจาความเหมาะสมของตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนน ประกาศให้ ประชาชนทราบ จัดทำคำรับรอง การปฏิบัติราชการ ดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการและประเมินผลตนเอง ก.พ.ร. พิจารณาผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ จัดสรรสิ่งจูงใจตามระดับของผลงาน 19
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กลไกการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ • คณะกรรมการกำกับการจัดทำข้อตกลงและการประเมินผล • กำหนดหลักเกณฑ์และกรอบการเจรจาข้อตกลงผลงาน เป้าหมาย วิธีการประเมินผล และจัดสรรสิ่งจูงใจ • กำกับให้ส่วนราชการและคณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผลดำเนินการตามหลักเกณฑ์อย่างมีมาตรฐาน • แก้ไขปัญหาในการจัดทำข้อตกลงและประเมินผล • คณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและการประเมินผล • เจรจาความเหมาะสมของตัวชี้วัด น้ำหนัก ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนน เพื่อใช้ในการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ • สำหรับส่วนราชการเจรจาเฉพาะตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการที่อยู่ในมิติภายนอก ประเด็นการประเมินประสิทธิผล • สำหรับจังหวัดเจรจาเฉพาะตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการของจังหวัดที่อยู่ในมิติด้านประสิทธิผล (ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ) • คณะกรรมการพิจารณาคำขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัด น้ำหนัก และเกณฑ์การให้คะแนน • พิจารณาคำขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัด น้ำหนัก และเกณฑ์การให้คะแนน
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ (Government Evaluation System – GES) หลักการและแนวทาง: • Public Accountability • แต่ละส่วนราชการต้องมีความพร้อมต่อการตรวจสอบ โดยต้องจัดให้มีฐานข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็น (บูรณาการตัวชี้วัด) และเผยแพร่ต่อสาธารณะ ผ่านทาง website เพื่อแสดงความโปร่งใส (ไม่ต้องจัดส่งข้อมูลและรายงานต่างๆ ให้แก่หน่วยงานกลาง) • แต่ละส่วนราชการต้องทำการประเมินและรายงานผลด้วยตนเอง (Self-assessment Report) ตามเกณฑ์ที่กำหนด เพื่อแสดงให้เห็นถึงสถานะของผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติราชการ รวมถึงขีดสมรรถนะและศักยภาพของหน่วยงานในด้านต่างๆ • Public Trust & Confidence • หน่วยงานกลางจะ access เข้าไปในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ (อาจจัดให้มี site visit) เพื่อสอบทานความถูกต้องและประเมินผล เพื่อประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายในด้านต่างๆ ต่อไป เช่น การจัดสรรทรัพยากร การลงโทษและให้รางวัลตอบแทน เป็นต้น เงื่อนไข : แต่ละส่วนราชการต้องมอบหมาย CIO ทำหน้าที่เป็นผู้สอบทานความถูกต้องและทันเวลาของข้อมูลที่นำเข้าสู่ระบบดังกล่าวนี้
นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบ ออกแบบระบบโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการจัดการฐานข้อมูลให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถดึงข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูลไปใช้งานได้อย่างเหมาะสม หน่วยงานกลางสามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้ ฐานข้อมูล ของส่วนราชการ ฐานข้อมูลกลางของประเทศ Accountability Report Database กลาง เช่น GFMIS, e-Budgeting Database ภายในอื่น ๆ Database ภายในอื่น ๆ Database ภายในอื่น ๆ ระบบ GES กรม ระบบ GES ระบบ GES ระบบ GES กรม กรม กรม กรม Database อื่น ๆ กรม กรม กรม กรม แต่ละส่วนราชการมีหน้าที่ที่จะต้องนำเข้าข้อมูลพื้นฐานของตนไว้ในระบบ เพื่อพร้อมต่อการรายงานและการตรวจสอบสาธารณะ (Public Accountability) ประมวลผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต และระบบ StatXchange ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ
ข้อดีของระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการข้อดีของระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ 3 1 2 การทำงานแบบ Work Collaboration ระบบจะคำนึงถึงการทำงานจริงของผู้ใช้เป็นหลัก โดยผู้ใช้สามารถบันทึกผลการดำเนินงาน ติดตามความก้าวหน้าของงาน ปัญหาอุปสรรค และติดต่อสื่อสารกันระหว่างผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหาร นอกจากนั้นข้อมูลที่บันทึกในระบบจะสามารถแลกเปลี่ยนแบบเว็บเซอร์วิสได้ ซึ่งจะช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกับระบบงานของหน่วยงานอื่นได้อัตโนมัติ ดังนั้น ระบบที่สร้างขึ้นจึงมิใช่เพียงเพื่อการรายงานให้แก่หน่วยงานกลางเท่านั้น แต่ผลผลิตหลักของระบบ คือ ผลสำเร็จของงานต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้ระบบงาน ลดความซ้ำซ้อนของการจัดทำรายงาน เนื่องจากระบบนี้มีฐานข้อมูลเดียว ซึ่งสามารถจัดเก็บข้อมูลได้ทั้งที่เป็น Structure (DBMS) และUnstructure (.doc, .xls, .ppt, .pdf) โดยระบบถูกออกแบบให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลในฐานข้อมูลกับ Item ต่าง ๆในรายงานที่ต้องการเพื่อสร้างรูปแบบรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่เป็นมาตรฐานเดียวกันโดยอัตโนมัติจากฐานข้อมูลที่ผู้ใช้สร้างไว้ซึ่งเป็นการช่วยลดภาระในการบันทึกข้อมูลและการจัดทำรายงานของเจ้าหน้าที่ และจะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารราชการของหัวหน้าส่วนราชการ และการรายงานผลต่อหน่วยงานกลาง การตรวจสอบและประเมินผล Online หน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่ในการตรวจสอบและประเมินผลสามารถตรวจสอบรายงานและเอกสารประกอบผ่านระบบก่อนที่จะ Site Visit ส่วนราชการ หรือจะส่ง Feedback เช่น ผลการประเมิน หรือข้อซักถามแบบออนไลน์ได้ 23
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการของส่วนราชการ • การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ10) • ร้อยละของระดับความพึงพอใจของ • ผู้รับบริการต่อกระบวนการให้บริการ • ร้อยละของระดับความพึงพอใจของ • ผู้กำหนดนโยบาย • การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) • ระดับความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมาย • ระดับกระทรวง • กลุ่มภารกิจ (ถ้ามี) • กรม มิติภายนอก • การประเมินผลประโยชน์ต่อค่าใช้จ่าย (Benefit-Cost Ratio) หรือการประเมินผระสิทธิผลต่อค่าใช้จ่าย (Cost-Effectiveness) • การประเมินผลกระทบ มิติภายนอก (ร้อยละ70 ) มิติภายใน (ร้อยละ30 ) • การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ15) • ขีดสมรรถนะของการบริหาร • จัดการ • ระดับความสำเร็จของการพัฒนา • สมรรถนะของบุคลากร • ระดับความสำเร็จของการพัฒนา • ปรับปรุงสารสนเทศ • ระดับความสำเร็จของการพัฒนา • ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ • การประเมินประสิทธิภาพ • (ร้อยละ15) • ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต • สัดส่วนค่าใช้จ่ายจริงต่อค่าใช้จ่ายตามแผน • การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน • การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม • ปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับแผน • การประหยัดพลังงาน มิติภายใน
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ 25
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ 26
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการของจังหวัด แสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแผนปฏิบัติราชการ ตามที่ได้รับงบประมาณมา ดำเนินการเพื่อให้เกิด ประโยชน์สุขต่อประชาชน แสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ ในการให้บริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจแก่ ผู้รับบริการ มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิ ภาพของการ ปฏิบัติราชการ มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์การ แสดงความสามารถในการปฏิบัติราชการ เช่น การบริหารงบประมาณ การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ การประหยัดพลังงาน แสดงความสามารถในการ บริหารจัดการองค์การเพื่อสร้าง ความพร้อมในการสนับสนุนแผนปฏิบัติราชการ
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ คำรับรองการปฏิบัติราชการ • คำรับรองการปฏิบัติราชการ เป็นการแสดงความจำนงของผู้ทำคำรับรองเกี่ยวกับการพัฒนาการปฏิบัติราชการและผลการดำเนินการของส่วนราชการที่ส่วนราชการต้องการบรรลุผล โดยมีตัวชี้วัด เป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน ระหว่างผู้ทำคำรับรอง (หัวหน้าส่วนราชการ) กับผู้รับคำรับรอง (ผู้บังคับบัญชาของหัวหน้าส่วนราชการ) • คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ถือเป็นคำรับรองของส่วนราชการฝ่ายเดียว ไม่ใช่สัญญา และใช้สำหรับระยะเวลา 1 ปี ซึ่งเริ่มต้นและสิ้นสุดสอดคล้องกับปีงบประมาณ
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด ขั้นตอนการพัฒนาระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์วิสัยทัศน์และพันธกิจ
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด คำนิยาม / คำจำกัดความ วิสัยทัศน์(Vision) เป็นข้อความที่สะท้อนถึงความมุ่งมั่นเกี่ยวกับทิศทางและสถานะที่ส่วนราชการต้องการจะเป็นในอนาคตตามห้วงเวลาที่กำหนด เป็นจุดมุ่งหมายปลายทางร่วมกันของคนในส่วนราชการที่จะดำเนินการผลักดันให้เกิดขึ้น พันธกิจ (Mission) เป็นข้อความแสดงให้เห็นหลักการพื้นฐาน จุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งองค์กรและขอบข่ายการดำเนินงานขององค์กร เพื่อทำให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ ซึ่งมีที่มาจากอำนาจหน้าที่ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้หรือวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งองค์กรนั้นๆ ประเด็นยุทธศาสตร์(Strategic Issues/ Themes) • เป็นการกำหนดประเด็นที่สำคัญที่องค์กรจำเป็นต้องดำเนินการพัฒนาเพื่อให้สามารถบรรลุวิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้ได้ • ประเด็นยุทธศาสตร์มักจะมีที่มาจาก : • แนวทางหลักในการบรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร • นโยบายหรือความจำเป็นเร่งด่วนจากภายนอกที่มีผลกระทบต่อการบบรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร • ความคาดหวังจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด คำนิยาม / คำจำกัดความ เป้าประสงค์(Goal) เป็นการกำหนดเป้าหมายในระดับวิสัยทัศน์ โดยเขียนเป็นข้อความเพื่อแสดงเป้าหมายความสำเร็จที่องค์กรมุ่งมั่นให้เกิดผล เพื่อแสดงว่าองค์กรได้บรรลุถึงวิสัยทัศน์ที่ได้ตั้งไว้หรือไม่ กลยุทธ์(Strategy) เป็นแนวคิดหรือวิธีการที่แยบคายอันบ่งบอกถึงลักษณะการเคลื่อนตัวขององค์กรว่าจะก้าวไปสู่เป้าหมายที่ต้องการในอนาคตได้อย่างไร เป็นการตอบคำถามที่ว่า “เราจะไปถึงจุดหมายที่ต้องการอย่างไร” แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม เป็นการนำแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติด้วยการเชื่อมโยงประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ไปสู่แผนงาน/โครงการ/กิจจกรมแบบบูรณาการ มีการกำหนดผู้รับผิดชอบ กิจกรรมหรือขั้นตอน กำหนดระยะเวลาดำเนินการ ตัวชี้วัดและเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้น ปัจจัยนำเข้าที่ต้องการ เช่น บุคลากร งบประมาณ เป็นต้น
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด คำนิยาม / คำจำกัดความ ตัวชี้วัด (Key Performance Indicator - KPI) • เครื่องมือหรือดัชนีที่ใช้ในการวัดความก้าวหน้าของการบรรลุแต่ละเป้าประสงค์ • เป็นค่าที่วัดจากผลการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นจริง เพื่อแสดงความก้าวหน้าหรือผลสัมฤทธิ์ของการบรรลุตามเป้าประสงค์หรือกลยุทธ์ โดยเทียบกับเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ ค่าเป้าหมาย (Target) เป็นการแสดงระดับผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวังของแต่ละตัวชี้วัด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผล การวัดผลสัมฤทธิ์ของการทำงาน ผลสัมฤทธิ์ (Results) วัตถุประสงค์ (Objectives) ปัจจัยนำเข้า (Inputs) กิจกรรมในการทำงาน (Processes) ผลผลิต (Outputs) ผลลัพธ์ (Outcome) ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) ความประหยัด (Economy) ความมีประสิทธิผล (Effectiveness)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผล คำนิยาม / คำจำกัดความ วัตถุประสงค์ (Objectives) เป้าหมายของผลสัมฤทธิ์ของงานที่ต้องการทั้งในระยะสั้น กลาง หรือระยะยาว ปัจจัยนำเข้า (Inputs) ทรัพยากรที่ใช้ในการผลิต การให้บริการหรือการปฏิบัติงาน เช่น เงินทุน คน อาคาร เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี เวลา ทรัพย์สินทางปัญญา กฎ ระเบียบ เป็นต้น กิจกรรม (Processes) • กระบวนการทำงาน ได้แก่ การนำปัจจัยนำเข้าทั้งหลายมาผ่านกระบวนการเพื่อทำให้เกิดมูลค่าเพิ่ม ตามมาตรฐานคุณภาพที่ได้กำหนดไว้ • กระบวนการแปลงทรัพยากรให้เป็นผลผลิตและผลลัพธ์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผล คำนิยาม / คำจำกัดความ ผลผลิต (Outputs) • ผลงานหรือบริการที่หน่วยงานจัดทำขึ้น โดยกิจกรรมที่ทำให้เกิดผลงานนั้นจะอยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยงาน • ผลผลิตเป็นปริมาณงานที่หน่วยงานทำได้ • ผลผลิตของโครงการอาจนำไปสู่ผลลัพธ์ของงานตามที่ต้องการ แต่ผลผลิตไม่ได้แสดงถึงผลลัพธ์ของงานหรือคุณภาพของการทำงาน ผลลัพธ์ (Outcomes) ผลกระทบที่เกิดจากผลผลิตหรือผลงานที่ได้ทำขึ้นซึ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อผู้รับบริการอันเนื่องมาจากการดำเนินการ เช่น ประโยชน์หรือความพึงพอใจที่ประชาชนได้รับ เป็นต้น ผลสัมฤทธิ์ (Results) ผลรวมของผลผลิตและผลลัพธ์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผล คำนิยาม / คำจำกัดความ ความประหยัด (Economy) การใช้ทรัพยากรน้อยที่สุดในการผลิตโดยการใช้ปัจจัยนำเข้า (Inputs) ซึ่งได้แก่ทรัพยากรในการผลิตด้วยราคาที่ต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) • ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทรัพยากรที่ใช้กับปริมาณผลผลิตที่เกิดจากกิจกรรมหรือโครงการ • เป็นการแสดงความสามารถในการผลิตและความคุ้มค่าของการลงทุน ความมีประสิทธิผล (Effectiveness) • ความสัมพันธ์ของผลลัพธ์ของการทำงานกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ • ระดับของการบรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ล่วงหน้าของโครงการหนึ่งๆ ว่าได้ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพียงไร
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด 2. การกำหนดตัวชี้วัด Balanced Scorecard ด้านประสิทธิผล External Perspective คุณภาพการให้บริการ ด้านประสิทธิภาพ Internal Perspective ด้านการพัฒนาองค์การ
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด 2. การกำหนดตัวชี้วัด ตัวอย่างScorecard
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด 2. การกำหนดตัวชี้วัด SMART คุณลักษณะของตัวชี้วัด
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด 2. การกำหนดตัวชี้วัด • การประเมินผลตัวชี้วัดผลสำเร็จ/ไม่สำเร็จ (Pass/Fail) • การประเมินผลตัวชี้วัดตามขั้นตอนการดำเนินงาน (Milestones) • การประเมินผลตัวชี้วัดเชิงผลผลิต (Output) • การประเมินผลตัวชี้วัดเชิงผลลัพธ์ (Outcome) • การประเมินผลตัวชี้วัดแบบผสมผสาน (Hybrid)
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด 2. การกำหนดตัวชี้วัด • การประเมินผลตัวชี้วัดผลสำเร็จ/ไม่สำเร็จ (Pass/Fail) ตัวอย่างตัวชี้วัด : ผลสำเร็จของการศึกษาพัฒนาการท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลภาคใต้
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด 2. การกำหนดตัวชี้วัด • การประเมินผลตัวชี้วัดตามขั้นตอนการดำเนินงาน (Milestones) ตัวอย่างตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนปฏิบัติการตามแผนพัฒนาสตรี
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด 2. การกำหนดตัวชี้วัด • การประเมินผลตัวชี้วัดเชิงผลผลิต (Output) ตัวอย่างตัวชี้วัด : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลผลิตต่อหน่วยของข้าว ตัวอย่างตัวชี้วัด : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลผลิตต่อหน่วยของพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด 2. การกำหนดตัวชี้วัด • การประเมินผลตัวชี้วัดเชิงผลลัพธ์ (Outcome) ตัวอย่างตัวชี้วัด : ระดับคุณภาพของการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของส่วนราชการ
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด 2. การกำหนดตัวชี้วัด • การประเมินผลตัวชี้วัดแบบผสมผสาน (Hybrid) ตัวอย่างตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์แก่ผู้ส่งออก
ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด 2. การกำหนดตัวชี้วัด การทดสอบคุณภาพของตัวชี้วัด • ตัวชี้วัดนั้นมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มากน้อยเพียงใด • ความพร้อมของข้อมูล (Data Availability) : มีข้อมูลเพียงพอหรือไม่ • ความถูกต้องของข้อมูล (Data Accuracy): ข้อมูลที่มีอยู่มีความถูกต้องและแม่นยำเพียงใด • ความทันสมัยของข้อมูล (Timeliness of Data) : ข้อมูลที่มีอยู่มีความทันสมัยหรือไม่ • ต้นทุนในการจัดหาข้อมูล (Cost of Data Collection) : ต้นทุนในการจัดหามากหรือน้อยเพียงใดและมีความคุ้มค่าหรือไม่ที่จะหาข้อมูลมาเพื่อตัวชี้วัดนั้นๆ