1 / 84

การบัญชีสำหรับเงินลงทุน ในหลักทรัพย์ตราสารทุน

การบัญชีสำหรับเงินลงทุน ในหลักทรัพย์ตราสารทุน. ผศ. ณัฐชา วัฒนวิไล. เงินลงทุนในตราสารทุน. 1 มูลค่าที่ใช้บันทึกบัญชี ณ วันที่ซื้อหรือได้รับ. 2 การแสดงรายการในงบการเงิน ณ วันสิ้นงวด. 3 การจำหน่าย. 4 เงินปันผล. 5 ปันผลเป็นสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสด. 6 หุ้นปันผลและการแยกหุ้น.

Télécharger la présentation

การบัญชีสำหรับเงินลงทุน ในหลักทรัพย์ตราสารทุน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบัญชีสำหรับเงินลงทุนการบัญชีสำหรับเงินลงทุน ในหลักทรัพย์ตราสารทุน ผศ. ณัฐชา วัฒนวิไล

  2. เงินลงทุนในตราสารทุน เงินลงทุนในตราสารทุน 1 มูลค่าที่ใช้บันทึกบัญชี ณ วันที่ซื้อหรือได้รับ 2 การแสดงรายการในงบการเงิน ณ วันสิ้นงวด 3 การจำหน่าย 4 เงินปันผล 5 ปันผลเป็นสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสด 6 หุ้นปันผลและการแยกหุ้น 7 สิทธิในการซื้อหุ้นออกใหม่ 8 การไถ่ถอนหุ้น 9 การแปลงสภาพ

  3. เงินลงทุนในหลักทรัพย์เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เงินลงทุน (Investment): สินทรัพย์ที่มีไว้เพื่อเพิ่มความมั่งคั่งให้กับผู้ลงทุน

  4. หลักทรัพย์(Securities) แบ่งตามลักษณะ 1. หลักทรัพย์ตราสารหนี้(Debt Securities) 2. หลักทรัพย์ตราสารทุน (Equity Securities)

  5. แบบการลงทุนในตราสารทุนแบบการลงทุนในตราสารทุน 1. ผู้ลงทุนไม่มีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญ (มีสิทธิออกเสียงน้อยกว่า 20 %) 2.ผู้ลงทุนมีอิทธิพลอย่างมีสาระสำคัญ (มีสิทธิออกเสียงระหว่าง 20 % - 50 %) 3. ผู้ลงทุนมีอำนาจในการควบคุมการบริหาร (มีสิทธิออกเสียงเกิน 50 %)

  6. หลักทรัพย์(Securities) แบ่งตามสถานที่ซื้อ 1. หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด 2. หลักทรัพย์ที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด

  7. หลักทรัพย์(Securities) แบ่งตามระยะเวลา 1. เงินลงทุนชั่วคราว(Temporary Investment) 2. เงินลงทุนระยะยาว(Long-term Investment)

  8. หลักทรัพย์(Securities) แบ่งตามวัตถุประสงค์ 1. หลักทรัพย์เพื่อค้า 2. หลักทรัพย์เผื่อขาย 3. เงินลงทุนทั่วไป 4. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนด

  9. สรุปการจัดประเภทของเงินลงทุนสรุปการจัดประเภทของเงินลงทุน ระยะยาว ชั่วคราว เงินลงทุนใน หลักทรัพย์ • / เผื่อขาย • / ถือจนครบกำหนด ตราสารหนึ้ เพื่อค้า / เผื่อขาย / จะถึงกำหนด 1ปี ตราสารทุน (<20%) เพื่อค้า / เผื่อขาย / ทั่วไป - / เผื่อขาย / ทั่วไป ตราสารทุน (20-50%) - บริษัทร่วม ตราสารทุน (>50%) บริษัทย่อย -

  10. เงินลงทุนในตราสารทุน (Investment in Equity Securities)

  11. มูลค่าที่ใช้บันทึกบัญชี ณ วันที่ซื้อหรือได้รับ กรณีซื้อเงินลงทุน ต้นทุนเท่ากับราคาซื้อรวมรวมจ่ายที่จำเป็นในการซื้อ ตัวอย่างที่ 1 หน้า 6 Dr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/หลักทรัพย์เผื่อขาย/เงินลงทุนทั่วไป 120,600 Cr. เงินสด [(1,000x 120)+600] 120,600

  12. กรณีได้รับเงินลงทุนมาด้วยการออกหุ้นทุนของกิจการแลกกรณีได้รับเงินลงทุนมาด้วยการออกหุ้นทุนของกิจการแลก ต้นทุนเงินลงทุนเท่ากับมูลค่ายุติธรรมของหลักทรัพย์หรือหุ้นที่ออกให้ ตัวอย่างที่ 2 หน้า 6 Dr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/หลักทรัพย์เผื่อขาย/เงินลงทุนทั่วไป (1,000x110) 110,000 Cr. หุ้นสามัญ (1,000x100) 100,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ (1,000x10) 10,000

  13. กรณีได้รับเงินลงทุนมาด้วยการแลกเปลี่ยนกับสินทรัพย์อื่นกรณีได้รับเงินลงทุนมาด้วยการแลกเปลี่ยนกับสินทรัพย์อื่น ต้นทุนเงินลงทุนเท่ากับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่นำไปแลก ตัวอย่างที่ 4 (ก) หน้า 7 Dr. เงินลงทุนทั่วไป 71,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องใช้สำนักงาน 10,000 Cr. เครื่องใช้สำนักงาน 80,000 รายการกำไรที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ 1,000

  14. กรณีได้รับเงินลงทุนมาด้วยการแลกเปลี่ยนกับสินทรัพย์อื่นกรณีได้รับเงินลงทุนมาด้วยการแลกเปลี่ยนกับสินทรัพย์อื่น ต้นทุนเงินลงทุนเท่ากับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่นำไปแลก ตัวอย่างที่ 4 (ข) หน้า 7 Dr. เงินลงทุนทั่วไป(600x120) 72,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องใช้สำนักงาน 10,000 Cr. เครื่องใช้สำนักงาน 80,000 รายการกำไรที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ 2,000

  15. กรณีซื้อเงินลงทุนที่มีเงินปันผลคงค้างก่อนวันซื้อรวมอยู่ ราคาทุนของเงินลงทุนเท่ากับราคาซื้อไม่รวมเงินปันผลคงค้าง ตัวอย่างที่ 5 หน้า 8 Dr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/หลักทรัพย์เผื่อขาย/เงินลงทุนทั่วไป 115,600 รายได้เงินปันผล(1,000x5) 5,000 Cr. เงินสด[(1,000x120)+600] 120,600

  16. กรณีซื้อหลักทรัพย์มากกว่า 1 ชนิดในราคารวมกัน กรณีทราบมูลค่ายุติธรรมของหุ้นทุกชนิด การแบ่งราคารวมให้เป็นราคาทุนของเงินลงทุนแต่ละชนิด แบ่งตามสัดส่วนของมูลค่ายุติธรรม กรณีทราบมูลค่ายุติธรรมของหุ้นเพียงบางชนิด การแบ่งราคารวมให้เป็นราคาทุนของเงินลงทุนแต่ละชนิด หุ้นที่ทราบมูลค่ายุติธรรม ราคาทุนเท่ากับมูลค่ายุติธรรม หุ้นที่ไม่ทราบมูลค่ายุติธรรม ราคาทุนเท่ากับราคาทุนที่เหลือ กรณีไม่ทราบมูลค่ายุติธรรมของหุ้นทุกชนิด ณ วันที่ซื้อให้บันทึกรวมไว้ก่อนจนกว่าจะทราบมูลค่ายุติธรรม

  17. ตัวอย่างที่ 6 หน้า 8 กรณีทราบมูลค่ายุติธรรมของหุ้นทุกชนิด มูลค่ายุติธรรมของหุ้น สามัญ-บ.ก 5,000 x 15 = 75,000 สามัญ-บ.ข 21,500 x 20 = 425,000 รวม500,000 ราคาทุนรวม 400,000 บาท แบ่งเป็นราคาทุนของหุ้น สามัญ-บ.ก = 400,000 x 75,000 / 500,000 = 60,000 สามัญ-บ.ข = 400,000 x 425,000 / 500,000 = 340,000

  18. ตัวอย่างที่ 6 หน้า 8 กรณีทราบมูลค่ายุติธรรมของหุ้นเพียงบางชนิด มูลค่ายุติธรรมของหุ้น สามัญ-บ.ก 5,000 x 15 = 75,000 สามัญ-บ.ข ไม่ทราบ ราคาทุนรวม 400,000 บาท แบ่งเป็นราคาทุนของหุ้น สามัญ-บ.ก= 5,000 x 15 = 75,000 สามัญ-บ.ข= 400,000 - 75,000 = 325,000

  19. การแสดงรายการเงินลงทุนในงบการเงิน ณ วันสิ้นงวด บัญชีรายการกำไร/ขาดทุน ที่ยังไม่เกิดขึ้น งบดุล เงินลงทุนในหลักทรัพย์ รายได้หรือค่าใช้จ่ายใน งบกำไรขาดทุน หลักทรัพย์เพื่อค้า ใช้มูลค่ายุติธรรม ใช้มูลค่ายุติธรรม ส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุล หลักทรัพย์เผื่อขาย ใช้ราคาทุน เงินลงทุนทั่วไป ไม่ปรากฏบัญชีนี้

  20. ตัวอย่างที่ 7 หน้า 12 หลักทรัพย์เพื่อค้า 1 ต.ค. 2540 Dr. หลักทรัพย์เพื่อค้า 130,000 Cr. เงินสด 130,000 หลักทรัพย์เผื่อขาย Dr. หลักทรัพย์เผื่อขาย 130,000 Cr. เงินสด 130,000 เงินลงทุนทั่วไป Dr. เงินลงทุนทั่วไป 130,000 Cr. เงินสด 130,000

  21. หลักทรัพย์เพื่อค้า 31 ธ.ค. 2540 Dr. หลักทรัพย์เพื่อค้า 5,000 Cr. รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 5,000 หลักทรัพย์เผื่อขาย Dr. หลักทรัพย์เผื่อขาย 5,000 Cr.รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 5,000 เงินลงทุนทั่วไป -

  22. หลักทรัพย์เพื่อค้า งบดุล 31 ธ.ค. 2540 สินทรัพย์ หลักทรัพย์เพื่อค้า (มูลค่ายุติธรรม) 135,000 งบกำไรขาดทุน 31 ธ.ค. 2540 บวก รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 5,000 หลักทรัพย์เผื่อขาย งบดุล 31 ธ.ค. 2540 สินทรัพย์ หลักทรัพย์เผื่อขาย (มูลค่ายุติธรรม) 135,000 ส่วนของผู้ถือหุ้น บวก รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 5,000

  23. เงินลงทุนทั่วไป งบดุล 31 ธ.ค. 2540 สินทรัพย์ เงินลงทุนทั่วไป (ราคาทุน) 130,000

  24. หลักทรัพย์เพื่อค้า 31 ธ.ค. 2541 Dr. รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 15,000 Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า 15,000 หลักทรัพย์เผื่อขาย Dr.รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 15,000 Cr. หลักทรัพย์เผื่อขาย 15,000 เงินลงทุนทั่วไป -

  25. หลักทรัพย์เพื่อค้า งบดุล 31 ธ.ค. 2541 สินทรัพย์ หลักทรัพย์เพื่อค้า (มูลค่ายุติธรรม) 120,000 งบกำไรขาดทุน 31 ธ.ค. 2541 หัก รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 15,000 หลักทรัพย์เผื่อขาย งบดุล 31 ธ.ค. 2541 สินทรัพย์ หลักทรัพย์เผื่อขาย (มูลค่ายุติธรรม) 120,000 ส่วนของผู้ถือหุ้น หัก รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 10,000 กำไร(Cr.)ปีก่อน 5,000 หัก ขาดทุน(Dr)ปีนี้ 15,000

  26. เงินลงทุนทั่วไป งบดุล 31 ธ.ค. 2541 สินทรัพย์ เงินลงทุนทั่วไป (ราคาทุน) 130,000

  27. การจำหน่ายเงินลงทุนในตราสารทุนการจำหน่ายเงินลงทุนในตราสารทุน บัญชีรายการกำไรหรือรายการขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน Dr. เงินสด(ราคาขาย-ค่าใช้จ่ายโดยตรงในการขาย) XX Dr./Cr. รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น (ที่แสดงไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เฉพาะส่วนของหุ้นที่ขาย) XX Dr./Cr. รายการขาดทุนหรือรายการกำไรที่เกิดขึ้น จากการขายหลักทรัพย์(ผลต่าง) XX Cr. หลักทรัพย์(ราคาตามบัญชีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก) XX

  28. ตัวอย่างที่ 8 กน้า 13 หลักทรัพย์เพื่อค้า 1 ก.ค. 2542 Dr. เงินสด 124,000 Cr.หลักทรัพย์เพื่อค้า 120,000 รายการกำไรที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ 4,000 งบดุล 31 ธ.ค. 2542 สินทรัพย์ หลักทรัพย์เพื่อค้า(มูลค่ายุติธรรม) 0 งบกำไรขาดทุน 31 ธ.ค. 2542 บวก รายการกำไรที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ 4,000

  29. ตัวอย่างที่ 8 หน้า 13 หลักทรัพย์เผื่อขาย 1 ก.ค. 2542 Dr. เงินสด 124,000 Cr.หลักทรัพย์เผื่อขาย 120,000 รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 10,000 รายการขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ 6,000 งบดุล 31 ธ.ค. 2542 สินทรัพย์ หลักทรัพย์เผื่อขาย(มูลค่ายุติธรรม) 0 ส่วนของผู้ถือหุ้น รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 0 งบกำไรขาดทุน 31 ธ.ค. 2542 หัก รายการขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ 6,000

  30. ตัวอย่างที่ 8 หน้า 13 เงินลงทุนทั่วไป 1 ก.ค. 2542 Dr. เงินสด 124,000 Cr.เงินลงทุนทั่วไป 130,000 รายการขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ 6,000 งบดุล 31 ธ.ค. 2542 สินทรัพย์ เงินลงทุนทั่วไป(ราคาทุน) 0 งบกำไรขาดทุน 31 ธ.ค. 2542 หัก รายการขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ 6,000

  31. ตัวอย่างที่ 9 หน้า 15 มี.ค. 1 Dr.หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย/เงินลงทุนทั่วไป 120,000 Cr. เงินสด(10,000x12) 120,000 ต.ค. 1 Dr.หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย/เงินลงทุนทั่วไป 220,200 Cr. เงินสด(20,000x11.01) 220,200 ราคาตามบัญชี 120,000+220,200=340,200 บาท จำนวนหุ้น 10,000+20,000=30,000 หุ้น พ.ย.1 Dr. เงินสด(18,000x11.50) 207,000 Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย/เงินลงทุนทั่วไป (18,000x11.34) 204,120 รายการกำไรที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ 2,880 ราคาตามบัญชี 340,200-204,120=136,080 บาท จำนวนหุ้น 30,000-18,000=12,000 หุ้น

  32. ตัวอย่างที่ 10 หน้า16 7 มี.ค. 2542 Dr. เงินสด (600x113)- 200 67,600 Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย/ เงินลงทุนทั่วไป(84,800x600/800) 63,600 เงินปันผลค้างรับ(600x10) 6,000 รายการขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการ ขายหลักทรัพย์ (ผลต่าง) 2,000

  33. เงินปันผล เงินปันผลหุ้นสามัญ = จำนวนหุ้น x เงินปันผลต่อหุ้น เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ์ = จำนวนหุ้น x ราคามูลค่าต่อหุ้น x%อัตราปันผล x งวดเวลา รายได้เงินปันผลเป็นรายได้ในงบกำไรขาดทุน บันทึกบัญชี ณ วันประการจ่ายเงินปันผล Dr. เงินปันผลค้างรับ xx Cr. รายได้เงินปันผล xx บันทึกบัญชี ณ วันได้รับเงินปันผล Dr. เงินสด xx Cr. เงินปันผลค้างรับ xx

  34. ปันผลเป็นสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดปันผลเป็นสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสด ให้รับรู้สินทรัพย์ที่ได้รับตามมูลค่ายุติธรรม และถือเป็นรายได้ในงบกำไรขาดทุน Dr. สินทรัพย์ (มูลค่ายุติธรรม) xx Cr. รายได้เงินปันผล xx หุ้นปันผลและการแยกหุ้น 1. หุ้นปันผลชนิดเดียวกับหุ้นที่ถือ ให้รับรู้จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น โดยบันทึกความจำ (memo) ราคาตามบัญชีไม่เปลี่ยนแปลง

  35. ตัวอย่างที่ 12 หน้า 18 1มิ.ย.2542 memo ได้รับหุ้นสามัญปันผลจาก บ.abc รายละเอียดของหุ้นสามัญ บ.abc เป็นดังนี้ จำนวนหุ้น = 1,000 + 500 = 1,500 หุ้น ราคาตามบัญชี =90,000 บาท (เท่าเดิม) 1ก.ย.2542 Dr. เงินสด(200x75) 15,000 Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย/ เงินลงทุนทั่วไป (90,000x200/1,500) 12,000 รายการกำไรที่เกิดขึ้นจากการ ขายหลักทรัพย์ (ผลต่าง) 3,000

  36. ตัวอย่างที่ 13 หน้า 19 1 ก. ย. 2542 ราคาทุนของหลักทรัพย์ = 200 x 95 = 19,000 31 ธ.ค. 2542 ตีราคาหลักทรัพย์เพื่อค้าและเผื่อขาย ราคาตามบัญชี 19,000 มูลค่ายุติธรรม (200 x 105) 21,000 ตีราคาเพิ่มขึ้น 2,000

  37. งบดุล 31 ธ.ค. 2542 หลักทรัพย์เพื่อค้า สินทรัพย์ หลักทรัพย์เพื่อค้า 21,000 หลักทรัพย์เผื่อขาย สินทรัพย์ หลักทรัพย์เผื่อขาย 21,000 ส่วนของผู้ถือหุ้น บวก รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 2,000 เงินลงทุนทั่วไป สินทรัพย์ เงินลงทุนทั่วไป 19,000

  38. 1 เม.ย. 2543 หลักทรัพย์เพื่อค้า memo ได้รับหุ้นสามัญปันผล รายละเอียดของหุ้นเป็นดังนี้ จำนวนหุ้น = 200 + 20 = 220 หุ้น ราคาตามบัญชี (เท่าเดิม) = 21,000 บาท หลักทรัพย์เผื่อขาย memo ได้รับหุ้นสามัญปันผล รายละเอียดของหุ้นเป็นดังนี้ จำนวนหุ้น = 200 + 20 = 220 หุ้น ราคาตามบัญชี (เท่าเดิม) = 21,000 บาท รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น = 2,000 บาท

  39. 1 เม.ย. 2543 เงินลงทุนทั่วไป memo ได้รับหุ้นสามัญปันผล รายละเอียดของหุ้นเป็นดังนี้ จำนวนหุ้น = 200 + 20 = 220 หุ้น ราคาตามบัญชี (เท่าเดิม) = 19,000 บาท 12 ต.ค. 2543 หลักทรัพย์เพื่อค้า Dr. เงินสด (50 x 101) 5,050 Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า (21,000 x 50 / 220) 4,773 รายการกำไรที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ 277

  40. 12 ต.ค. 2543 หลักทรัพย์เผื่อขาย Dr. เงินสด (50 x 101) 5,050 รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น (2,000 x 50 / 220) 455 Cr. หลักทรัพย์เผื่อขาย (21,000 x 50 / 220) 4,773 รายการกำไรที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ 732 เงินลงทุนทั่วไป Dr. เงินสด (50 x 101) 5,050 Cr. เงินลงทุนทั่วไป (19,000 x 50 / 220) 4,318 รายการกำไรที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ 732

  41. การแยกหุ้น (Stock splits ups) ให้รับรู้จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้น โดยบันทึกความจำ (memo) ราคาตามบัญชีไม่เปลี่ยนแปลง การรวมหุ้น (Stock splits downs) ให้รับรู้จำนวนหุ้นที่ลดขึ้น โดยบันทึกความจำ (memo) ราคาตามบัญชีไม่เปลี่ยนแปลง ตัวอย่างที่ 14 หน้า 21 memo หุ้นสามัญบ.ซากุระเพิ่มขี้น ในอัตรา 1:2 เนื่องจาก บ.ซากุระทำการ แยกหุ้นราคาตามมูลค่า 100 บาท เป็น 50 บาท (1 หุ้นเป็น 2 หุ้น) รายละเอียดของหุ้นสามัญบ.ซากุระเป็นดังนี้ จำนวนหุ้น = 900 x 2 = 1,800 หุ้น ราคาตามบัญชี(เดิม) = 119,900 บาท

  42. 2. หุ้นปันผลต่างชนิดกับหุ้นที่ถือ ถือหุ้นสามัญได้รับหุ้นปันผลเป็นหุ้นบุริมสิทธิ์ หุ้นบุริมสิทธิ์ที่ได้รับมีการรับรุ้ได้ 3 วิธีคือ 1. Allocation method ราคาทุนของหุ้นบุริมสิทธิ์โอนมาจากราคาทุนของหุ้นสามัญที่ก่อให้เกิดหุ้นปันผล 2. Noncost method รับรู้หุ้นบุริมสิทธิ์ที่เกิดขึ้นโดยบันทึกความทรงจำ (memo) 3. Market method ราคาทุนของหุ้นบุริมสิทธิ์เท่ากับมูลค่ายุติธรรมและรับรู้รายได้ในงบกำไรขาดทุน

  43. ตัวอย่างที่ 15 หน้า 22 วิธี Allocation method มูลค่ายุติธรรม หุ้นบุริมสิทธิ์ = 40 x 62.50 = 2,500 หุ้นสามัญ =100 x 100 = 10,000 12,500 ราคาทุนของหุ้นบุริมสิทธิ์ (ได้รับปันผล) จำนวน 40 หุ้น = 7,500 x 2,500 / 12,500 = 1,500 บาท ราคาทุนของหุ้นสามัญ (หุ้นที่ก่อให้เกิดหุ้นปันผล) จำนวน 100 หุ้น = 7,500 - 1,500 บาท Dr.หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย/เงินลงทุนทั่วไป-หุ้นบุริมสิทธิ์ 1,500 Cr.หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย/เงินลงทุนทั่วไป-หุ้นสามัญ 1,500

  44. สิทธิในการซื้อหุ้นออกใหม่ (Stock rights) ให้รับรู้มูลค่าของสิทธิที่ได้รับ โดยโอนมาจากราคาทุนของหุ้นที่ก่อให้เกิดสิทธินั้น ตามสัดส่วนมูลค่ายุติธรรม บันทึกบัญชี ณ วันที่ได้รับสิทธิ Dr. สิทธิซื้อหุ้น (มูลค่าของสิทธิ) xx Dr./ Cr. รายการกำไร/รายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น (หากมีในส่วนของผู้ถือหุ้น) (โอนให้เป็นมูลค่าของสิทธิ) xx Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย/เงินลงทุนทั่วไป (โอนให้เป็นมูลค่าของสิทธิ) xx

  45. ตัวอย่างที่ 16 หน้า 23 1 เม.ย. 2542 มูลค่ายุติธรรมของหุ้น = 200 x 60 = 12,000 สิทธิ = 100 x 2 = 200 12,200 ราคาทุนของสิทธิ = 8,000 x 200 /12,200 = 131.15 (100 สิทธิ) ราคาตามบัญชีของหุ้น = 8,000 - 131.15 = 7,868.85 (200 หุ้น ) Dr. สิทธิซื้อหุ้น 131.15 Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย/เงินลงทุนทั่วไป 131.15 1 พ.ค. 2542 Dr. เงินสด (15 x 49) 735 Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย/เงินลงทุนทั่วไป (7,868.85 x 15 / 200) 590.10 รายการกำไรที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ 144.90

  46. การใช้สิทธิซื้อหุ้น Dr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย/เงินลงทุนทั่วไป (เงินสดที่ใช้ซื้อ + มูลค่าของสิทธิที่ใช้) xx Cr. เงินสด (จำนวนหุ้นที่ซื้อ x ราคาที่กำหนด) xx สิทธิซื้อหุ้น (มูลค่าของสิทธิ x สิทธิที่ใช้ / สิทธิทั้งหมด) xx 31 พ.ค. 2542 เงื่อนไขการใช้สิทธิ คือ 2 สิทธิซื้อได้ 1 หุ้นในราคาหุ้นละ 40 บาท ดังนั้นการใช้สิทธิ 80 สิทธิจึงซื้อหุ้นได้ 40 หุ้นหุ้นละ 40 บาท Dr. หลักทรัพย์เพื่อค้า/เผื่อขาย/เงินลงทุนทั่วไป (1,600 + 104.80) 1,704.80 Cr. เงินสด (40หุ้น x 40 บาท) 1,600 สิทธิซื้อหุ้น (131.15 x 80 / 100) 104.80

  47. การขายสิทธิซื้อหุ้น Dr. เงินสด (จำนวนสิทธิ x ราคาขาย - ค่าใช้จ่ายในการขาย) xx Cr. สิทธิซื้อหุ้น (มูลค่าของสิทธิ x สิทธิที่ขาย / สิทธิทั้งหมด) xx Dr./Cr. รายการขาดทุน/กำไรที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ xx 1 ก.ค. 2542 Dr. เงินสด (5 x 10) - (50 x 0.5%) 49.75 Cr. สิทธิซื้อหุ้น (131.15 x 10 / 100) 13.10 รายการกำไรที่เกิดขึ้นจากการขายหลักทรัพย์ 36.65 สิทธิหมดอายุ Dr. รายการขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการไม่ใช้สิทธิซื้อหุ้น xx Cr. สิทธิซื้อหุ้น (มูลค่าของสิทธิ x สิทธิที่เหลือ / สิทธิทั้งหมด) xx 31 ก.ค. 2542 Dr. รายการขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการไม่ใช้สิทธิซื้อหุ้น 13.25 Cr. สิทธิซื้อหุ้น (131.25 - 104.80 - 13.10) 13.25

  48. ตัวอย่างที่ 17 หน้า 25 1 ธ.ค. 2542 ราคาทุนของหลักทรัพย์ = 500 x102 = 51,000 บาท 31 ธ.ค. 2542 ตีราคาหลักทรัพย์เพื่อค้าและหลักทรัพย์เผื่อขาย ราคาตามบัญชี 51,000 มูลค่ายุติธรรม (500 x 99) 49,500 ตีราคาลดลด 1,500 งบดุล 31 ธ.ค. 2542 หลักทรัพย์เพื่อค้า สินทรัพย์ หลักทรัพย์เพื่อค้า 49,500

  49. งบดุล 31 ธ.ค. 2542 หลักทรัพย์เผื่อขาย สินทรัพย์ หลักทรัพย์เผื่อขาย 49,500 ส่วนของผู้ถือหุ้น หัก รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น 1,500 เงินลงทุนทั่วไป สินทรัพย์ เงินลงทุนทั่วไป 51,000

  50. 14 เม.ย. 2542 มูลค่ายุติธรรมของหุ้น = 500 x 101 = 50,500 สิทธิ = 500 x 3 = 1,500 52,000 หลักทรัพย์เพื่อค้า Dr.สิทธิซื้อหุ้น Cr. หลักทรัพย์เพื่อค้า (49,500 x 1,500 / 52,000) 1,428 หลักทรัพย์เผื่อขาย Dr.สิทธิซื้อหุ้น Cr. หลักทรัพย์เผื่อขาย (49,500 x 1,500 / 52,000) 1,428 รายการกำไรรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น (ยกมา Dr.) (1,500 x 1,500 / 52,000) 43 เงินลงทุนทั่วไป Dr.สิทธิซื้อหุ้น Cr. เงินลงทุนทั่วไป(51,000 x 1,500 / 52,000) 1,471 1,428 1,471 1,471

More Related