1 / 90

วิจัยในภาคอุตสาหกรรม... อีกมิติที่แข่งขันได้

วิจัยในภาคอุตสาหกรรม... อีกมิติที่แข่งขันได้. โดย รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. ผู้จัดการโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. ความหมายของ “ วิจัย ”. วิจัย เป็นไวพจน์ (Synonym) ของคำว่า ปัญญา.

archie
Télécharger la présentation

วิจัยในภาคอุตสาหกรรม... อีกมิติที่แข่งขันได้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิจัยในภาคอุตสาหกรรม... อีกมิติที่แข่งขันได้ โดย รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หล่อทองคำ สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. ผู้จัดการโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  2. ความหมายของ “วิจัย” วิจัยเป็นไวพจน์ (Synonym) ของคำว่า ปัญญา การทำวิจัย คือ กระบวนการเก็บข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์และสรุปผลอย่างมีแบบแผน เพื่อให้ได้องค์ความรู้ตามวัตถุประสงค์ โดยมีความมั่นใจในความถูกต้องของผลสรุป การวิจัยจึงเป็นการผลิตความรู้ (Knowledge production) ที่ต้องลงทุน โดยสัดส่วนระหว่างกำไรกับการลงทุนมีค่ามากที่สุด (Profit maximization) การตั้งโจทย์วิจัย ....ต้องกระชับ ควรเป็นแบบ Demand pull / Market orientaed (การวิจัยที่มีผู้ใช้ เช่น วิจัยกับภาคอุตสาหกรรม) วิธีการทำแม่นยำ ถูกต้อง ....ศึกษาและควบคุมตัวแปรครบถ้วน ผลงานวิจัย / ผลได้(Outputs) เชื่อถือได้ ทำซ้ำได้ (Repeatability and Reproducibility)

  3. ความหมาย...การวิจัย การวิจัย คือ การสะสม การรวบรวม การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่าง ถี่ถ้วนตามหลักวิชา (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542) ResearchCambridge International Dictionary of English: A detailed study of a subject, esp. in order to discover (new) information or reach a (new) understanding. The Oxford American Dictionary of Current English, 1999: The systematic investigation into and study of materials, sources, etc., in order to establish facts and reach new conclusions.

  4. ความหมาย...การวิจัย การวิจัย คือ การศึกษาค้นคว้าอย่างมีระเบียบ เพื่อแสวงหาคำตอบสำหรับปัญหาหรือคำถามการวิจัยที่กำหนดไว้หรือเพื่อแสวงหาความรู้ใหม่ ซึ่งทำให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือเกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ ด้วยกระบวนการอันเป็นที่ยอมรับในวิทยาการแต่ละสาขาซึ่งในทางวิทยาศาสตร์การแพทย์แล้ว นิยมใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพราะเชื่อว่าวิธีการนี้จะมีความถูกต้องและเชื่อถือได้มากที่สุด วิจัย... สอนให้คนคิด ฝึกให้คนค้นหา...อย่างเป็นระบบ

  5. จรรยาบรรณของการวิจัย-แนวปฏิบัติจรรยาบรรณของการวิจัย-แนวปฏิบัติ 1. นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ • นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำวิจัยตามข้อตกลง • นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาที่ทำวิจัย 4. นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่มีชีวิต หรือไม่มีชีวิต • นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย • นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติ • นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ • นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น 9. นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

  6. ความหมายของ “พัฒนา” พัฒนา หมายถึง 1. การทำให้ “สภาวะดีขึ้น” 2. การใช้ความรู้เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น 3. การทำให้ความรู้ที่เป็นนามธรรมกลายเป็นรูปธรรม เพื่อใช้งานได้ (Practicality) จากหิ้งสู่ห้าง: งานต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ

  7. ความหมาย...การวิจัยและพัฒนาความหมาย...การวิจัยและพัฒนา การวิจัยและพัฒนา คือ กระบวนการศึกษาค้นคว้า คิดค้นอย่างเป็นระบบและ น่าเชื่อถือ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาผลผลิต เทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ์ สื่อ อุปกรณ์ เทคนิควิธีหรือรูปแบบการทำงานหรือ ระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น อย่างชัดเจน Research and DevelopmentThe Oxford American Dictionary of Current English, 1999: (in industry, etc.) work directly toward the innovation, introduction, and improvement of products and processes.

  8. ความต่างของ “การวิจัย”และ “การพัฒนา” การวิจัย คือ กระบวนการ “สร้าง” ความรู้ การพัฒนา คือ กระบวนการ “ใช้” ความรู้ งานวิจัยและพัฒนา คือ การ “สร้าง” ความรู้เพื่อนำไป “ใช้” ประโยชน์ในการปรับปรุงกระบวนการต่าง ๆ ให้ดีขึ้น • การวิจัยและพัฒนาในมุมมองของ OECDหมายถึง การสร้างสรรค์ความรู้ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความรู้เกี่ยวกับคน วัฒนธรรม และสังคม อย่างเป็นระบบ รวมถึงการใช้ความรู้เหล่านั้นเพื่อประโยชน์ในด้านต่างๆ OECD: Organization for Economics Co-operation and Development

  9. การทำวิจัยและพัฒนา หมายถึง “การหาปัญญา และทำให้สภาวะดีขึ้น” อุณหภูมิ 38 ซ พัด เมื่อย พัดลมไฟฟ้า ความเย็นเฉพาะที่ไม่ทั่วถึง เครื่องปรับอากาศ

  10. Plan Act Do Check Make it better by Kaizen (The Deming Wheel) Continuous improvement Assurance

  11. 3 1 2 ประโยชน์จากการวิจัย 3 ลักษณะแบ่งตามเกณฑ์จากประโยชน์ของการวิจัยโดยสภาวิจัยแห่งชาติ 1. การสร้างองค์ความรู้ใหม่ 2. การขยายความรู้ที่ได้มาให้สมบูรณ์ และ/หรือการนำความรู้นั้นไปประยุกต์ใช้ 3. การแก้ปัญหาด้านประยุกต์ และ/หรือ การปรับใช้เทคนิคกับสภาวะแวดล้อมต่างๆ

  12. คุณค่าของผลการวิจัยที่คาดว่าจะได้คุณค่าของผลการวิจัยที่คาดว่าจะได้ • - ความรู้พื้นฐาน • - องค์ความรู้ใหม่ • - องค์ความรู้เก่าที่ต้องการยืนยัน • - การพัฒนาสู่เชิงนโยบายของประเทศ เชิงพาณิชย์ การพัฒนา สังคม ฯลฯ • - การพัฒนาลงสู่ฐานรากของประเทศ

  13. 3. ความรู้ติดตัว 7. วิจัย 6. โจทย์วิจัย 8. แก้ปัญหา 5. ความรู้ติดตาม โครงการแบบ Demand pull 2. เห็นปัญหา 4. Consult 3. ความรู้ติดตัว 1. ปฏิสัมพันธ์กับ User

  14. 5. R&D 4. เห็นโอกาสใช้งาน 1. ความรู้ติดตัว 6. ผลักดันสู่ตลาด 8. ความต้องการใหม่ 3. วิจัย 7. คู่แข่ง 2. ต้องการรู้มากขึ้น โครงการแบบ Supply push

  15. โครงการแบบบูรณาการ (ชุดโครงการ) ศึกษาชีววิทยาของมอด การป้องกันรักษาเนื้อไม้โดยไม่ใช้สารเคมี การคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ การแปรรูปไม้ ปัจจัยที่มีผลต่อการอบไม้อุตสาหกรรมภายใต้สุญญากาศ การพัฒนาระบบตัดฟันและขนส่งไม้เศรษฐกิจ เทคโนโลยีการเลื่อยและอบไม้ปาล์มน้ำมัน ตัวอย่างงานชุดโครงการงานไม้และเยื่อ

  16. ตัวอย่าง การวิจัยพื้นฐาน (Basic research) 1. การศึกษาการแก้สมการเชิงอนุพันธ์ 2. การศึกษากลไกทางชีวเคมีและชีว-ฟิสิกส์ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการต้านทานรังสีของจุลินทรีย์ 3. การศึกษาคุณสมบัติและโครงสร้างของสมุนไพรและพืชพันธุ์ของไทย 4. การศึกษาการแพร่กระจายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ความถี่ต่างๆ

  17. ตัวอย่าง การวิจัยประยุกต์ (Applied research) 1. การศึกษาการแก้สมการเชิงอนุพันธ์เพื่อใช้อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น อธิบายความหนาแน่นและความเร็วของการแพร่กระจายของคลื่นวิทยุ 2. การศึกษาเกี่ยวกับผลของกระบวนการที่มีการใช้ความร้อนและการฉายรังสีต่อการอยู่รอดของยีสต์เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาวิธีการถนอมน้ำผลไม้ 3. การวิจัยเกี่ยวกับการนำสมุนไพรและพืชพันธุ์ของไทยมาใช้ในการบำบัดทางสุขภาพ 4. การศึกษาเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายโดยมุ่งเน้นเทคโนโลยีเซลลูลาร์

  18. ตัวอย่าง การพัฒนาเชิงทดลอง (Experimental development) 1. การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแก้สมการเชิงอนุพันธ์สำหรับอธิบายการเคลื่อนที่แบบคลื่น 2. การพัฒนากระบวนการถนอมน้ำผลไม้ด้วยรังสีแกมมา 3. การผลิตเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพที่ช่วยบำบัดความเจ็บป่วยแบบเรื้อรังและทำให้สดชื่นจากสมุนไพรและพืชพันธุ์ของไทย 4. การพัฒนาต้นแบบโทรศัพท์มือถือ

  19. ตัวอย่างหัวข้อวิจัยหลักตัวอย่างหัวข้อวิจัยหลัก การวิจัย ปัญหาสังคม เฉพาะหน้า พลังงาน สิ่งแวดล้อม CDM • พลังงานจากน้ำมันพืชใช้แล้ว • Cyclonic precipitator เกษตร/อาหาร • การถนอมอาหารเพื่อส่งออก • การวิจัยบรรจุภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ • การแปรรูปอาหาร • Bom-jammer • พลังงานทดแทน • การเพิ่มประสิทธิภาพ

  20. Multidisciplinary Benchmarking Reverse engineering Problem-based & solution-targeted

  21. เป้าหมายของฝ่ายอุตสาหกรรม สกว. ต่อชุดโครงการ MAG คือ “งานเชื่อมโยงภาคการผลิตกับการสร้างกำลังคน” สร้างสรรค์ปัญญา พัฒนาประเทศ การเรียนรู้บนเส้นทางการจัดการของทุน MAG 1

  22. Academic-industry research collaboration ที่มาการประชุม คปก. และภาคอุตสาหกรรม • Seeding – Building capability in core technologies/cluster • Equipping –Developing efficient work processes • Road mapping – Do the right things / Do things right • Networking – Connect & Corporate & Integrate โครงการวิจัยที่ดี คือ โครงการที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง และให้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่า หรือบรรลุเป้าหมายได้ดีที่สุด

  23. TRF-MAG ค้นหานักวิจัย เรียนปริญญาโท..อยากได้ทุนวิจัย ? โจทย์วิจัย MAG 1 - สกว.- ผู้ประกอบการ - ผู้ทรงคุณวุฒิ พิจารณาทุน

  24. การประชุมวิชาการ โครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมกับการประชุมวิชาการ โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก การรายงานความก้าวหน้าและรายงานปิดโครงการ สกว.-บจม.ปูนซีเมนต์นครหลวง Commentators

  25. Journal - บัณฑิตที่มีคุณภาพ - พัฒนาประเทศ ผู้ประกอบการนำไปต่อยอดเพื่อผลิต - ตีพิมพ์ผลงานวิชาการ - ผลงาน Oral presentation - สิทธิบัตร หรือ อนุสิทธิบัตร

  26. หน่วยงานให้ทุน ผู้เกี่ยวข้อง ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ประกอบการ ผจก.งานวิจัย/ นักวิจัย

  27. ความสัมพันธ์ของภาคีต่าง ๆ ในการวิจัยร่วมกับผู้ประกอบการ ที่มา: ถอดรหัสการเขียนโครงการวิจัยประเภททุนแข่งขัน: เพื่อเพิ่มคุณค่าของการวิจัยไทย สุธีระ ประเสริฐสรรพ์

  28. ผู้จัดการงานวิจัย “Research managers : RM” ควรมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ • Knowledge • Skills • (มีความรู้และทักษะแบบ Integration ไม่ใช่ Individual และต้องเข้าใจ Ecosystem ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี คือ สามารถจัดการ Ecosystem ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์เต็มที่อย่างเหมาะสม) • Tools – PM Body of Knowledge: • Drive ความมุ่งมั่นในการทำงาน • PM = การบริหารโครงการ (Project management)

  29. หลักและแนวคิดในการลงทุนในการวิจัยหลักและแนวคิดในการลงทุนในการวิจัย High Risk High Return Low Risk High Return - ลงทุนสูง - ผลตอบแทนสูง - ลงทุนต่ำ - ผลตอบแทนสูง Low Risk Low Return High Risk Low Return - ลงทุนสูง - ผลตอบแทนต่ำ - ลงทุนต่ำ - ผลตอบแทนต่ำ

  30. ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยปี 2544-2549 ที่มา : ข้อมูล R&D ปี 2544-2545 : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ข้อมูล R&D ปี 2546-2549 : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ข้อมูล GDP : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  31. สัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศต่อผลิตภัณฑ์สัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศต่อผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ ของกลุ่มประเทศในเอเชีย ปี 2549 ที่มา : 1. Main Science and Technology Indicators, June 2008 2. International Institute for Management Development (2007). World Competitiveness Yearbook 2007. 3. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติและสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (National Research Council of Thailand &National Science and Technology Development Agency)

  32. Research objectives University Company • New knowledge • Publish papers • Conferences • Master, PhD students • New products , processes • Competitiveness • Knowledge management • Benefits Academic value Business value ที่มา: การประชุม คปก. และภาคอุตสาหกรรม

  33. ปัญหาและอุปสรรคการทำ R&D กับภาคอุตสาหกรรม ข้อจำกัดเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา การรักษาความลับทางการค้า ระยะเวลาการทำวิจัยต้องรวดเร็ว การดำเนินงานวิจัยมีพลวัตสูง ผู้ประกอบการมุ่งหวังผลการวิจัยที่ใช้ได้ เช่น มี cycle time ต่ำ

  34. การจัดการงานวิจัย 3 ระดับ ***การจัดการต้นน้ำ*** การจัดการกลางน้ำ ****การจัดการปลายน้ำ****

  35. มิติการบริหารงานวิจัยมิติการบริหารงานวิจัย ระบบสนับสนุน

  36. กลางน้ำ ต้นน้ำ

  37. IMPACTS INPUTS ACTIVITIES OUTCOMES OUTPUTS

  38. การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยการประเมินคุณภาพผลงานวิจัย การประเมินก่อนเริ่มโครงการ/การวิเคราะห์โครงการ การประเมินระหว่างดำเนินการ การประเมินหลังสิ้นสุดโครงการ เพื่อผลักดันผลงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์ ก่อนเริ่ม ระหว่างดำเนินการ สิ้นสุด Inputs Process Outputs Outcomes Impacts

  39. ผลรับหรือผลได้ (Outputs) คือ ผลจากงานวิจัย อาจเป็นความรู้ใหม่ วิธีการหรือเทคนิคใหม่ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นผลลัพธ์หรือผลบังเกิด (Outcomes) คือ สิ่งที่เกิดจากการใช้ผลได้ (ผลงานวิจัย) มาประยุกต์ผลกระทบ (Impacts) คือ สิ่งที่เกิดเนื่องจากผลลัพธ์ และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง (Changes) มุ่งหวังในทางที่ดี คือ การพัฒนา

  40. จะได้ผลงานที่มีคุณภาพต้องมีการประเมินและติดตามจะได้ผลงานที่มีคุณภาพต้องมีการประเมินและติดตาม

  41. ตัวอย่างที่มาของการกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาในการวิจัยตัวอย่างที่มาของการกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาในการวิจัย • ประสบการณ์ ความสามารถ และพรสวรรค์ส่วนบุคคล (Intuition or personal talent) ในการมองเห็นปัญหาและความจำเป็น • แรงบันดาลใจ (Inspiration) หรือจากข้อโต้แย้ง (Controversy) • การสำรวจและวิเคราะห์วรรณกรรมหรือสิทธิบัตร แล้วเห็นช่องว่างที่จะทำ (Literature survey, patent survey and analysis, etc.) • จากข้อเสนอแนะของผลการวิจัยที่ได้ทำแล้ว • จากข้อกำหนดของแหล่งทุนหรือความจำเป็นของผู้ต้องการใช้ประโยชน์ = Demand pull • ความบังเอิญ (Serendipity or accidentally obtained)

  42. การมองเห็นปัญหาและความจำเป็นเพื่อกำหนดโจทย์วิจัยอาจพิจารณาจากการมองเห็นปัญหาและความจำเป็นเพื่อกำหนดโจทย์วิจัยอาจพิจารณาจาก 1. วาระแห่งชาติ 2. ยุทธศาสตร์ประเทศ 3. แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ พ.ศ. 2547-2556 7. อื่นๆ โจทย์วิจัย 4. แผนยุทธศาสตร์เทคโนโลยีวัสดุแห่งชาติ พ.ศ. 2548-2557 6. ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551-2553) 5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10

  43. วาระแห่งชาติ (National agenda) 1. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 2. แก้ไขความยากจน กระจายรายได้ 3. พัฒนาทุนทางสังคม Social capital เช่น OTOP โรงงานชุมชน 4. การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable development) หมายเหตุ ข้อ 1 และ 2 เป็นตัวนำไปสู่ข้อ 3 และ 4 เทคโนโลยีเพื่อการแข่งขัน เศรษฐกิจชุมชน สังคมเรียนรู้ เศรษฐกิจและสังคม

  44. ยุทธศาสตร์ประเทศ 5 ด้าน 1. เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ 2. การเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ 3. การพัฒนาสังคม การแก้ไขปัญหาความยากจนและยกระดับ คุณภาพชีวิต 4. ความมั่นคงของชาติการต่างประเทศ การอำนวยความ ยุติธรรม 5. การบริหารจัดการประเทศ

  45. แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ พ.ศ. 2547-2556 ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ เศรษฐกิจชุมชน และคุณภาพชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 2พัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยุทธศาสตร์ที่ 3พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสถาบัน ยุทธศาสตร์ที่ 4สร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยุทธศาสตร์ที่ 5ปรับระบบบริหารจัดการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  46. แผนยุทธศาสตร์เทคโนโลยีวัสดุแห่งชาติ พ.ศ. 2548-2557 ยุทธศาสตร์ที่ 1 • เทคโนโลยีและวัสดุเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ • เทคโนโลยีและวัสดุเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ • เทคโนโลยีและวัสดุเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลและชิ้นส่วน ยุทธศาสตร์ที่ 2เทคโนโลยีวัสดุเพื่อพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร ยุทธศาสตร์ที่ 3เทคโนโลยีวัสดุเพื่อพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจแฟชั่น ยุทธศาสตร์ที่ 4เทคโนโลยีวัสดุเพื่อพัฒนาการแพทย์และสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ที่ 5เทคโนโลยีวัสดุเพื่อพัฒนาพลังงานทดแทน

  47. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 กำหนดเป้าประสงค์การพัฒนาที่มุ่งสู่สังคมที่อยู่ดีมีสุขอย่างยั่งยืน ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ให้ความสำคัญกับการสร้างองค์ความรู้และภูมิคุ้มกัน และการสร้างสมดุลของการพัฒนาให้เกิดขึ้นในทุกมิติ โดยการเสริมสร้างทุนเพื่อการพัฒนาประเทศทั้ง 3 ด้าน คือ ทุนเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างรากฐานการพัฒนาประเทศในระยะยาว

  48. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.) นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ระหว่างปี 2551-2553 ของวช. ให้ความสำคัญในการวิเคราะห์ข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐโดย 1. มุ่งสะท้อนและตอบสนองความต้องการของพื้นที่ 2. มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกับ - ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ - นโยบายรัฐบาลที่อยู่บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) - ยุทธศาสตร์การวิจัยระดับภูมิภาค - ปัญหาและสถานการณ์ของประเทศ http://www.nrct.net/index.php

  49. ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551-2553) ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 1 การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 2 การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาสังคม ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 3 การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางวิทยาการและทรัพยากรบุคคล ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 4 การเสริมสร้างและพัฒนาทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 5 การบริหารจัดการความรู้ ผลงานวิจัยทรัพยากรและภูมิปัญญาของประเทศสู่การใช้ประโยชน์ด้วยยุทธวิธีที่เหมาะสม

  50. งบประมาณที่คาดว่าจะใช้ตามนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติงบประมาณที่คาดว่าจะใช้ตามนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ

More Related