1 / 15

บทที่5 ระบบข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร ปัจจัยเริ่มต้นในการตั้งอินเทอร์เน็ตองค์กร

บทที่5 ระบบข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร ปัจจัยเริ่มต้นในการตั้งอินเทอร์เน็ตองค์กร. นางสาว นันท นิจ สุขยิรัญ เลขที่44 ม.6/1 โรงเรียนส วีวิทยา. ถัดไป. ปัจจัยเริ่มต้นในการตั้งอินเทอร์เน็ตองค์กร การจดทะเบียนชื่อโดเมน ( Domain Name ). ย้อนกลับ. ถัดไป. การจดทะเบียนชื่อโดเมน

arlo
Télécharger la présentation

บทที่5 ระบบข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร ปัจจัยเริ่มต้นในการตั้งอินเทอร์เน็ตองค์กร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่5 ระบบข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรปัจจัยเริ่มต้นในการตั้งอินเทอร์เน็ตองค์กร นางสาวนันทนิจ สุขยิรัญ เลขที่44 ม.6/1 โรงเรียนสวีวิทยา ถัดไป

  2. ปัจจัยเริ่มต้นในการตั้งอินเทอร์เน็ตองค์กรปัจจัยเริ่มต้นในการตั้งอินเทอร์เน็ตองค์กร การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name) ย้อนกลับ ถัดไป

  3. การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name) ทะเบียนชื่อโดเมนมีไว้เพื่อใช้อ้างอิงถึงกันในระบบเครือข่ายเช่นใช้เป็นชื่อองค์กร tv5.co.th  โดยจากขวามือสุด "th" คือ "ชื่อประเทศ" ถัดไป "co" คือ "ประเภทขององค์กร"และ "tv5" คือ "ชื่อองค์กร"เมื่อมี "วงจรเช่าสายสื่อสาร" "หมายเลขแอดเดรส" (IP Address) และ "ชื่อโดเมน (Domain Name)" แล้วก็สามารถสร้างโหนด (Node) หรือเครือข่ายในองค์กรได้เช่นโรงเรียนแห่งหนึ่งต้องการเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่าย Schoolnet  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอินเทอร์เน็ตก็ต้องดำเนินการให้ได้หมายเลข IP  และชื่อโดเมนก่อน ย้อนกลับ ถัดไป

  4. หลักการจดชื่อโดเมน ชื่อโดเมนต้องมีความยาว ไม่น้อยกว่า 2 ตัวอักษร และไม่มากกว่า 64 ตัวอักษร เมื่อไม่รวมนามสกุล • สามารถใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลข และเครื่องหมาย - (ขีดกลาง) ได้เท่านั้น • ต้องขึ้นต้นและลงท้ายด้วย ตัวอักษรภาษาอังกฤษ หรือ ตัวเลขเท่านั้น • ตัวอักษรเล็กหรือใหญ่ มีค่าเท่ากัน (A = a) • ตัวอย่างชื่อโดเมนที่ถูกต้อง คือ a-b-c-d.net, abc123.com • ตัวอย่างชื่อโดเมนที่ไม่ถูกต้อง คือ -a-b.com, a--b.org, ab-.com ย้อนกลับ ถัดไป

  5. ราคาของชื่อโดเมนแต่ละนามสกุล (สำหรับการจดชื่อโดเมน 1 ชื่อ เป็นเวลา 1 ปี).com / .net / .org / .biz / .info = 450 บาท • .ws = 450 บาท (ชื่อโดเมนต้องมีความยาวอย่างน้อย 4 ตัวอักษร) • .th = 1,000 บาท (จำเป็นต้องใช้เอกสารในการจดทะเบียน )     • .name = 500 บาท • .cc = 1,200 บาท • .tv = 1,300 บาท • .in = 750 บาท • .cn / .com.cn / .net.cn / .org.cn = 700 บาท • .tw = 1,400 บาท • .mobi = 900 บาท ย้อนกลับ ถัดไป

  6. สิทธิพิเศษ ใช้งานได้ฟรีทันที เมื่อจดโดเมน • (สำหรับผู้ที่ไม่ต้องการใช้บริการเว็บโฮสติ้ง) • ระบบจัดการ DNS Zone สามารถแก้ไข A/MX/NS/CNAME Record ได้ •   URL Forwarding (Redirect), E-Mail Forwarding • โดเมนที่จดกับทางเรา สามารถนำไปลงทะเบียนเป็น DNS ได้ทันที (เช่น nsXX.yourdomain.com) ย้อนกลับ ถัดไป

  7. ความปลอดภัย และ ความเป็นส่วนตัว • การติดต่อกับทางเราในกรณีที่เกี่ยวข้องกับชื่อโดเมน จะต้องติดต่อโดยใช้อีเมลของ Administrator ของโดเมนเท่านั้น • โดเมนที่จดทะเบียนใหม่ หรือย้ายมาที่เรา ทางเราจะทำการ Lock โดเมนของท่านไว้เพื่อความปลอดภัย ซึ่งจะมีผลทำให้ • 1.) ไม่สามารถแก้ไขข้อมูล DNS ได้ (ยกเว้นลูกค้าที่จดชื่อโดเมนหลังวันที่ 15/12/2549 สามารถ Login เพื่อแก้ไข DNS ได้ทันทีโดยไม่ต้องแจ้งให้ทางเรา Unlock) •  2.) ไม่สามารถแก้ไขชื่อ Registrant ได้ •  3.) ไม่สามารถย้าย Registrar ได้ •  4.) ไม่สามารถนำชื่อโดเมนไปจดทะเบียนใหม่ได้ จนกว่าชื่อโดเมนจะหมดอายุและเลยระยะเวลาสำหรับ renew ไปแล้ว ย้อนกลับ ถัดไป

  8. ทั้งนี้ หากท่านต้องการให้ทางเรา Unlock ชื่อโดเมน สามารถส่งอีเมลแจ้งเพื่อทำการ Unlock ได้ทันที • ชื่อโดเมนนามสกุล .th จะไม่สามารถแก้ไขข้อมูลโดเมนได้เองผ่านหน้าเว็บ เจ้าของโดเมนจะต้องใช้อีเมลของ Administrator ของโดเมน ส่งอีเมลมาที่ทางเราเพื่อแก้ไขข้อมูลโดเมนเท่านั้น ย้อนกลับ ถัดไป

  9. การย้าย / ต่ออายุ ชื่อโดเมน • หากท่านต้องการย้ายชื่อโดเมนมาใช้บริการกับทางเรา หรือต้องการต่ออายุชื่อโดเมนที่ใกล้จะหมดอายุแล้ว สามารถดำเนินการย้าย และต่ออายุ กับทางเราได้ทันที โดยจะเสียค่าบริการเท่ากับการจดชื่อโดเมนใหม่ และสามารถแจ้งชื่อโดเมนที่ต้องการย้าย หรือ ต่ออายุ ได้โดยตรงที่ MSN หรืออีเมล (ควรย้ายโดเมนก่อนวันหมดอายุอย่างน้อย 15 วัน และการย้ายชื่อโดเมน จะได้รับการต่ออายุเป็นเวลา 1 ปีทันที เมื่อการย้ายสำเร็จแล้ว) • ILCT: ข้อควรระวังในการจดทะเบียนชื่อโดเมน • การจดทะเบียนชื่อโดเมน ปัจจุบันมีการจดทะเบียนชื่อโดเมนอยู่ 3 ประเภทครับ คือ 1) การจดทะเบียนชื่อโดเมนระดับสากล (.com  .org .net) 2) การจดทะเบียนชื่อโดเมนระดับประเทศ (.co.th ในส่วนของประเทศไทย) และ 3) การจดทะเบียนชื่อโดเมนเป็นภาษาท้องถิ่น (.คอม) ซึ่งไม่ว่าจะเป็นการจดชื่อโดเมนประเภทใด ก็จะมีบุคคลที่เกี่ยวข้องอยู่ 4 ฝ่ายคือ ย้อนกลับ ถัดไป

  10. 1) ผู้จดทะเบียนชื่อโดเมน (Registrant) ในทางกฎหมายก็คือเจ้าของสิทธิในชื่อโดเมนซึ่งโดยปกติก็คือ เจ้าของชื่อทางการค้าหรือบริษัท นั่นเองครับ เช่น บริษัทไมโครซอฟท์ก็จะจดชื่อโดเมนว่า microsoft.com บริษัทไมโครซอฟท์ก็จะเป็น Registrant เป็นต้น • 2) ผู้ติดต่อประสานงานด้านการบริหารจัดการ (Administrative Contact) บุคคลนี้จะติดต่อกับนายทะเบียนที่รับจดทะเบียนชื่อโดเมนซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากหน่วยงาน ICANN ที่ดูแลเรื่องการจัดสรรชื่อโดเมน Administrative Contact เป็นบุคคลที่มีความสำคัญมากที่สุดในการจดทะเบียนชื่อโดเมนครับ เพราะการโอนสิทธิในชื่อโดเมน การแก้ไขเปลี่ยนแปลงที่อยู่ของเจ้าของ (Address) หรือที่อยู่บนอินเตอร์เน็ต (IP Address) หรือรายละเอียดอื่นๆ ทั้งหมด จะต้องทำโดย Administrative Contact เท่านั้น ซึ่งโดยปกติคอมพิวเตอร์ของนายทะเบียนผู้รับจดทะเบียนชื่อโดเมนจะดำเนินการโอนชื่อโดเมน หรือเปลี่ยนแปลงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อโดเมนโดยอัตโนมัติทันทีที่คำสั่งโอนหรือเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมาจาก E-mail Address ที่ Administrative Contact ให้ไว้กับนายทะเบียนผู้รับจดทะเบียนตั้งแต่ต้น ย้อนกลับ ถัดไป

  11. 3) ผู้ติดต่อประสานงานด้านการเงิน (Billing Contact) จะทำหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการชำระเงินค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนชื่อโดเมน หรือต่ออายุชื่อโดเมน • 4) ผู้ที่ติดต่อประสานงานทางด้านเทคนิค (Technical Contact) จะทำหน้าที่รับผิดชอบทางด้านเทคนิค เช่น ที่อยู่บนอินเตอร์เน็ต ปัญหาทางด้านเทคนิคต่างๆ • จากที่กล่าวมาข้างต้นท่านผู้อ่านก็จะเห็นได้ว่า บุคคลที่มีความสำคัญมากที่สุดก็คือ Administrative Contact นั่นเอง เพราะเป็นผู้ที่กำหนดได้ว่า บุคคลใดจะเป็นเจ้าของชื่อโดเมน รวมถึงกำหนดรายละเอียดต่างๆ ของชื่อโดเมน • ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ ผู้ประกอบการในธุรกิจดอทคอมส่วนใหญ่ มักเชื่อใจให้ Web Master หรือลูกจ้างในองค์กรของตนเป็น Administrative Contact และเมื่อบุคคลดังกล่าวลาออกไปก็มิได้มีการทำโอนชื่อโดเมนกลับคืนมา หรือในบางกรณีไม่มีการทำสัญญากันไว้อย่างชัดเจนแน่นอน ลูกจ้างจึงอ้างว่าชื่อโดเมนดังกล่าวเป็นของตน และขายให้แก่บุคคลภายนอก หรือบางบริษัทอาจจะว่าจ้างนายหน้าหรือ Broker ที่รับจดทะเบียนชื่อโดเมน ซึ่งไม่ใช่นายทะเบียนที่แท้จริงไปจดทะเบียนชื่อโดเมนดังกล่าวไว้ ภายหลังพอชื่อโดเมนดังกล่าวมีชื่อเสียงแพร่หลายและมีมูลค่ามากขึ้น นายหน้าดังกล่าวก็จะนำมาขายคืนแก่เจ้าของกิจการที่ว่าจ้างให้จดทะเบียน ย้อนกลับ ถัดไป

  12. วิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าวที่จะแนะนำในที่นี้มี 4 วิธีคือ 1. ท่านผู้ประกอบการ E-Commerce ทุกท่าน ควรตรวจสอบรายละเอียดการจดทะเบียนชื่อโดเมนว่า ชื่อโดเมนของท่านในปัจจุบันบุคคลใดมีชื่อเป็น Registrant และ Administrative Contact หากบุคคลนั้นเป็นลูกจ้าง Web Master ในองค์กรท่านหรือนายหน้าที่รับจดทะเบียนก็ควรเปลี่ยนแปลงมาเป็นตัวท่านเอง หรือให้บุคคลที่เชื่อถือให้เป็นผู้ดูแล หรืออาจมีการเซ็นสัญญาจ้างแรงงานหรือสัญญาโอนชื่อโดเมนกับลูกจ้างดังกล่าวไว้เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นภายหลัง (โดยท่านสามารถเช็ครายละเอียดของการจดทะเบียนชื่อโดเมนของท่านได้ผ่านทางเว็บไซท์ www.register.com หรือ www.betterwhois.com) 2. หากจำเป็นต้องใช้ บุคคลภายนอกเป็น Administrative Contact ท่านควรส่งจดหมายเป็นลายลักษณ์อักษรไปที่นายทะเบียนที่รับจดทะเบียนชื่อโดเมนของท่านว่า ท่านเป็นเจ้าของที่ถูกต้องแท้จริง ดังนั้น หากมีการโอนชื่อโดเมนหรือเปลี่ยนแปลงรายละเอียดใดๆ ในชื่อโดเมน ท่านจะยืนยันการเปลี่ยนแปลงโดยการส่งจดหมายที่มีลายมือชื่อของท่านเป็นลายลักษณ์อักษรทุกครั้งจึงจะแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ ย้อนกลับ ถัดไป

  13. 3.อาจใช้มาตรการทางเทคนิคเข้าช่วย คือ ใช้ระบบรักษาความปลอดภัย โดยใช้การเข้ารหัสลายมือชื่อแบบ Encryption หรือ PGP ซึ่งตอนจดทะเบียนชื่อโดเมนนั้นจะมีให้เลือกอยู่แล้วในเว็บไซท์ โดยท่านเป็นผู้เก็บรักษารหัสดังกล่าวไว้แต่เพียงผู้เดียว หากไม่มีรหัสก็ไม่สามารถโอนหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ หรือ 4.  ในกรณีที่ Administrative Contact นำชื่อโดเมนของท่านไปขาย หรือโอนโดยไม่ได้รับอนุญาต ท่านก็อาจแจ้งความดำเนินคดีในทางแพ่ง เพื่อเรียกร้องค่าเสียหาย หรือขอชื่อโดเมนคืนได้ ในส่วนคดีอาญานั้น ท่านอาจดำเนินคดีในความผิดฐานยักยอกทรัพย์กับ Administrative Contact ดังกล่าวได้ อย่างไรก็ตาม ก็คงต้องพิจารณาข้อเท็จจริงเป็นกรณีๆ ไปหรือปรึกษาทนายความผู้เชี่ยวชาญครับ ว่าการดำเนินคดีในรูปแบบใด จึงจะดีที่สุด ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันธุรกิจของท่านจากปัญหาดังกล่าว ผมแนะนำว่า ท่านผู้ประกอบการทุกท่านควรรีบดำเนินการตรวจสอบรายละเอียดของการจดทะเบียนชื่อโดเมนขององค์กรท่านโดยเร็วครับ ก่อนที่ปัญหาดังกล่าวจะสายเกินแก้ ย้อนกลับ ถัดไป

  14. การจดทะเบียนชื่อโดเมนการจดทะเบียนชื่อโดเมน ย้อนกลับ ถัดไป

  15. จบแล้วจ้า... ย้อนกลับ

More Related