1 / 29

บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทาน (Demand and Supply)

บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทาน (Demand and Supply). อุปสงค์ (Demand) จำนวนหรือปริมาณต่างๆ ของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ที่ผู้บริโภคต้องการซื้อในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้าและบริการชนิดนั้น. องค์ประกอบของอุปสงค์. กฎของอุปสงค์.

armand-dyer
Télécharger la présentation

บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทาน (Demand and Supply)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทาน(Demand and Supply) อุปสงค์(Demand) จำนวนหรือปริมาณต่างๆของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ที่ผู้บริโภคต้องการซื้อในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ณระดับราคาต่างๆของสินค้าและบริการชนิดนั้น องค์ประกอบของอุปสงค์

  2. กฎของอุปสงค์ ปริมาณซื้อสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง (Qx) จะแปรผกผันกับ ระดับราคาของสินค้า(Px) ชนิดนั้น โดยที่ปัจจัยอื่นๆคงที่ (เช่นรายได้รสนิยมราคาสินค้าอื่นๆเป็นต้น) ชนิดของอุปสงค์ 1. อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand) Qx = f(Px) เมื่อ Qx = ปริมาณเสนอซื้อสินค้า x Px = ระดับราคาของสินค้า x

  3. Px (บาท) 70 65 Qx (หน่วย) 1 2 : แสดงเส้นอุปสงค์ต่อราคา

  4. Y (บาท) Qx (หน่วย) 2. อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand) Qx = f (y) เมื่อ Qx = ปริมาณเสนอซื้อสินค้า x y = ระดับรายได้ของผู้บริโภค กรณี normal goods (สินค้าปกติ) y Qx กรณี inferior goods (สินค้าด้อย) y Qx

  5. Pc (บาท) Qx (หน่วย) 3. อุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น (Cross Demand) Qx = f (Pc) เมื่อ Qx = ปริมาณเสนอซื้อสินค้า x Pc = ระดับราคาสินค้าชนิดอื่น · กรณีสินค้าประกอบกัน (Complementary goods) Pc Qx · กรณีสินค้าทดแทนกัน (Substitution goods) Pc Qx

  6. Px (บาท) A B Qx (หน่วย) Px (บาท) Qx (หน่วย) D1 D D0 การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ (Change in Demand)          I.   เมื่อราคาของสินค้าเปลี่ยนแปลง โดยสิ่งอื่นๆคงที่ เป็นการเปลี่ยนแปลงภายในเส้นเดิม II. เมื่อปัจจัยอื่นๆเปลี่ยนแปลง โดยราคาคงที่ เส้นอุปสงค์ shift ออกจากเส้นเดิม P0 Q0 Q1

  7. สาเหตุที่ทำให้อุปสงค์เปลี่ยนแปลงสาเหตุที่ทำให้อุปสงค์เปลี่ยนแปลง 1)   ราคาของสินค้าที่กำลังพิจารณา 2)   รสนิยมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง 3)   รายได้ของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง 4)   ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนแปลง 5)    ฤดูกาล 6)   จำนวนผู้บริโภคในตลาด 7)   การกระจายรายได้ของผู้บริโภค 8)   ความต้องการออมเงินของผู้บริโภค 9)   การคาดคะเนเกี่ยวกับราคาสินค้าในอนาคต

  8. การเปรียบเทียบระหว่างเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงในปริมาณซื้อการเปรียบเทียบระหว่างเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงในปริมาณซื้อ กับเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคา Ed = % Q / % P = การเปลี่ยนแปลงในปริมาณซื้อ * 100 ปริมาณเดิม การเปลี่ยนแปลงในราคา * 100 ราคาเดิม = Q X Pเดิม P Qเดิม ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand)

  9. ข้อสังเกตเกี่ยวกับ Ed • ค่าความยืดหยุ่นไม่มีหน่วย • Ed มีค่าเป็นลบเสมอแสดงให้เห็นว่าราคาแปรผกผันกับปริมาณ • มากหรือน้อยพิจารณาที่ตัวเลขไม่คำนึงถึงเครื่องหมาย • ถ้าเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อมากกว่า เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคา • แสดงว่าความต้องการสินค้ามีความยืดหยุ่นต่อราคาสูง(Elastic Demand) • ถ้าเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ น้อยกว่า เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงราคา • แสดงว่าความต้องการสินค้ามีความยืดหยุ่นต่อราคาต่ำ(Inelastic Demand) • มีค่าระหว่าง 0 ถึง∞

  10.   I. การหาค่าความยืดหยุ่นณจุดใดจุดหนึ่งบนเส้นอุปสงค์ (Point Elasticity of Demand) กรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงไปเล็กน้อยหรือจุด 2 จุดบนเส้นอุปสงค์ อยู่ใกล้เคียงกันมากจนเกือบเป็นจุดเดียวกัน Ed = Q x Pเดิม P Qเดิม วิธีวัดค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา มี 2 วิธี Ex สินค้าราคา 20 บาทต่อหน่วยนายกจะซื้อ 10 หน่วยต่อมาราคาสินค้าลดลง เป็นหน่วยละ 18 บาทนายกจะซื้อเพิ่มขึ้นเป็น 15 หน่วยจงหาค่า Ed

  11. Ans. Ed = Q x P1+P2 P Q1+ Q2          II.      การหาค่าความยืดหยุ่นระหว่างจุดสองจุดบนเส้นอุปสงค์ (Arc or Average Elasticity of Demand) กรณีที่ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากหรือจุด 2 จุดบนเส้นอุปสงค์ห่างกันมาก Ex. เดิมราคาส้มกิโลกรัมละ 20 บาทนายก. จะซื้อส้ม 300 กิโลกรัมต่อมาส้มราคาเพิ่มขึ้นเป็นกิโลกรัมละ 30 บาทนายก. จะซื้อลดลงเป็น 200 กิโลกรัมจงหา Ed

  12. Ans. Ed เท่ากับ หมายความว่า การหาค่า Ed

  13. Px (บาท) D D Qx (หน่วย) Px (บาท) Qx (หน่วย) ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ไม่มีความยืดหยุ่นเลย (Perfectly Inelastic Demand) Ed=0 มีความยืดหยุ่นน้อย (Inelastic Demand) 0 < Ed < 1

  14. D D Px (บาท) Px (บาท) Qx (หน่วย) Qx (หน่วย) ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ความยืดหยุ่นมาก (Elastic Demand) 1 < Ed <  ความยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic Demand) Ed = 1

  15. ความยืดหยุ่นมีค่ามากที่สุด (Perfectly Elastic Demand) Ed =  D Px (บาท) Qx (หน่วย) ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา

  16. ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่น • กรณีเส้นอุปสงค์ต่อราคามีค่าความยืดหยุ่นน้อย (Inelastic) 1.  เป็นสินค้าที่จำเป็นต่อการบริโภค 2.  เป็นสินค้าที่ไม่สามารถหาสินค้าอื่นทดแทนได้ 3.  เป็นสินค้าที่ราคาต่ำ 4.  ระยะเวลาในการปรับตัวของผู้บริโภคสั้น

  17. ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่น • กรณีเส้นอุปสงค์ต่อราคามีค่าความยืดหยุ่นมาก (Elastic) 1.   เป็นสินค้าฟุ่มเฟือย 2.   หาสินค้าอื่นทดแทนได้ง่าย 3.   เป็นสินค้าที่ราคาสูงมากๆ 4. ผู้บริโภคมีระยะเวลาในการปรับตัวพอ

  18. อุปทาน (Supply) ปริมาณสินค้าและบริการที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายต้องการเสนอขาย จะแปรผันในทิศทางเดียวกับราคาโดยที่ปัจจัยอื่นๆคงที่ Qs= f (P) เมื่อ Qs = ปริมาณเสนอขาย P = ราคาสินค้า

  19. ปัจจัยกำหนดอุปทาน 1.     เทคนิคการผลิต 2.     ราคาปัจจัยการผลิต 3.      เป้าหมายของผู้ผลิต 4.     จำนวนผู้ผลิตหรือผู้ขาย 5.     ระยะเวลาการผลิต 6.     นโยบายของรัฐ 7.     ราคาสินค้าชนิดอื่นที่เกี่ยวข้อง 8.     การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต ฯลฯ

  20. S Px (บาท) Qx (หน่วย) ลักษณะของเส้นอุปทาน (Supply Curve) Individual Supply and Market Supply

  21. So S S1 Px (บาท) Px (บาท) Qx (หน่วย) Qx (หน่วย) การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน(Change in Supply) • ราคาของสินค้าเปลี่ยนแปลงสิ่งอื่นๆคงที่ • เมื่อปัจจัยอื่นๆเปลี่ยนแปลงโดยราคาคงที่

  22. เป็นบวกเสมอ Es= % Q / % P ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price Elasticity of Supply = Es) Ex. ถ้าส้มราคากิโลกรัมละ 30 บาทจะมีผู้เสนอขายส้มในตลาดทั้งหมดเท่ากับ 20,000 กิโลกรัมถ้าราคาส้มเพิ่มขึ้นเป็นกิโลกรัมละ 40 บาทจะมีผู้เสนอขาย ทั้งหมด 24,000 กิโลกรัมจงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคาส้ม

  23. S S Px (บาท) Px (บาท) Qx (หน่วย) Qx (หน่วย) ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา ไม่มีความยืดหยุ่น (Perfectly Inelastic Supply) Es=0 ยืดหยุ่นน้อย (Inelastic Supply) 0 < Es < 1

  24. S S Px (บาท) Px(บาท) Qx (หน่วย) Qx(หน่วย) ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา ความยืดหยุ่นมาก (Elastic Supply) 1 < Es <  มีความยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic Supply) Es = 1

  25. S Px(บาท) Qx (หน่วย) ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา ค่าความยืดหยุ่นมีค่ามากที่สุด (Perfectly Elastic Demand) Ed = 

  26. ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคาปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา • ระยะเวลาเฉพาะหน้า (Immediately Period) • ระยะสั้น (Short Run Period) • ระยะยาว (Long Run Period)

  27. คำถาม 1.อุปสงค์และอุปทานในทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเราอย่างไร 2. จงอธิบายพร้อมวาดกราฟประกอบเหตุผลว่าทำไมปัจจุบันคนจึงหันมาใช้ก๊าซโซฮอล์กัน มากขึ้นและก๊าซโซฮอล์จัดเป็นสินค้าประเภทใด 3.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์คืออะไรมีค่าอยู่ในช่วงใดและทำไมจึงเป็นค่าลบเสมอ มีประโยชน์ต่อชีวิตประจำวันอย่างไร 4. ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปสงค์เหมือนหรือแตกต่างกับปัจจัยที่กำหนดความยืดหยุ่น ของอุปสงค์อย่างไร 5.ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคาคืออะไรทำไมจึงมีค่าเป็นบวกเสมอ มีประโยชน์ต่อชีวิตประจำวันอย่างไร

  28. 6. ปัจจัยที่กำหนดอุปทานเหมือนหรือแตกต่างจากปัจจัยที่กำหนดความยืดหยุ่นของ อุปทานต่อราคาอย่างไร 7. เห็นด้วยหรือไม่ว่าน้ำมันเป็นสินค้าที่มีความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาต่ำ เพราะเหตุใด 8. กรณีสินค้าที่มี Ed > 1 เช่นสินค้าฟุ่มเฟือยถ้าผู้ขายขึ้นราคาสินค้าจะส่งผลต่อรายรับ ของผู้ขายอย่างไรยกตัวอย่างด้วย (รายรับ = ราคา x ปริมาณ) 9. อธิบายการเกิดดุลยภาพในตลาดสินค้า 10.กฎของอุปสงค์จะเป็นจริงเสมอเมื่ออยู่ภายใต้เงื่อนไขใดเพราะเหตุใดจึงต้องกำหนด เงื่อนไขนั้น

More Related