1 / 18

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ ( Road map to DHS )

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ ( Road map to DHS ). โดย นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข. 20 ธค. 2555. ตัวชี้วัด DHS จำนวน 2 ข้อ. ข้อที่ 1 ขั้นการพัฒนา ประเมินตนเอง ( self assessment) ตามแบบฟอร์ม (บันได 5 ขั้น) จะมีหัวข้อย่อย 5 ประเด็น คือ

astrid
Télécharger la présentation

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ ( Road map to DHS )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอเส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (Road map to DHS) โดย นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข 20 ธค. 2555

  2. ตัวชี้วัด DHS จำนวน 2 ข้อ ข้อที่ 1 ขั้นการพัฒนา ประเมินตนเอง (self assessment) ตามแบบฟอร์ม (บันได 5 ขั้น) จะมีหัวข้อย่อย 5 ประเด็น คือ คณะกรรมการระดับอำเภอ (Unity District Health Team) การให้คุณค่าการทำงาน(Appreciation) การพัฒนาและจัดสรรทรัพยากร ( Knowledge, CBL, FM) การดูแลสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential care) การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน(Community participation) การวัดผล วัดจากความก้าวหน้า โดยเมื่อสิ้นปีงบประมาณมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ขั้น ของเนื้อหา หรืออย่างน้อยระดับ 3 ในแต่ละหัวข้อย่อยขึ้นไป

  3. ข้อที่ 2 • หนึ่งอำเภอหนึ่งประเด็นสุขภาพเพื่อแก้ไขปัญหาตามบริบทโดยการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชน One District One Project  (ODOP) • โดยทีมสุขภาพระดับอำเภอคัดเลือกปัญหาสุขภาพตามกลุ่มวัยหรือเชิงประเด็นอย่างน้อย 1 เรื่อง ร่วมกับทีม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และกำหนดตัวชี้วัดร่วมกันตามความเหมาะสม เพื่อติดตามความก้าวหน้าและความสำเร็จของโครงการ ทั้งนี้ต้องทำงานตามปัญหาของพื้นที่ในรูปแบบของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภออย่างเป็นรูปธรรม

  4. แนวทางการพัฒนา DHSA ด้วยกลไกบันได 5 ขั้น ขั้นที่ 5 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้านการจัดการสุขภาพ 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือมสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิตวิญญาณ 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ทำ 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ขั้นที่ 4 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น   4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ) ขั้นที่ 3 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน(Essential care) 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ 3.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานมีความพึงพอใจในงานและผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 3.1 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ขั้นที่ 2 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ( Resource sharing) 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปํญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill) 2.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการบันทึก ขั้นที่ 1 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือหน่วยงานส่งเข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team)

  5. ขั้นที่ 1 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือหน่วยงานส่งเข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team)

  6. ขั้นที่ 2 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ( Resource sharing) 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปํญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill) 2.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการบันทึก

  7. ขั้นที่ 3 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน(Essential care) 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ 3.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานมีความพึงพอใจในงานและผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 3.1 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ

  8. ขั้นที่ 4 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น   4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ)

  9. ขั้นที่ 5 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้านการจัดการสุขภาพ 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือมสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิตวิญญาณ 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ทำ 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

  10. คุณลักษณะที่ ๑ 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team) 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการบันทึก 3.1 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ) 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

  11. SRRT + บุคลากร 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 2.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 3.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานมีความพึงพอใจในงานและผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ทำ

  12. แผนบุคลากร 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือหน่วยงานส่งเข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill) 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิตวิญญาณ

  13. ระบาด+แผน+ผลสำเร็จ 1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปัญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน(Essential care) 4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี

  14. คุณลักษณะที่ 1+4 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ( Resource sharing) 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้านการจัดการสุขภาพ

  15. ตัวผลักดันให้เกิด DHS • Unity team • Essential care • ผู้สูงอายุ -สุขภาพฟัน • โรคเรื้อรัง -โรคจิตเวช • การควบคุมโรคในท้องถิ่น - ผู้พิการ อัมพาต • วานส่งเสริม คัดกรองโรค - เด็กเล็ก วัยรุ่น • การแพทย์ฉุกเฉิน - ผู้ป่วยระยะสุดท้าย • Self care ตัวชี้วัดผู้ตรวจ ตัวชี้วัดที่ 53 ร้อยละของอำเภอที่มี DHS ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 25) Source: โรงพยาบาลท่ามะกา 17 ก.ค. 2556 http://www.thamakahealth.com/index.php/2013-07-10-09-21-45/138-mou53

  16. แนวทางการพัฒนา District Health System (DHS) DHS

  17. สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ • มีนโยบายให้สคร.ทำการประเมินความเข้มแข็งของการป้องกันควบคุมโรคในระดับอำเภอต่อไป • การตรวจราชการในปี 2557 ให้บูรณาการการประเมินความเข้มแข็งไปกับตัวชี้วัด District Health System Appraisal • วิสัยทัศน์ของการดำเนินงาน เพื่อสร้างระบบรับรองคุณภาพการป้องกันควบคุมโรคในระดับอำเภอ (Accreditation) • กระบวนการประเมินเป็นเครื่องมือการพัฒนาคุณภาพการทำงานของทีมระดับอำเภอ • เป็นกระบวนการต่อเนื่อง ทั้งทีมผู้ประเมินและผู้รับการประเมิน

  18. สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ • เกณฑ์สำหรับการประเมินในปี 2557 • กิจกรรม

More Related