1 / 221

อาจารย์เอกอุไร ศิลาโรจน์

สุขภาพดี ชีวีมีสุข. อาจารย์เอกอุไร ศิลาโรจน์. 1. 4. 3. 2. เตาะแตะ. ต้องตาย. เต่งตึง. โตงเตง. พัฒนาสู่...สิ่งที่ดีกว่า. โรคภัยไข้เจ็บ เกิดจากจิตไม่สมดุล. ร่างกายมนุษย์มี 11 ระบบ. ระบบผิวหนัง Intergumentary system ระบบโครงกระดูก Skeletal system

Télécharger la présentation

อาจารย์เอกอุไร ศิลาโรจน์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สุขภาพดี ชีวีมีสุข อาจารย์เอกอุไร ศิลาโรจน์

  2. 1 4 3 2 เตาะแตะ ต้องตาย เต่งตึง โตงเตง

  3. พัฒนาสู่...สิ่งที่ดีกว่า

  4. โรคภัยไข้เจ็บ เกิดจากจิตไม่สมดุล

  5. ร่างกายมนุษย์มี 11 ระบบ • ระบบผิวหนังIntergumentary system • ระบบโครงกระดูก Skeletal system • ระบบกล้ามเนื้อ Muscular system • ระบบประสาท Nervous system • ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine system • ระบบการหมุนเวียนเลือด Circularory system • ระบบน้ำเหลือง Lymphatic system • (ระบบภูมิคุ้มกัน Immune system) • ระบบหายใจ Respiratory system • ระบบการย่อยอาหาร Digestive system • ระบบขับถ่าย Urinary system • ระบบสืบพันธ์ Reproductive system

  6. เครียด?

  7. ร่างกายมนุษย์มี 11 ระบบ • ระบบผิวหนังIntergumentary system • ระบบโครงกระดูก Skeletal system • ระบบกล้ามเนื้อ Muscular system • ระบบประสาท Nervous system • ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine system • ระบบการหมุนเวียนเลือด Circularory system • ระบบน้ำเหลือง Lymphatic system • (ระบบภูมิคุ้มกัน Immune system) • ระบบหายใจ Respiratory system • ระบบการย่อยอาหาร Digestive system • ระบบขับถ่าย Urinary system • ระบบสืบพันธ์ Reproductive system

  8. ขำ.....

  9. หัวเราะบำบัด โอ๋ อ๋า อู๋ เอ๋

  10. หลัก 5ประการสมดุลชีวิต กินสมดุล พักผ่อนสมดุล ออกกำลังกายสมดุล หายใจสมดุล คิดเชิงบวก

  11. กินสมดุล

  12. ของดี ของชอบ

  13. ร่างกายของเราประกอบด้วยร่างกายของเราประกอบด้วย เซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ ร่างกาย

  14. รับประทานโดยขาดความรู้รับประทานโดยขาดความรู้ สารอาหารในข้าวกล้อง คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมันไม่อิ่มตัว เกลือแร่ ไวตามิน เส้นใยอาหาร

  15. คุณค่าของผักพื้นบ้านไทยคุณค่าของผักพื้นบ้านไทย

  16. ค่าไกลซีมิคอินเดกซ์ของผลไม้ไทยค่าไกลซีมิคอินเดกซ์ของผลไม้ไทย (ใช้น้ำตาลกลูโคสเป็นอาหารมาตรฐาน) ทุเรียน 62.4 สัปปะรด 62.4 ลำไย 57.2 ส้ม 55.6 องุ่น 53.1 มะม่วง 47.5 มะละกอ 40.6 กล้วย 38.6

  17. หลักการกินแบบหยิน-หยาง อาหารแต่ละชนิดมีกระบวนการย่อยแตกต่างกัน ” ถ้ารู้จักเลือกกินอาหารที่เข้ากัน ระบบต่างๆ ในร่างกายก็จะทำหน้าที่ได้เต็มที่ สามารถดูดซึมอาหาร เผาผลาญ และขับของเสียได้อย่างมีระสิทธิภาพ” อาหารสมดุล ปฏิกิริยาต่ออารมณ์จิตใจก็สมดุล

  18. ไม่ควรกินแป้งกับอาหารที่มีน้ำตาลสูงไม่ควรกินแป้งกับอาหารที่มีน้ำตาลสูง ขนมปังที่ทาด้วยแยม ราดน้ำผึ้ง หรือโรยน้ำตาล น้ำตาลจะไปป้องกันการผลิตเอนไซม์ไทอะลินซึ่งทำหน้าที่ย่อยแป้ง

  19. ไม่ควรกินโปรตีนกับอาหารที่มีไขมันหรือน้ำตาลสูงในมื้อเดียวกันไม่ควรกินโปรตีนกับอาหารที่มีไขมันหรือน้ำตาลสูงในมื้อเดียวกัน โปรตีนจะทำให้ระบบการย่อยน้ำตาลช้าลง ซึ่งน้ำตาลควรได้รับการซึมผ่านเข้าสู่ร่างกายทันทีที่กินเข้าไป และไขมันจะไปขัดขวางให้การย่อยโปรตีนช้าลง

  20. ไม่ควรกินโปรตีนกับอาหารที่มีฤทธิ์เป็นกรดจำพวกผลไม้รสเปรี้ยวในมื้อเดียวกันไม่ควรกินโปรตีนกับอาหารที่มีฤทธิ์เป็นกรดจำพวกผลไม้รสเปรี้ยวในมื้อเดียวกัน กินไข่ดาว แฮม ตามด้วยน้ำส้ม เพราะความเป็นกรดจะไปกำจัดการหลั่งของน้ำย่อยเป๊ปซิน ซึ่งมีหน้าที่ย่อยโปรตีน

  21. ไม่ควรดื่มนมหรือโยเกิร์ตพร้อมมื้ออาหารไม่ควรดื่มนมหรือโยเกิร์ตพร้อมมื้ออาหาร จะทำให้เกิดแก๊สในช่องท้อง

  22. ข้าวเหนียวหมูปิ้งย่อยยากข้าวเหนียวหมูปิ้งย่อยยาก จะเป็นสาเหตุทำให้มีกระแสเลือดไหลเวียนในกระเพาะสูง ใช้เวลานานในการย่อย ส่งผลทำให้กระแสเลือดไหลเวียน ไปสมองน้อยลง ทำให้เรารู้สึกง่วง ซึม เพลีย

  23. อนุสราโยคะ (Anusara)กูรู - John Friend (1959)อนุสราเป็นคำสันสกฤต แปลว่า "เคลื่อนไหวอย่างสง่างาม" เน้นการจัดวางท่าพร้อมตระหนักรู้ถึงพลังที่ไหลวนเวียนอยู่ในร่างกาย ซึ่งจะทำให้ผู้ฝึกค้นพบตัวตน เริ่มด้วยการสวดมันตระและฝึกเคลื่อนไหวไปตามหัวใจอัษฎางคโยคะ (Ashtanga)กูรู - Sri K. Pattabhi Jois (1915)99 % คือการฝึกฝน ส่วนอีก 1% คือ ทฤษฎีโยคะที่เชื่อมต่อท่าด้วยการทำวินยาสะ พร้อมหายใจไปอย่างต่อเนื่อง ทำให้อุณหภูมิในร่างกายร้อนขึ้น เริ่มจากชุดท่าเบื้องต้นจากนั้นจึงไต่ระดับความยากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งหมด 6 ชุด ดำเนินไปอย่างกระฉับกระเฉงบิกรัม (bikram)กูรู - Bikram Choudhury) (1946)26 ท่า และการหายใจจะปฏิบัติซ้ำสองรอบ ภายในห้องที่มีอุณหภูมิสูง 37 องศาเซลเซียส คลาสส่วนใหญ่ไม่มีท่ากลับหัว แต่เพียงแค่นี้ก็ได้เหงื่อมากกว่าที่คิด เรียกอีกอย่างว่า โยคะร้อนผสมผสาน (integral)กูรู - Sri Swami Satchidananda) (1914 - 2002)รวมเอาหฐโยคะเข้ากับโยคะแขนงอื่นและเน้นการรวมเป็นส่วนหนึ่งกับพระผู้เป็นเจ้า รวมเทคนิคการผ่อนคลาย การทำสมาธิ การสวดมนต์ และการกำหนดลมหายใจไว้ในคลาสเดียวไอเยนคาร์ (Iyengar)กูรู - Sri B.K.S. Iyengar(1918)จดจ่อกับความถูกต้องของท่วงท่าทางสรีระศาสตร์ เพื่อเป็นการบำบัดกาย สอนทั้งท่ายืน นั่ง บิดลำตัว โค้งตัว และยืนกลับหัว โดยมีอุปกรณ์เสริมให้ชีวันมุกติ (jivamukti)กูรู - Sharon Gannon (1951)ชีวันมุกติ หมายถึง "การดำรงชีวิตอย่างมีอิสระ" ผสมผสานท่วงท่าที่กระฉับกระเฉงกับปรัชญาการฝึกโยคะเพื่อเข้าถึงจิตวิญญาณ เน้นด้านจิตวิญญาณโดยใช้ดนตรี อาสนะ การกำหนดลมหายใจ การทำสมาธิและการสวดมนต์กฤปาลู (kripalu)กูรู - Swami Kripalu (1913 - 1981)เป็นโยคะแบบเคลื่อนไหวที่เน้นสมาธิมากพอกับการปฏิบัติอาสนะ เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาด้านร่างกายหรือผู้ที่สนใจการทำสมาธิกุณฑลินี (kundalini)กูรู - Yogi Bhajan (1929 - 2004)กุณฑลินี แปลว่า "พลังของงู" ที่ขดตัวอยู่ที่ฐานกระดูกสันหลัง เป็นสไตล์ที่มีพลัง ประกอบด้วยท่วงท่าซ้ำไปซ้ำมา และช่วยปลดปล่อยพลังกุณฑลินี ชุดท่วงท่าเพื่อการรักษาโรค รวมถึงการฟังเพลง การสวดมันตระ และการกำหนดลมหายใจทำสมาธิพาวเวอร์ (power)กูรู - Baron Baptiste (1963)เป็นอัษฎางคโยคะในภาคของอเมริกัน เป็นหนึ่งในรูปแบบโยคะที่ท้าทายความแข็งแกร่งของร่างกายมากที่สุด อาจมีท่ายากและค้างท่านาน เป็นหนึ่งในโยคะประเภทแรกๆที่มีสอนในฟิตเนสคลับศิวนันทะ (Sivananda)กูรู - Swami Vishnu devananda (1927 - 1993)ฝึกอาสนะเน้นการทำสมาธิตามหลักปรัชญา Vedanta และการท่องมันตระเน้นท่าพื้นฐาน รวมทั้งการฝึกปราณายามะวินิโยคะ (viniyoga)กูรู - T.K.V. Deskisachar (1938)เน้นไปตามข้อจำกัดของผู้ฝึกแต่ละคน ฝึกแบบนุ่มนวลเพื่อการบำบัดรักษา มักสอนกันตัวต่อตัววินยาสะ (vinyasa)พัฒนามาจากอัษฎางคโยคะ เวอร์ชั่นอเมริกันที่ไม่จำกัดรูปแบบท่วงท่าเหมือนสไตล์ต้นแบบ ฝึกอาสนะที่ลื่นไหลไปพร้อมกับการกำหนดลมหายใจ แตjหากคุณชอบฝึกโยคะไปกับเสียงเพลง รูปแบบนี้ใช่เลย เรียกอีกอย่างว่่า Flow Yoga สีสันของผักมีประโยชน์ สีขาวมี ออร์กาโนซัลไฟต์(organosulffide) และฟลาโวนอยด์ ป้องกันมะเร็งและโรคหลอดเลือดหัวใจ เช่น ผักกาดขาว  สีน้ำเงิน มีแอ็นโธไซอะนิน(antocyanin) และแอนติออกซิเดนท์อื่นๆ ป้องกันมะเร็งเช่นอัญชัน

  24. อนุสราโยคะ (Anusara)กูรู - John Friend (1959)อนุสราเป็นคำสันสกฤต แปลว่า "เคลื่อนไหวอย่างสง่างาม" เน้นการจัดวางท่าพร้อมตระหนักรู้ถึงพลังที่ไหลวนเวียนอยู่ในร่างกาย ซึ่งจะทำให้ผู้ฝึกค้นพบตัวตน เริ่มด้วยการสวดมันตระและฝึกเคลื่อนไหวไปตามหัวใจอัษฎางคโยคะ (Ashtanga)กูรู - Sri K. Pattabhi Jois (1915)99 % คือการฝึกฝน ส่วนอีก 1% คือ ทฤษฎีโยคะที่เชื่อมต่อท่าด้วยการทำวินยาสะ พร้อมหายใจไปอย่างต่อเนื่อง ทำให้อุณหภูมิในร่างกายร้อนขึ้น เริ่มจากชุดท่าเบื้องต้นจากนั้นจึงไต่ระดับความยากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งหมด 6 ชุด ดำเนินไปอย่างกระฉับกระเฉงบิกรัม (bikram)กูรู - Bikram Choudhury) (1946)26 ท่า และการหายใจจะปฏิบัติซ้ำสองรอบ ภายในห้องที่มีอุณหภูมิสูง 37 องศาเซลเซียส คลาสส่วนใหญ่ไม่มีท่ากลับหัว แต่เพียงแค่นี้ก็ได้เหงื่อมากกว่าที่คิด เรียกอีกอย่างว่า โยคะร้อนผสมผสาน (integral)กูรู - Sri Swami Satchidananda) (1914 - 2002)รวมเอาหฐโยคะเข้ากับโยคะแขนงอื่นและเน้นการรวมเป็นส่วนหนึ่งกับพระผู้เป็นเจ้า รวมเทคนิคการผ่อนคลาย การทำสมาธิ การสวดมนต์ และการกำหนดลมหายใจไว้ในคลาสเดียวไอเยนคาร์ (Iyengar)กูรู - Sri B.K.S. Iyengar(1918)จดจ่อกับความถูกต้องของท่วงท่าทางสรีระศาสตร์ เพื่อเป็นการบำบัดกาย สอนทั้งท่ายืน นั่ง บิดลำตัว โค้งตัว และยืนกลับหัว โดยมีอุปกรณ์เสริมให้ชีวันมุกติ (jivamukti)กูรู - Sharon Gannon (1951)ชีวันมุกติ หมายถึง "การดำรงชีวิตอย่างมีอิสระ" ผสมผสานท่วงท่าที่กระฉับกระเฉงกับปรัชญาการฝึกโยคะเพื่อเข้าถึงจิตวิญญาณ เน้นด้านจิตวิญญาณโดยใช้ดนตรี อาสนะ การกำหนดลมหายใจ การทำสมาธิและการสวดมนต์กฤปาลู (kripalu)กูรู - Swami Kripalu (1913 - 1981)เป็นโยคะแบบเคลื่อนไหวที่เน้นสมาธิมากพอกับการปฏิบัติอาสนะ เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาด้านร่างกายหรือผู้ที่สนใจการทำสมาธิกุณฑลินี (kundalini)กูรู - Yogi Bhajan (1929 - 2004)กุณฑลินี แปลว่า "พลังของงู" ที่ขดตัวอยู่ที่ฐานกระดูกสันหลัง เป็นสไตล์ที่มีพลัง ประกอบด้วยท่วงท่าซ้ำไปซ้ำมา และช่วยปลดปล่อยพลังกุณฑลินี ชุดท่วงท่าเพื่อการรักษาโรค รวมถึงการฟังเพลง การสวดมันตระ และการกำหนดลมหายใจทำสมาธิพาวเวอร์ (power)กูรู - Baron Baptiste (1963)เป็นอัษฎางคโยคะในภาคของอเมริกัน เป็นหนึ่งในรูปแบบโยคะที่ท้าทายความแข็งแกร่งของร่างกายมากที่สุด อาจมีท่ายากและค้างท่านาน เป็นหนึ่งในโยคะประเภทแรกๆที่มีสอนในฟิตเนสคลับศิวนันทะ (Sivananda)กูรู - Swami Vishnu devananda (1927 - 1993)ฝึกอาสนะเน้นการทำสมาธิตามหลักปรัชญา Vedanta และการท่องมันตระเน้นท่าพื้นฐาน รวมทั้งการฝึกปราณายามะวินิโยคะ (viniyoga)กูรู - T.K.V. Deskisachar (1938)เน้นไปตามข้อจำกัดของผู้ฝึกแต่ละคน ฝึกแบบนุ่มนวลเพื่อการบำบัดรักษา มักสอนกันตัวต่อตัววินยาสะ (vinyasa)พัฒนามาจากอัษฎางคโยคะ เวอร์ชั่นอเมริกันที่ไม่จำกัดรูปแบบท่วงท่าเหมือนสไตล์ต้นแบบ ฝึกอาสนะที่ลื่นไหลไปพร้อมกับการกำหนดลมหายใจ แตjหากคุณชอบฝึกโยคะไปกับเสียงเพลง รูปแบบนี้ใช่เลย เรียกอีกอย่างว่่า Flow Yoga สีแดง มีสารไลโคปีน(lycopene) ป้องกันมะเร็งต่อมลูกหมาก เช่น มะเขือเทศ สีม่วง มีสาร ฟลาโวนอยด์ ป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ เช่น มะเขือสีม่วง สีส้ม มีอัลฟาและเบต้าแคโรทีน ช่วยป้องกันมะเร็ง เช่น แครอท  สีเหลืองสีส้ม มีสารคริพโทแซ็นซิน(cryptoxanthin) ป้องกันมะเร็ง เช่น ส้ม ข้าวโพด แครอท   สีเขียวเข้มหรือเขียวอ่อนมีสารซัลโฟราเฟน(sulforphane) และซีแซ็นทีน(zeaxantin) ป้องกันโรคตาและมะเร็ง เช่น ผักคะน้า

  25. ทานกะหล่ำปลีดิบมีพิษ ในกะหล่ำปลีดิบจะมีสารพิษที่เรียกว่า กอยโตรเจน (Goibrogen) ต่อมไทรอยด์ไม่สามารถจับไอโอดีน ไปสร้างเป็น ฮอร์โมนไทร๊อกซิน Thyroscine) ทำให้เกิดเป็นโรคคอหอยพอก สารพิษเหล่านี้จะถูกทำลายได้ โดยการต้มจึงควรรับประทานกะหล่ำปลีสุก

  26. ถั่วงอกดิบมีโทษ ในถั่วงอก มีสารพิษพวกที่เรียกว่าไฟเตต ทำให้ร่างกาย ไม่สามารถดูดซึมแร่ธาตุเข้าร่างกาย ทำให้เป็นโรคขาดแร่ธาตุ สารพิษเหล่านี้สามารถทำลายได้โดยการต้ม

  27. อันตรายจากมันกุ้ง มันปู

  28. อันตรายจากมันกุ้ง มันปู มันกุ้ง มันปู คือ ตับ ทำหน้าที่เหมือนตับของสัตว์อื่นๆ 1 . กรองสารพิษและเชื้อโรคออกจากกระแสเลือด 2. สร้างน้ำย่อย จึงเป็นที่รวมของโลหะหนักและสารพิษ ส่วนตัวมันกุ้งยังอุดมไปด้วยคลอเรสเตอรอล ดังนั้นอาจพูดได้ว่าเป็นแหล่งรวมโรคและสารพิษของกุ้งการผ่านความร้อนในกระบวนการทำอาหาร ช่วยฆ่าเชื้อโรคได้ก็จริงแต่ว่าพวกสารพิษอย่างโลหะหนักยังอยู่

  29. 6 อัศวินช่วยลดไขมันในเส้นเลือด มื้อใดที่มีเมนูอาหารซึ่งอุดมไปด้วยไขมันมากๆ ควรรับประทานอัศวินตัวหนึ่งตัวใดเพื่อควบคุมไขมัน 1.มะเขือต่างๆ 2.หอมหัวใหญ่ 3.กระเทียม 4.ถั่วเหลือง 5. แอปเปิล 6.โยเกิร์ต ช่วยควบคุมไขมันลดคอเลสเตอรอลในกระแสเลือด ลดการเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดอุดตันและหัวใจวาย

  30. โทษของน้ำต้มเดือดหลายๆ ครั้ง น้ำที่ต้มเดือดนาน ๆ ไอออนของซิลเวอร์ไนเตรท ที่อยู่ในน้ำจะเปลี่ยนเป็นซิลเวอร์ไนไตรท์ซึ่งเป็นสารที่ให้โทษแก่ร่างกาย

  31. ผู้หญิงชอบดื่มพึงระวังผู้หญิงชอบดื่มพึงระวัง ผู้หญิงชอบดื่มพึงระวังเพราะร่างกายผู้หญิงจะซึมซับแอลกอออล์ได้เร็วกว่าผู้ชาย ยังมีโอกาสเป็น”มะเร็งเต้านม” ได้ง่ายกว่าคนที่ไม่ดื่มถึง 50% กระดูกเปราะ เพราะเหล้าจะเข้าไปทำลายเนื้อกระดูก(bone mass)

  32. อาการไม่พึงประสงค์ ผายลม เรอ ปัสสาวะเสียงดัง เคี้ยวอาหารเสียงดัง หาว นอนกรน

  33. เรอ ผายลม บ่อยและเสียงดัง มีปริมาณก๊าซในกระเพาะมากทำให้กระเพาะขยายจึงเกิดอาการแน่นท้อง การไหลย้อนของกรดจากกระเพาะไปยังหลอดอาหารทำให้ต้อง กลืนน้ำลายบ่อย ข้อแนะนำสำหรับท่านที่ผายลมบ่อยหรือเรอบ่อยหลีกเลี่ยงน้ำดื่มที่มีฟองฟู่ เช่นโซดา เบียร์ ให้ดื่มน้ำมากๆหลีกเลี่ยงนม หากท่านขาดเอ็นไซม์ในการย่อยนมหลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดก๊าซ เช่น กะหล่ำปี ดอกกำหล่ำ ถัว บรอคโคลี หอมใหญ่ หน่อไม้ฝรั่ง ผลไม้เช่น แอปเปิล แพร์หมั่นออกกำลังกาย

  34. ลดการกลืนลมโดยวิธีการต่อไปนี้รับประทานให้ช้า และเคี้ยวอาหารให้ละเอียดหลีกเลี่ยงการเคี้ยวหมากฝรั่งและลูกอม ไม่รับประทานหรือเคี้ยวอาหารขณะเดิน หยุดสูบบุหรี่ตรวจฟันปลอมว่ามี ขนาดพอดีหรือไม่

  35. ปัสสาวะเสียงดัง เวลาที่จะนั่งลงบนโถส้วม ให้ลองนั่งเขยิบมาทางข้างหน้ามากหน่อย เวลาที่ปัสสาวะพยายามทำให้ออกมาเป็นสายเล็กๆที่สุด

  36. นอนกรน กล้ามเนื้อที่ลิ้นและที่โคนลิ้น จะคลายตัวลง ทำให้ลิ้นตกลงไปปิดกั้นทางเดินหายใจ

  37. วิธีแก้ไข นอนตะแคง อาจให้หมอนหนุนหลังเอาไว้ เพื่อกันไม่ให้พลิกมานอนหงาย ฝึกด้วยการนอนในที่นอนแคบ ๆ จนเคยชิน- ถ้าจำเป็นต้องนอนหงาย พยายามยกศีรษะให้สูงจากเตียงเพื่อป้องกันไม่ให้ลิ้นหย่อนลงไปในลำคอจนเกิดเสียงกรนได้- หากน้ำหนักตัวมาก ก็ควรลดน้ำหนักลง- อย่าดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือกินอาหารหนัก ๆ ในช่วง 3 ชั่วโมงก่อนนอน- กำจัดปัจจัยในที่นอนที่ทำให้เกิดอาการหอบหืดภูมิแพ้ เช่น ไร ฝุ่น ขนสัตว์

  38. พักผ่อนสมดุล

  39. ร่างกายที่ไม่ได้รับการนอนหลับพักผ่อนอย่างเต็มอิ่มจะใช้อินซูลินได้น้อยลงคนอดนอนบ่อยๆ จึงมีโอกาสเป็นโรคเบาหวานสูงกว่าปกติ... อดนอนบ่อยๆ ระวังเป็นเบาหวาน

  40. ออกกำลังกายสมดุล

  41. ประโยชน์ของโยคะ • ทำให้กระดูกสันหลังยืดหยุ่นตัว • ระบบประสาททำงานได้ดี • ทำให้การไหลเวียนของเลือดดี • ระบบภูมิคุ้มกันทำงานได้ดี • ช่วยกดนวดต่อมไร้ท่อ การทำงานของฮอร์โมนเป็นไปด้วยดี • นำมาซึ่งสมดุลของระบบต่างๆ ภายใน

  42. ประโยชน์ของโยคะ • ทำให้กล้ามเนื้อลึกชั้นในแข็งแรง • ช่วยให้อวัยวะภายใน (กล้ามเนื้อเรียบ) แข็งแรง • ช่วยพัฒนากลไก ประสาท-กล้ามเนื้อสัมพันธ์ให้ทำงานได้ดี • ช่วยพัฒนาการหายใจสร้างสมาธิ • คลายอาการโรคที่มีสาเหตุมาจากจิต

  43. กลิ่นมีผลต่อสมอง กลิ่นของน้ำมันหอมระเหยจะช่วยกระตุ้นให้สมองทำการหลั่งสารเอ็นโดรฟิน

More Related