130 likes | 426 Vues
RISK BASED CAPITAL. คณะทำงาน RBC สมาคมประกันวินาศภัย 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 . พระราชบัญญัติ ประกันวินาศภัย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑.
E N D
RISKBASEDCAPITAL คณะทำงาน RBC สมาคมประกันวินาศภัย 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย (ฉบับที่ ๒)พ.ศ. ๒๕๕๑
มาตรา ๑๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นหมวด ๑/๑ การดำรงเงินกองทุนและสินทรัพย์สภาพคล่อง มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๗/๑ มาตรา ๒๗/๒ มาตรา ๒๗/๓ มาตรา ๒๗/๔ มาตรา ๒๗/๕ มาตรา ๒๗/๖ และมาตรา ๒๗/๗ แห่งพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. ๒๕๓๕ “หมวด ๑/๑ การดำรงเงินกองทุนและสินทรัพย์สภาพคล่อง.......”
มาตรา ๕๙ ในกรณีที่คณะกรรมการยังมิได้ออกประกาศเกี่ยวกับเงินกองทุนตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ หรือ ออกประกาศแล้วแต่ยังไม่มีผลใช้บังคับ ให้บริษัทถือปฏิบัติโดยดำรงเงินกองทุนตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. ๒๕๓๕ ไปพลางก่อน การดำเนินการออกประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในสามปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
เงินกองทุนตามพ.ร.บ. ประกันวินาศภัย ปี 2535 มาตรา 4 “เงินกองทุน” หมายความว่า ทรัพย์สินส่วนที่เกินกว่าหนี้สิน ของบริษัทตามราคาประเมินทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัท ที่ประเมินตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 27 บริษัทต้องดำรงไว้ซึ่งเงินกองทุนตลอดเวลาที่ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยเป็นจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของเบี้ยประกันภัยสุทธิที่ได้รับทั้งหมดสำหรับปีปฏิทินที่ล่วงแล้ว แต่ทั้งนี้ต้องไม่ต่ำกว่าสามสิบล้านบาท”
เงินกองทุนตามพ.ร.บ. ประกันวินาศภัย ปี 2551 “หมวด ๑/๑ การดำรงเงินกองทุนและสินทรัพย์สภาพคล่อง มาตรา ๒๗ ให้คณะกรรมการมีอำนาจประกาศกำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัท บริษัทต้องดำรงไว้ซึ่งเงินกองทุนตลอดเวลาที่ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยเป็นอัตราส่วน กับ สินทรัพย์ หนี้สิน ภาระผูกพัน หรือความเสี่ยงตามอัตราที่คณะกรรมการประกาศกำหนด....
2551 2008 2552 2009 2553 2010 2554 2011 ทดสอบ และปรับปรุง Model เริ่มทดลองใช้ ใช้บังคับจริง คปภ.บังคับใช้ ตามนโยบาย กลางปี เริ่มออก Model ที่จะใช้ทดสอบ
ความเสี่ยงด้านต่างๆใน RBC INSURANCE RISK - RESERVING RISK - PREMIUM RISK CREDIT RISK MODEL RBC MARKET RISK OPERATIONAL RISK Guideline LIQUIDITY RISK Guideline
ค่าความเสี่ยงที่ใช้คำนวณเงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงด้านการรับประกันภัย กรณีสิงคโปร์ Note: Low - PA, TA, Fire –Residential, Health Medium - Fire-Non-Residential, Marine & Aviation –Cargo, Motor – PD, Workmen’s Compensation, Bonds, CAR/EAR, Credit/Political Risk, Health – Others, Others – Non-liability Classes High - Marine & Aviation – Hull & Liability, Motor – BI, Professional Indemnity, Others – Liability Classes
ตัวอย่างการคำนวณเงินกองทุนสำหรับ Insurance Risk
กิจกรรมของคณะทำงานฯ • คณะทำงานร่วมภาครัฐและเอกชนฯ มีการประชุมร่วมกันในสัปดาห์สุดท้ายของทุกเดือน ตั้งแต่ ธ.ค. 2550 • คณะทำงานของสมาคมฯ ประชุมร่วมกันทุกสัปดาห์ที่ 3 ของเดือน • คณะทำงานย่อย 2 คณะ กำลังศึกษากรอบ RBC ของประเทศสิงคโปร์และมาเลเซีย ซึ่งเป็นต้นแบบในการพัฒนากรอบ RBC ครั้งนี้