1 / 38

QA_EDU_MSU

การทวนสอบผลสัมฤทธิ์. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจน์ เรืองมนตรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรินธร นามวรรณ. QA_EDU_MSU. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์. คืออะไร ?. QA_EDU_MSU. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์. What ? Why ? When ? How ?. QA_EDU_MSU. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์. การดำเนินการหาหลักฐานด้วยวิธีการใด ๆ

banyan
Télécharger la présentation

QA_EDU_MSU

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจน์ เรืองมนตรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรินธร นามวรรณ QA_EDU_MSU

  2. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ คืออะไร ? QA_EDU_MSU

  3. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ What ? Why ? When ? How ? QA_EDU_MSU

  4. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ การดำเนินการหาหลักฐานด้วยวิธีการใด ๆ เพื่อยืนยันพิสูจน์ว่า สิ่งที่กำหนดขึ้นนั้น ได้มีการดำเนินการ และบรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ QA_EDU_MSU

  5. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ เป็นส่วนหนึ่งของความรับผิดชอบในระบบการประกันคุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ง QA_EDU_MSU

  6. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ จะต้องดำเนินการที่ให้ความมั่นใจได้ว่า มาตรฐานผลกาเรียนรู้ที่คาดหวัง เป็นที่เข้าใจตรงกันทั้งสถาบัน และมีการดำเนินการจัดการเรียนการสอนจนบรรลุผลสำเร็จนั้น ต้องมีการทวนสอบ QA_EDU_MSU

  7. กลยุทธ์โดยทั่วไป / หลักฐาน ตรวจสอบการให้คะแนนจาก กระดาษคำตอบ ชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย การประเมินหลักสูตรโดยนิสิต และผู้สำเร็จการศึกษา QA_EDU_MSU

  8. กลยุทธ์โดยทั่วไป / หลักฐาน การประเมินภาควิชา และประเมินหลักสูตร โดยบุคลากรภายนอก การรายงานเกี่ยวกับทักษะของบัณฑิต โดย ผู้ใช้บัณฑิต QA_EDU_MSU

  9. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ บางส่วนอาจจะดำเนินการโดยสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ ที่มีความร่วมมือกันทางการศึกษา (Exit Exam) QA_EDU_MSU

  10. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ สถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอน จะต้องรับผิดชอบในการทวนสอบมาตรฐาน เพื่อให้มั่นใจว่า จะรักษามาตรฐานไว้ได้อย่างสม่ำเสมอ QA_EDU_MSU

  11. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework For Higher Education (TQF : HEd) กำหนดไว้ 10 เรื่อง QA_EDU_MSU

  12. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework For Higher Education (TQF : HEd) มุ่งเน้น เป้าหมายการจัดการศึกษาที่ ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) ของนักศึกษา QA_EDU_MSU

  13. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยนิสิตนักศึกษา 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน ระบุวิธีการประเมินที่จะได้ข้อมูลการสอน เช่น จากผู้สังเกตการณ์ หรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของนิสิตนักศึกษา นำข้อ 1,2* มาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพ QA_EDU_MSU

  14. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ของนิสิตนักศึกษาในรายวิชา ไม่ใช่เป็นการให้อาจารย์ผู้สอนในรายวิชาในภาคเรียนนั้นเอาคะแนนมาดูว่ามีการกระจายมาก-น้อยเพียงใด เช่น เกรด A กี่คน คิดเป็น % เกรด B กี่คน คิดเป็น % QA_EDU_MSU

  15. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ของนิสิตนักศึกษาในรายวิชา แต่การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ของนิสิตนักศึกษาในรายวิชา เป็นการวิเคราะห์ว่า วิธีการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ท่านนั้น มีประสิทธิผลเพียงใด QA_EDU_MSU

  16. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ของนิสิตนักศึกษาในรายวิชา นิสิตเกิดผลการเรียนรู้(Learning Outcomes) ตามที่กำหนดไว้ใน มคอ.3 และตรงกับ Curriculum Mapping ใน มคอ.2 หรือไม่ QA_EDU_MSU

  17. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ของนิสิตนักศึกษาในรายวิชา วิเคราะห์และวางแผนร่วมกันว่าจะสอนอย่างไร เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตาม Curriculum Mapping QA_EDU_MSU

  18. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ของนิสิตนักศึกษาในรายวิชา การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ จึงไม่มีผลต่อการการตัดเกรดนิสิตในรายวิชานั้น ๆ QA_EDU_MSU

  19. วิธีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์วิธีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ How ? QA_EDU_MSU

  20. วิธีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ (How to) ต้องให้อาจารย์ผู้สอนในรายวิชานั้น มีส่วนร่วมในกระบวนการทวนสอบ ควรใช้วิธีการทวนสอบแบบ Authentic Assessment QA_EDU_MSU

  21. วิธีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ (How to) เช่น การประเมินนิสิตว่ามีความสามารถคิดวิเคราะห์ได้จริงหรือไม่ ต้องสุ่มนิสิตผู้เรียนมา ¼ ของจำนวนผู้เรียน มี 40 คน สุ่มมา 10 คน แล้วถาม (ให้โจทย์)นิสิตให้คิดวิเคราะห์ ...... Exit Exam ม.ร่วมกันทำ QA_EDU_MSU

  22. จะดำเนินการทวนสอบเมื่อใดจะดำเนินการทวนสอบเมื่อใด When ? QA_EDU_MSU

  23. จะดำเนินการทวนสอบเมื่อใด (When) • ในระหว่างทำการสอน (เปิดเรียน) • โดยผู้สังเกตการณ์ • หรือ ทีมผู้สอน QA_EDU_MSU

  24. จะดำเนินการทวนสอบเมื่อใด (When) 2. หลังจากการสอน (ปิดภาคเรียน) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ (กรรมการ) - ภายในหลักสูตร - ภายในคณะ ระหว่างหลักสูตร (อาจารย์ประจำหลักสูตรอื่น ในคณะเดียวกัน) - ภายในมหาวิทยาลัยเดียวกัน แต่อยู่ในกลุ่มสาขาเดียวกัน (ดู ISCED) ISCED : International Standard Classification of Education QA_EDU_MSU

  25. จะดำเนินการทวนสอบเมื่อใด (When) 3. สิ้นปีการศึกษา / แต่ละปี 4. เมื่อนิสิตสำเร็จการศึกษา ประสบการณ์ความสำเร็จในการทำงาน 5. เมื่อบัณฑิตไปทำงาน จากรายงาน (วิจัย / สำรวจ) เกี่ยวกับ ทักษะของบัณฑิต โดยผู้ใช้บัณฑิต QA_EDU_MSU

  26. การทวนสอบผลการเรียนรู้การทวนสอบผลการเรียนรู้ ต้องดำเนินการทวนสอบ 25% ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา ของแต่ละหลักสูตร (หลักสูตร 4 ปี) เมื่อสอนครบ 4 ปี ก็ครบ 100% QA_EDU_MSU

  27. การทวนสอบผลการเรียนรู้การทวนสอบผลการเรียนรู้ ทุกรายวิชาที่เปิดสอน จะได้รับการ ทวนสอบ !!! ทั้งนี้เพื่อวิเคราะห์ว่า อาจารย์สอนแล้วเกิด Impact ต่อนิสิตตาม Learning Outcomes ใน Curriculum Mapping หรือไม่ QA_EDU_MSU

  28. อาจารย์ประจำหลักสูตร / ภาควิชา ต้องทำโครงการขึ้นมารองรับการดำเนินการ 1. กำหนดรายวิชาใดที่ต้องทวนสอบ โดยอาจารย์ประจำหลักสูตร (5 คน) QA_EDU_MSU

  29. อาจารย์ประจำหลักสูตร / ภาควิชา 2. ตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นกรรมการทวนสอบ เช่น 1) อาจารย์ผู้สอน(อ.ประจำ) ในหลักสูตรนั้น *เลขา 1 คน 2) อาจารย์ผู้สอน (อ.ประจำ) ในหลักสูตรอื่น ในคณะเดียวกัน QA_EDU_MSU

  30. อาจารย์ประจำหลักสูตร / ภาควิชา 3) อาจารย์ประจำหลักสูตรในกลุ่ม เดียวกัน เช่น กลุ่มมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ 4) ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขากลุ่มเดียวกัน นอกสถาบัน QA_EDU_MSU

  31. อาจารย์ประจำหลักสูตร / ภาควิชา 3. ดำเนินการทวนสอบ ตามกำหนด วัน เวลา สถานที่ QA_EDU_MSU

  32. องค์ประกอบ 1. กรรมการดำเนินการทวนสอบ ประธาน – กรรมการ – เลขา 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาที่ทวนสอบ 3. นิสิต ¼ ที่เรียน 4. หลักฐานเอกสารต่าง ๆ QA_EDU_MSU

  33. องค์ประกอบ 4. หลักฐานเอกสารต่าง ๆ 1) กระดาษคำตอบ 2) ชิ้นงาน 3) ประเมินหลักสูตรโดยนิสิต / ผู้จบ 4) ประเมินภาควิชา / หลักสูตร โดยบุคลากรภายนอก 5) รายงานทักษะบัณฑิต โดยผู้ใช้บัณฑิต QA_EDU_MSU

  34. องค์ประกอบ 5. รายงานผลการดำเนินการทวนสอบ 1) เป็นรายวิชาที่เปิดสอน 2) สรุปรวมเป็นภาคเรียน QA_EDU_MSU

  35. องค์ประกอบ จุดเน้น ต้องระบุกลยุทธ์การสอนที่เหมาะสม การวางแผนปรับปรุง / พัฒนา กลไกและวิธีการปรับปรุงการสอน เช่น - วิจัยในชั้นเรียน - Workshop เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อปรับปรุงคุณภาพ ผู้สอน + ผู้เรียน QA_EDU_MSU

  36. องค์ประกอบ ผลการทวนสอบ นำไปเขียน มคอ.5 อาจารย์ประจำหลักสูตรทั้ง 5 คน ต้องลงชื่อเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินการทั้งหมด QA_EDU_MSU

  37. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework For Higher Education (TQF : HEd) มคอ.1 : Qualifications มคอ.2 : Programme Specifications มคอ.3 : Course Specifications มคอ.4 : Field Experience Specifications มคอ.5 : CourseReport มคอ.6 : Field Experience Report มคอ.7 : Programme Report QA_EDU_MSU

  38. Thank You

More Related