300 likes | 918 Vues
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 : ความสัมพันธ์ของ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของไทยและสากล. เรื่อง : การใช้หลักฐานและ องค์ความรู้ประวัติศาสตร์สากล. ครูผู้สอน…. นายธีระพล เข่งวา. โรงเรียนวังไกลกังวล. 2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง.
E N D
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4:ความสัมพันธ์ของ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของไทยและสากล เรื่อง : การใช้หลักฐานและ องค์ความรู้ประวัติศาสตร์สากล ครูผู้สอน…. นายธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกลกังวล
2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์สากล
3 1. พัฒนาการของมนุษยชาติ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ หลักฐานที่ใช้มีลักษณะเด่น อย่างน้อย 3 ประการ
4 1. โบราณวัตถุ เครื่องมือหินกะเทาะหยาบๆ เครื่องมือหินขัด เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆที่ทำจาก ทองแดง สำริดและเหล็ก เครื่องปั้นดินเผาที่ทำเป็นภาชนะ ต่างๆ ลูกปัด เปลือกหอย
5 2. โบราณสถาน แหล่งที่อยู่อาศัย ได้แก่……. ถ้ำ เนินผาหิน เนินดินใกล้ธารน้ำ สถานที่ฝังศพ สถานที่ ประกอบ พิธีกรรมทางศาสนา
6 3. โบราณศิลปกรรม ภาพเขียนสี ภาพจำหลัก ( ทำขึ้นตามผนังถ้ำ เพิงหิน หรือ เพดานถ้ำ)
7 ภาพเขียนสมัยก่อนประวัติศาสตร์บนผนังถ้ำผาหมอนน้อยอำเภอโขงเจียมจังหวัดอุบลราชธานี แสดงถึงการรู้จักปลูกข้าว และใช้ควายไถนา
8 ภาพเขียนสีที่แสดงถึงเรื่องราวการดำรงชีวิตของมนุษย์บนผนังเพดานถ้ำบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าผาผึ้ง
9 ถ้ำในพื้นที่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว
10 เครื่องมือเครื่องใช้ในสมัยโบราณก่อน ยุคประวัติศาสตร์
11 2. พัฒนาการของมนุษยชาติ ยุคประวัติศาสตร์ หลักฐานที่ใช้มีลักษณะเด่น อย่างน้อย 2 ประการ
12 2.1 หลักฐานทางด้านโปราณคดี(หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร) : Unwritten Sources ได้แก่ โบราณสถาน โบราณวัตถุ เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆอาวุธ,เหรียญ-ตรา,เงินตรา,ศิลปะ,นาฏกรรมและดนตรี
13 2.2 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร : Written Sources 1. หลักฐานขั้นต้น(เอกสารร่วมสมัย ที่เกิดขึ้นพร้อมเหตุการณ์) • หลักศิลาจารึก/หนังสือพิมพ์ • จดหมายเหตุ/บันทึกใบลาน สมุดข่อย • เอกสารทางราชการต่างๆ
14 2. หลักฐานขั้นรอง(บันทึกหลังเหตุการณ์ต่างๆ) • พงศาวดาร/ตำนาน • นิทานพื้นบ้าน • นิยายปรัมปรา • เพลงพื้นบ้าน • วารสาร,บทความ
15 3. องค์ความรู้ประวัติศาสตร์สากล แบ่งออกได้ 3 ช่วงสมัย
16 1. งานประวัติศาสตร์สมัยโบราณ มีลักษณะ... + กึ่งประวัติ ศาสตร์ ตำนานทาง ศาสนา
17 นักประวัติศาสตร์สมัยโบราณถือว่า..
18 นักประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียง.. เฮโรโดตัส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก บิดาแห่งวิชาประวัติศาสตร์
19 2. งานประวัติศาสตร์สมัยกลางหรือ สมัยฟิวดัล (Feudul) • เริ่มตั้งแต่การล่มสลายของอาณาจักร โรมันตะวันตก ในปี ค.ศ. 476 จนกระทั่ง • การล่มสลายของอาณาจักรโรมัน ตะวันออก ในปี ค.ศ. 1492
20 งานประวัติศาสตร์ในสมัยฟิวดัลจะ เป็นงาน : + ศาสนา พระผู้เป็นเจ้า
21 นักประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียง.. นักบุญออกัสติน นักประวัติศาสตร์สมัยกลาง
ผลงานที่มีชื่อเสียง คือ... 22 นครของพระเจ้า หรือ เทวนคร(City of God) 1. นครปีศาจ หรือ มนุษยนคร - เมืองแห่งความชั่วร้าย 2. เทวนคร (อาณาจักรของพระเจ้า) - เมืองแห่งความดี
23 3. งานประวัติศาสตร์สมัยใหม่ • ได้รับ... • อิทธิพลของวิทยาศาสตร์ • ระเบียบวิธีคิดแบบวิทยาศาตร์ • มุ่งเข้าใจประวัติศาสตร์ด้วยกฎเกณฑ์ แห่งเหตุผลให้ได้มาซึ่งความจริง
24 นักประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียง.. เลโอปอลด์ ฟอน รังเกอ (Leopold Von Ranke ค.ศ.1795-1886)
25 • เป็นผู้ริเริ่ม : ระเบียบวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ (Historical Method) ผลงานที่สำคัญ คือ... ประวัติศาสตร์ของสันตะปาปา(The History of the popes)
26 โยงเส้นให้สัมพันธ์กัน หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร • ปรางค์สามยอด • รูปพระโพธิสัตว์ อวโลติเกศวร • ตำนาน • จดหมายเหตุ • ศิลาจารึก • เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ • ใบบอก • โครงกระดูก • พระที่นั่งจักรีฯ • เครื่องปั้นดินเผา • พระราชพงศาวดาร
27 คำถามหลังเรียน 1. หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความ สำคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ อย่างไร 2. เพราะเหตุใดหลักฐานขั้นต้นหรือ ฐานหลักร่วมสมัยจึงมีน้ำหนักหรือ ความน่าเชื่อถือได้มากกว่าหลักฐาน ขั้นรอง
28 3. การใช้จารึกหรือตำนานในการศึกษา ประวัติศาสตร์ต้องมีความระมัดระวัง ในเรื่องใด เพราะเหตุใด 4. จงอธิบายลักษณะประวัติศาสตร์ แบบตำนานและแบบพงศาวดาร มาพอเข้าใจ
29 พบกันใหม่ เรื่อง :ความหมายของ ประวัติศาสตร์ ขอขอบคุณฝ่ายผลิตรายการทุกท่าน