1 / 94

หน่วยที่ 7 อนุพันธ์ และการประยุกต์

หน่วยที่ 7 อนุพันธ์ และการประยุกต์. ลิมิต และความต่อเนื่อง อนุพันธ์ การประยุกต์อนุพันธ์. พิจารณาค่าของฟังก์ชัน f ซึ่งมีเงื่อนไข ดังนี้ f(x) =. 3. 2. 1. 2. 3. 1. -1. -2. ลิมิต และความต่อเนื่องของฟังก์ชัน. Y. f. O. X.

barb
Télécharger la présentation

หน่วยที่ 7 อนุพันธ์ และการประยุกต์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 7อนุพันธ์ และการประยุกต์ • ลิมิต และความต่อเนื่อง • อนุพันธ์ • การประยุกต์อนุพันธ์

  2. พิจารณาค่าของฟังก์ชัน f ซึ่งมีเงื่อนไข ดังนี้ f(x) = 3 2 1 2 3 1 -1 -2 ลิมิต และความต่อเนื่องของฟังก์ชัน Y f O X

  3. ขอให้สังเกตว่า 1 ไม่อยู่ในโดเมนของ f และจากสูตรของ f จะเห็นว่า f = = x + 1 สำหรับทุกๆ x ≠ 1 เราสามารถคำนวณหาค่า f(x) ที่x มีค่าใกล้ๆ 1 เพียงใดก็ได้ ดังตัวอย่างในตาราง

  4. หรือ จากการคำนวณจะเห็นว่า ถ้า xยิ่งเข้าใกล้ 1 ทางซ้ายของ 1 (หรือ x<1) และ x ยิ่งเข้าใกล้ 1 ทางด้านขวาของ 1 (หรือ x>1) แล้วค่า f(x) ก็จะเข้าใกล้ค่า 2 เราเรียกค่า 2 ว่าเป็นค่าของ “ลิมิตของ f(x) เมื่อx เข้าใกล้ 1” แสดงด้วยสัญลักษณ์

  5. “x เข้าใกล้ 1 ทางด้านซ้ายของ 1 ซึ่งx<1 ” แทนด้วย x → 1- และ “ค่าของ f(x)เข้าใกล้ 2 เมื่อ x→1-” แทนด้วย อ่านว่า ลิมิตทางซ้ายของf(x) เท่ากับ 2เมื่อx เข้าใกล้ 1

  6. ในทำนองเดียวกันสำหรับในทำนองเดียวกันสำหรับ “x เข้าใกล้ 1 ทางด้านขวาของ 1 ซึ่งx>1” แทนด้วย x>1+ และ “ค่าของf(x) เข้าใกล้ 2 เมื่อ x → 1+ ” แทนด้วย อ่านว่า ลิมิตทางขวาของ f(x) เท่ากับ 2 เมื่อx เข้าใกล้ 1

  7. g 3 2 1 X O จะเห็นว่า และ เรากล่าวว่า ไม่มีค่า ต่อไปนี้พิจารณากราฟของฟังก์ชัน g Y

  8. ถ้า แล้วย่อมได้ว่า และ จะสังเกตเห็นว่า

  9. ถ้าทั้ง และ ย่อมได้ว่า ถ้า ≠ จะกล่าวว่า ไม่มีค่า และกลับกัน

  10. (c เป็นค่าคงตัว) เช่น ; n เป็นจำนวนบวก เช่น กฎการหาลิมิต

  11. เช่น = 4 + x3

  12. เช่น = 2 – (-1)3 = 2 + 1= 3

  13. เช่น = 3(1)-4 = 3(1)= 3

  14. เมื่อ เช่น

  15. จงหาลิมิต =(-2)2 + 3(-2) = 4 – 6= -2

  16. จงหาลิมิต เมื่อ

  17. จงหาลิมิต

  18. Y f (x) = X O พิจารณากราฟของฟังก์ชัน f ซึ่งกำหนดโดย

  19. f(x) = Y X O จากกราฟของฟังก์ชัน f จะเห็นว่า

  20. Y Y Y Y g(x) h(x) f(x) r(x) X X X X a a a a ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3 ภาพที่ 4 ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน

  21. และ (2) มีค่า และ (3) ในกรณีทั่วไป จะกล่าวว่า ฟังก์ชัน f ต่อเนื่องที่ x = a ก็ต่อเมื่อ (1) f(a) นิยาม

  22. อนุพันธ์ สมมติว่ารถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปได้ S(t) กิโลเมตรในเวลา t ชั่วโมง โดยที่ S(t) = 12t2 + 58 ความเร็วเฉลี่ยจาก t = 1 ถึง t = 3 เท่ากับ

  23. ความเร็วเฉลี่ยจาก t = 1 ถึง t = 3 เท่ากับ เมื่อ S(t) = 12t2 + 58 = 48

  24. ความเร็วเฉลี่ยจาก t = 2 ถึง t = 4 เท่ากับ = 72

  25. จะเห็นได้ชัดว่าในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ความเร็วเฉลี่ยของรถก็แตกต่างกันด้วย ถ้าเราสนใจความเร็วในขณะใดขณะหนึ่งมากกว่าความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง จะเรียกความเร็วในชั่วขณะเวลาใดเวลาหนึ่งว่า ความเร็วชั่วขณะ

  26. ในกรณีทั่วไป ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ไปได้ระยะทางว S(t) หน่วย ในเวลา t หน่วยเวลา แล้วความเร็วเฉลี่ยจากเวลา t0จนถึง t เท่ากับ ........... (1)

  27. จะเห็นว่า ถ้า t มีค่าเข้าใกล้ t0แล้วความเร็วเฉลี่ยใน (1) จะมีค่าเข้าใกล้ความเร็วชั่วขณะ ณ เวลา t0ยิ่ง t มีค่าเข้าใกล้ t0มากเท่าใด ความเร็วเฉลี่ยใน (1) จะมีค่าเข้าใกล้ความเร็วชั่วขณะมากขึ้นเท่านั้น

  28. ถ้าให้ V(t0) แทนความเร็วชั่วขณะ ณ เวลา t0จะได้ว่า ถ้าให้ t=t – t0จะเห็นว่าt คือการเปลี่ยนแปลงจาก t0ไปเป็น t จะได้

  29. ถ้า y = f(x) เป็นฟังก์ชันใดๆ อัตราการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชัน f โดยเฉลี่ยในช่วง x ถึง x + x คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงชั่วขณะของฟังก์ชัน f คือ

  30. ถ้าลิมิต มีค่า จะเรียกลิมิตนี้ว่า อนุพันธ์ของ f ที่ xและเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ f(x)หรือ yหรือ

  31. กรณีที่เราต้องการระบุค่าของอนุพันธ์ของ f ที่ x = a จะเขียนแทนด้วย f(a) หรือ y(a) และเรียกสัญลักษณ์ f(x)หรือ yว่าอนุพันธ์ของ f เมื่อเทียบกับ xนั่นคือ

  32. เนื่องจาก จะได้ว่า กำหนดให้ f(x) = x2จงหา f(x) = 2x

  33. เราอาจพิจารณาอนุพันธ์ของฟังก์ชันในเชิงเรขาคณิตได้ดังต่อไปนี้เราอาจพิจารณาอนุพันธ์ของฟังก์ชันในเชิงเรขาคณิตได้ดังต่อไปนี้ ถ้า P(x0, f(x0)) และ Q(x, f(x)) เป็นจุดบนกราฟ y = f(x) แล้วอัตราส่วน จะแทนความชันของส่วนของเส้นตรง PQ (ดูภาพ)

  34. Y y = f(x) Q(x, f(x)) L f(x0) P(x0, f(x0)) X O x x0

  35. จะเห็นว่าเมื่อเราเลื่อน x ให้เข้าใกล้ x0จุด Q ก็จะเลื่อนตามแนวเส้นโค้ง y = f(x) เข้าใกล้จุด P มากขึ้น ส่วนของเส้นตรง PQ ก็จะเคลื่อนเข้าหาเส้นตรง L ซึ่งเป็นเส้นสัมผัสกราฟ y = f(x) ที่จุด P ดังนั้น ความชันของเส้นสัมผัส L ที่จุด P จะเท่ากับความชันของส่วนของเส้นตรง PQ เมื่อ x เข้าใกล้ x0

  36. ถ้าให้ x = x - x0แล้วค่าลิมิตคือ ซึ่งมีค่าเท่ากับ f(x0) นั่นคือ ความชันของเส้นสัมผัสกราฟ y = f(x) ที่จุด P คือ ดังนั้น ความชันของเส้นตรงที่สัมผัสกราฟของฟังก์ชัน f ที่จุด x0 จะเท่ากับf(x0)

  37. Y f L f(x0) f(x0) X x0 O ความชันของเส้นตรงที่สัมผัสกราฟของฟังก์ชัน f ที่จุด x0 จะเท่ากับf(x0) f(x0)

  38. จงหาความชันของเส้นสัมผัสกราฟ f(x) = x2ที่ x = -1 f(x) = x2ที่ x = -1 เนื่องจาก จะได้ว่า = 2

  39. อนุพันธ์ ที่ x = 0 ให้ f(x) = x จงแสดงว่า f ไม่มีอนุพันธ์ที่ x = 0 พิจารณา f(0) ไม่มีค่า แต่

  40. Y f(x)= a  O X L2 L1 กราฟของฟังก์ชัน f(x) = a  จะเห็นว่าที่ x = 0 เราอาจลากเส้นสัมผัสกราฟ f(x) ได้มากกว่า 1 เส้น คือ L1และ L2รวมทั้งแกน X และแกน Yความชันของเส้นตรง L1 และ L2 ไม่เท่ากัน และf(0) หาค่าไม่ได้

  41. Y Y Y X X X a a a O O O Y X a O ฟังก์ชันของกราฟแต่ละรูปไม่มีอนุพันธ์ที่ x = a

  42. ถ้าf เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ที่ x = a แล้ว f ต่อเนื่องที่ x = a แต่บทกลับของข้อความดังกล่าวไม่จริง กล่าวคือ ถ้า fเป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = aแล้วไม่จำเป็นว่า f จะต้องมีอนุพันธ์ที่ x = a เสมอไป

  43. การกล่าวถึงสัญลักษณ์ที่ใช้แทนอนุพันธ์ของฟังก์ชันอีกแบบหนึ่ง ซึ่งสัญลักษณ์นี้เกี่ยวข้องกับเรื่องดิฟเฟอเรนเชียล จะให้ความหมายดังนี้ ถ้า y = f(x)เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ เราจะนิยาม ดิฟเฟอเรนเชียลของ xให้มีค่าเท่ากับ xเขียนแทนด้วย dx

  44. เห็นได้ว่า dy และ dx ต่างก็เป็นปริมาณอันหนึ่ง ในกรณีที่ dx ≠ 0 จากสมการ จะได้ว่า นั่นคือ dx = x และนิยาม ดิฟเฟอเรนเชียลของ yให้มีค่าเท่ากับ f(x)dxเขียนแทนด้วย dy นั่นคือ dy = f(x)dx

  45. นั่นคือ ผลหารของดิฟเฟอเรนเชียลของ y กับดิฟเฟอเรนเชียลของ x เท่ากับ อนุพันธ์ของฟังก์ชัน จึงใช้สัญลักษณ์ หรือ แทนอนุพันธ์ของฟังก์ชันอีกด้วย

  46. สัญลักษณ์ f(x), y, ,หรือ เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนอนุพันธ์ของฟังก์ชัน และ f(a), y(a), , แทนค่าของอนุพันธ์ของ f ที่ x = a

  47. (c เป็นค่าคงตัว) สูตรเบื้องต้นสำหรับการหาอนุพันธ์ จงหาอนุพันธ์ของ f(x) = 5

  48. เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มใดๆ จงหาอนุพันธ์ของ f(x) = x7 = 7x7-1 = 7x6

  49. จงหาอนุพันธ์ของ f(x) = x15 + 6

  50. จงหาอนุพันธ์ของ f(x) = 4x

More Related