html5-img
1 / 59

การสำรวจเว็บไซต์ที่นำเสนอความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

การสำรวจเว็บไซต์ที่นำเสนอความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. นางสาวชุติกาญจน์ บุตรพรม 525080069-8 นางสาวนิภาภรณ์ โพธิ์ศรี 525080071-1 นายคมสัน พันธุ์ชัยเพชร 525080110-7 นางสาววิลาวัณย์ ศรีโยธี 525080116-5. CONNECT-WORLD. 1. URL: http://www.connect-world.com

barbie
Télécharger la présentation

การสำรวจเว็บไซต์ที่นำเสนอความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสำรวจเว็บไซต์ที่นำเสนอความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการสำรวจเว็บไซต์ที่นำเสนอความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นางสาวชุติกาญจน์ บุตรพรม 525080069-8 นางสาวนิภาภรณ์ โพธิ์ศรี 525080071-1นายคมสัน พันธุ์ชัยเพชร 525080110-7 นางสาววิลาวัณย์ ศรีโยธี 525080116-5

  2. CONNECT-WORLD 1. URL: http://www.connect-world.com 2. ผู้จัดทำเว็บไซต์: World InfoComms Ltd., London

  3. CONNECT-WORLD 3. เนื้อหาสาระความรู้ • บทความด้าน ICT จากทุกภูมิภาคทั่วโลก โดยแบ่งเป็นภูมิภาคเช่น ยุโรป เอเชีย-แปซิฟิก แอฟริกา และมีนิตยสารเกี่ยวกับระบบเครือข่ายและฐานข้อมูลต่างๆ ในอเมริกาเหนือ ลาตินอเมริกา อินเดีย • ตารางแสดงช่วงเวลางานประชุมนานาชาติ หรือ ระดับชาติ หรืองานนิทรรศการทั่วโลกเกี่ยวกับ ICT • รวมข่าวด้าน ICT จาก สำนักข่าว Reuters, BBC, CNN, NY Times, Yahoo, Blogs ต่างๆ, CNET

  4. CONNECT-WORLD 3. เนื้อหาสาระความรู้ • ข่าวประชาสัมพันธ์รายวันจาก บริษัท หน่วยงานทางด้าน ICT เช่นการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ ใหม่ ของ Ericson Motorora เป็นต้น • ระบบ Feed ข่าวสารต่างๆ • White paper – เป็นบทความวิชาการประเภทหนึ่ง • เป็นนิตยสารออนไลน์เชิงพาณิชย์ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับด้าน ICT โดยเฉพาะ มีทั้งนิตยสารแบบรูปเล่มและแบบออนไลน์ ซึ่งบทความในนิตยสารออนไลน์นี้นำมาจากนิตยสารฉบับพิมพ์

  5. CONNECT-WORLD 4. ความทันสมัยของข้อมูล • บทความด้าน ICT จากทุกภูมิภาคทั่วโลก มีบทความจนถึงปีปัจจุบัน ยกเว้นนิตยสารบางรายการ มีบทความถึงปี 2008 • ตารางแสดงช่วงเวลางานประชุมนานาชาติ หรือ ระดับชาติ หรืองานนิทรรศการทั่วโลกเกี่ยวกับ ICT มีข้อมูลจนถึงปี 2010 • รวมข่าวด้าน ICT จาก สำนักข่าว Reuters, BBC, CNN, NY Times, Yahoo, Blogs ต่างๆ, CNET เนื่องจากเป็นข่าวที่ FEED มาจากเว็บไซต์ต่างๆ เป็นรายวัน จึงเป็นข้อมูลที่ทันสมัย • ข่าวประชาสัมพันธ์รายวันจาก บริษัท หน่วยงานทางด้าน ICT เช่น Ericson Motorora เป็นต้น เช่นงานเปิดตัวระบบหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ทาง ICT

  6. CONNECT-WORLD 5. จุดเด่นและความหน้าสนใจของเว็บไซต์ • ผู้เขียนบทความล้วนเป็นผู้มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับในวงการ ICT หรือมีตำแหน่งเป็นผู้บริหารระดับสูงในองค์กร บริษัท ICT รายใหญ่ ทุกภูมิภาคทั่วโลก เช่น หน้าของ Magazine Global-ICT ปี 2008 Bill Gates เขียนเรื่อง Adoption - and prosperity - through public-private partnerships, หน้า Magazine Connect-World African และ the Middle East ปี 2007 Dr. Abdul Waheed Khan (Unesco’s Assistant Director-General for Communication and Information) เขียนเรื่อง Re-engineering education through ICTs

  7. CONNECT-WORLD 5. จุดเด่นและความหน้าสนใจของเว็บไซต์ • สำหรับผู้เขียนชาวไทยมี 1 บทความคือในหน้า Article ของ วารสาร - Asia-Pacific II ปี 2003 Don Sambandaraksa เขียนร่วมกับ Arthur Morse ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ Special Advisor to the Permanent Secretary and Systems Analyst จากกระทรวง ICT โดยเขียนเรื่อง The Growth of Telecommunications in Thailand เป็นต้น

  8. CONNECT-WORLD 5. จุดเด่นและความหน้าสนใจของเว็บไซต์ • มีระบบ Feed ข่าวสารต่างๆ ซึ่งเป็นคุณสมบัติบางส่วนของ Web 2.0 • หน้า Home จะเน้นเนื้อหาเกี่ยวกับงานนิทรรศการหรืองานประชุมด้าน ICT (Event) และ บทความ (Article) ซึ่งเป็นจุดหลักของวารสารนี้ ส่วน About us ที่บอกรายละเอียดผู้จัดทำจะวางไว้ขวาสุด (เว็บไซต์ส่วนใหญ่จะจัดวาง About us ไว้อันดับแรก) แสดงให้เห็นว่าผู้จัดทำให้ความสำคัญสาระของเว็บไซต์จึงจัดไว้ทางซ้ายมือลำดับแรกซึ่งเป็นตำแหน่งที่ดึงดูดผู้อ่าน • มีคำศัพท์อธิบายความหมาย (Glossary) อักษรย่อทาง ICT ที่ระบุในนิตยสาร

  9. CONNECT-WORLD 6. ข้อคิดเห็นต่อเว็บไซต์ • การออกแบบ Websiteไม่ดึงดูดความสนใจ ควรจัดหรือใช้พื้นที่ว่างหน้า Websiteให้เกิดประโยชน์มากกว่านี้ • บทความบางส่วนต้องชำระเงินจึงจะสามารถอ่านเนื้อหาได้ • นิตยสารบางรายการมีข้อมูลล่าสุดถึงปี 2009 บางรายการมีข้อมูลล่าสุดถึงปี 2008 ซึ่งอาจทำให้ผู้อ่านอาจสงสัยว่าข้อมูลปี 2008 ของนิตยสารบางรายการเป็นข้อมูลล่าสุดหรือไม่ ผู้จัดทำควรระบุข้อความแจ้งให้ทราบ ทั้งนี้จากการสำรวจด้วยตนเองพบว่าหากต้องการทราบว่าเป็นฉบับล่าสุดหรือไม่ ต้องเข้าไปตรวจสอบที่ Publishing Calendar จึงจะทราบวันที่พิมพ์ นิตยสารบางรายการมีข้อมูลล่าสุดปี 2008 เนื่องจากเป็นนิตยสารรายปี และยังไม่ได้จัดพิมพ์ฉบับปี 2009

  10. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) 1. URL: http://www.rlc.nrct.go.th/ 2. ผู้จัดทำเว็บไซต์: สำนักงานคณะกรรมการ การวิจัยแห่งชาติ (วช.)

  11. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) 3. เนื้อหาสาระความรู้ • นำเสนอความรู้จากการวิจัยของหน่วยงานเครือข่ายในระบบวิจัยทั่วประเทศ • นำเสนอกิจกรรมที่มีส่วนร่วมจากเครือข่ายการวิจัยต่างๆ ที่เชื่อมโยงมาจากงาน Thailand Research Expo • เป็นศูนย์กลางการประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมและสนับสนุนทุนเพื่อการวิจัย เช่น ทุนวิจัยนวมินทร์ ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ โดยให้ความสำคัญกับการพิจารณาโครงการวิจัย ที่มีการต่อยอดประเด็นการศึกษาจากองค์ความรู้เดิม ที่ได้ดำเนินการวิจัยมาแล้ว เพื่อนำสู่การทำงานเพื่อให้ได้ข้อสรุปจากการวิจัยนโยบาย ที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ของประเทศ

  12. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) 3. เนื้อหาสาระความรู้ • ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่กิจกรรมการบริการทางการวิจัยของศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย ว่าด้วยเรื่อง 1. การถ่ายทอดความรู้เชิงนโยบายวิจัย งานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยที่เพิ่มผลผลิต ให้แก่นักวิจัย 2. การถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการวิจัย 3. การให้คำปรึกษาทางด้านการวิจัย

  13. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) 3. เนื้อหาสาระความรู้ • นำเสนอพิพิธภัณฑ์ระบบเสมือนต้นแบบการเรียนรู้โครงการวิจัยอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จากงาน Thailand Research Expo และระบบเสมือนต้นแบบเรียนรู้ของผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ และได้รับการเชิดชูเกียรติ • นำเสนอนิทรรศการหมุนเวียนต่างๆ เช่น - ต้นแบบการเรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ - ต้นแบบผลงานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์ที่ได้รับรางวัลจากสภาวิจัยแห่งชาติ - ผลงานวิจัยและกิจกรรมที่ได้รับรางวัล และมีคุณภาพจากหน่วยงาน เครือข่ายในระบบวิจัย

  14. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) 4. ความทันสมัยของข้อมูล • การนำเสนอข่าวสารและแผนการดำเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย จะรวดเร็ว และทันเวลา เนื่องจากมีการมีการประชาสัมพันธ์ผ่านทางเว็บไซต์ และส่งข้อมูลถึงกลุ่มเป้าหมายที่เป็นสมาชิก กลุ่มเป้าหมายที่สนใจและได้สมัครรับข่าวสารไว้ในระบบ • ข้อมูลความรู้จากการวิจัยของหน่วยงานเครือข่ายที่เชื่อมโยงในระบบ จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากแต่ละหน่วยงานที่สร้างงานวิจัยเรื่องใหม่ๆ ก็จะเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานตนเอง

  15. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) 5. จุดเด่นและความหน้าสนใจของเว็บไซต์ • เป็นเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงการเรียนรู้ด้านการวิจัยของประเทศไทย • เป็นศูนย์กลางเครือข่ายในระบบวิจัยที่ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการสร้าง “สังคมแห่งการเรียนรู้” • เป็นศูนย์กลางในการขยายผลความรู้จากการวิจัยในรูปของกิจกรรมที่มีส่วนร่วมจากเครือข่ายการวิจัยต่างๆ ทั่วประเทศ • พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Tour) ที่นำเสนอในเว็บไซต์ เป็นนิทรรศการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเทิดพระเกียรติพระบรมวงศานุวงศ์ แบบเสมือน โดยใช้ชื่อ “หอแห่งพระภูมิปัญญา”

  16. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) 5. จุดเด่นและความหน้าสนใจของเว็บไซต์ • มีจุดเด่นที่น่าสนใจตรงที่สามารถชมสื่อต่างๆ ภายในนิทรรศการได้แบบ 360 องศา โดยใช้กดเมาส์ค้างไว้แล้วเลื่อนไปทิศทางซ้าย ขวาได้ นอกจากนี้ยังมีสัญลักษณ์ต่างๆ แสดงไว้ตามจุดที่ต้องการอธิบาย ขยายความเพิ่มหรือแสดงภาพเสมือนจริง เช่น - สัญลักษณ์แทนภาพเคลื่อนไหว - สัญลักษณ์แทนสื่อ Interactive - สัญลักษณ์แทนสื่อภาพหรือเอกสารประกอบ - สัญลักษณ์แทนการเลื่อนไปห้องถัดไป - สัญลักษณ์แทนตัวผู้ชมนิทรรศการแสดงถึงจุดที่อยู่

  17. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) ตัวอย่าง ภายในห้องนิทรรศการที่จัดแสดงจะแบ่งออกเป็นโซนต่างๆ

  18. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) ตัวอย่าง ภายในห้องนิทรรศการที่จัดแสดงจะแบ่งออกเป็นโซนต่างๆ โซนพระผู้สร้างกระแสธารแห่งปัญญา โซนโรงฝึกศิลปาชีพสวนจิตรดา ตัวอย่างสื่อ Interactive ที่อยู่ภายในห้องนิทรรศการ

  19. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) 6. ข้อคิดเห็นต่อเว็บไซต์ • การเชื่อมโยงข้อมูล (Link) ไปยังหน่วยงานเครือข่ายของศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย ส่วนใหญ่จะเชื่อมโยงไปยังหน้าหลักของเว็บไซต์หน่วยงาน ซึ่งไม่สะดวกในการสืบค้นข้อมูล ดังนั้นหากต้องการส่งเสริมให้เข้าใช้ข้อมูลทางด้านการวิจัยจากหน่วยงานเครือข่ายควรปรับปรุงให้มีจุดเข้าถึงเพียงจุดเดียว และสามารถเชื่อมโยงไปถึงเอกสารงานวิจัยได้เลย • เว็บไซต์ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย เป็นเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นปี พ.ศ. 2552 การเชื่อมโยงกับเว็บไซต์อื่นๆ บางเว็บไซต์ยังพบว่าเชื่อมโยงไม่ได้ อาจเป็นเพราะเว็บไซต์นั้นปิดตัวลงหรือเปลี่ยน URL ใหม่ ผู้ดูแลระบบควรตรวจสอบอยู่เสมอ

  20. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) 6. ข้อคิดเห็นต่อเว็บไซต์ • เทคนิคการจัดทำพิพิธภัณฑ์ระบบเสมือน ทั้งรูปแบบและกระบวนการนำเสนอสวยงามและน่าสนใจมาก ทำให้ผู้เข้าชมรู้สึกเสมือนหนึ่งว่าได้เข้าชมสถานที่จริง • การประชาสัมพันธ์กิจกรรมการมีส่วนร่วมในศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย และการเสนอการวิจัยเพื่อขอรับทุนการวิจัย มีความชัดเจน และแต่ละหัวข้อมีความน่าสนใจมาก

  21. ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (ศสษ)English Language Development Center (ELDC) 1. URL: http://www.eldc.go.th/ 2. ผู้จัดทำเว็บไซต์: ศูนย์พัฒนาความสามารถ ในการใช้ภาษาอังกฤษ (ศสษ)

  22. ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (ศสษ)English Language Development Center (ELDC) 3. เนื้อหาสาระความรู้ • นำเสนอสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเอง โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสาร มาช่วยให้การดำเนินงาน มีความคล่องตัว และ ตอบรับ การบริการ ในรูปแบบ ที่ หลากหลาย • เป็นศูนย์กลางประสานงานเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ และเอกชน รวมทั้งองค์กรต่างประเทศ จำนวน 163 สถาบัน ในการให้คำแนะนำความรู้เกี่ยวกับภาษาอังกฤษ แก่หน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน

  23. ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (ศสษ)English Language Development Center (ELDC) 3. เนื้อหาสาระความรู้ • เนื้อหาความรู้ในบทเรียนออนไลน์เน้นการเรียนรู้การใช้ภาษาอังกฤษสำหรับอาชีพต่างๆ ของบุคลากร ในกลุ่มอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ 8 กลุ่ม ที่มีความสัมพันธ์ เชื่อมโยง และมีผลต่อเศรษฐกิจของชาติ ได้แก่ ท่องเที่ยว วิทยาศาสตร์สุขภาพ อาหาร แฟชั่น ยานยนต์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ปิโตรเคมี เหล็ก และเหล็กกล้า

  24. ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (ศสษ)English Language Development Center (ELDC) 3. เนื้อหาสาระความรู้ • รูปแบบการบริการสำหรับผู้เรียน ประกอบด้วย 1. E-Learningเป็นบทเรียนออนไลน์ที่หน่วยงานในเครือข่าย ร่วมมือกัน จัดทำเป็นหลักสูตรต่างๆ ขึ้น ตัวอย่างเช่น หลักสูตรสื่อเรียนรู้ตัวเอง 6 อุตสาหกรรม

  25. ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (ศสษ)English Language Development Center (ELDC) 3. เนื้อหาสาระความรู้ 2.แบบทดสอบ บริการทดสอบภาษาอังกฤษออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์ของศูนย์ 3. การ์ตูน พร้อมเสียงนำเสนอภาษาอังกฤษ โดยเจ้าของภาษาเป็นผู้บรรยาย

  26. ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (ศสษ)English Language Development Center (ELDC) 3. เนื้อหาสาระความรู้ 4.เกมส์ ส่งเสริมการเรียนรู้คำศัพท์ในภาษาอังกฤษ ที่เกี่ยวกับ 8 อุตสาหกรรมยุทธศาสตร์หลักของประเทศ 5.รายการวิทยุ OK I get itที่นำเสนอการใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน

  27. ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (ศสษ)English Language Development Center (ELDC) 3. เนื้อหาสาระความรู้ 6.รายการโทรทัศน์ รายการสอนภาษาอังกฤษ Yes you can ที่แพร่ภาพทางช่อง TPBS เนื้อหารายการแบ่งออกเป็น 6 หมวดอุตสาหกรรม

  28. ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (ศสษ)English Language Development Center (ELDC) 3. เนื้อหาสาระความรู้ • นำเสนอรูปแบบการบริการสำหรับผู้สอน ว่าด้วยเรื่องการกำหนดสิทธิ์ในการประชาสัมพันธ์หลักสูตรของสถาบัน การค้นหาความต้องการหลักสูตรในการเรียน โดยวิเคราะห์ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายจากคำตอบในแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ที่ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษสร้างขึ้น การกำหนดหลักสูตรสำเร็จรูปให้ตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ได้จากการประสานงานกับคณะผู้วิจัยจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่ได้ดำเนินการวิจัยเกี่ยวกับความต้องการด้านภาษาอังกฤษของบุคคลระดับต่างๆ ในกลุ่มเป้าหมายทั้ง 8 กลุ่ม

  29. ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (ศสษ)English Language Development Center (ELDC) 3. เนื้อหาสาระความรู้ • นำเสนอการบริการอื่นๆ เช่น รวมเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาสาระความรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ทั้งเว็บไซต์ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ จัดทำเว็บบอร์ดสำหรับกิจกรรมถามตอบภาษาอังกฤษผ่านทางระบบออนไลน์ ประชาสัมพันธ์ข่าวความก้าวหน้า ความเคลื่อนไหว และกิจกรรมต่างๆ ที่ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ได้ดำเนินการ

  30. ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (ศสษ)English Language Development Center (ELDC) 4. ความทันสมัยของข้อมูล • โดยภาพรวมเนื้อหาสาระรวมถึงรูปแบบการนำเสนอความรู้มีความทันสมัย และปรับเปลี่ยนอยู่ตลอด ดังจะเห็นได้จากคำคมภาษาอังกฤษที่อยู่หน้าเว็บไซต์จะเปลี่ยนทุกวัน ข่าวประชาสัมพันธ์หลักสูตรในการอบรมการใช้ภาษาอังกฤษมีการแจ้งประชาสัมพันธ์ล่วงหน้า

  31. ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (ศสษ)English Language Development Center (ELDC) 5. จุดเด่นและความหน้าสนใจของเว็บไซต์ • เป็นแหล่งเรียนรู้และพัฒนาทักษะการสื่อสารทางด้านภาษาอังกฤษด้วยตนเอง ที่มีรูปแบบการนำเสนอที่หลากหลายน่าสนใจ • บทเรียนออนไลน์ที่นำเสนอ เป็นบทเรียนที่ได้มาตรฐานเนื่องจากผ่านการวิเคราะห์ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายอย่างเป็นระบบ • เกมส์เรียนรู้ศัพท์ภาษาอังกฤษออนไลน์ แต่ละเกมส์ผ่านการชนะเลิศการแข่งขันพัฒนาเกมส์ Flash • แหล่งข้อมูลออนไลน์ที่ได้รวบรวมไว้บริการ มีให้เลือกทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษมีจำนวน 707 เว็บไซต์ การจัดการข้อมูลมีการแบ่งกลุ่มชื่อเว็บไซต์ตามเนื้อหาความรู้ ทำให้การค้นหาสะดวกรวดเร็ว สามารถเลือกเว็บไซต์ที่สนใจได้เร็วขึ้น

  32. ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (ศสษ)English Language Development Center (ELDC) 6. ข้อคิดเห็นต่อเว็บไซต์ • การออกแบบเว็บไซต์ไม่น่าสนใจ ภาพไม่คมชัด ตัวอักษรมีขนาดเล็กมากเกินไป แต่เนื้อหาสาระ และรูปแบบการนำเสนอความรู้ภายในเว็บไซต์มีประโยชน์เป็นอย่างมาก • การเชื่อมโยง (Link) ไปยังเว็บไซต์อื่นๆ บางเว็บไซต์อาจเปลี่ยน URL ทำให้ไม่สามารถเชื่อมโยงได้ ผู้ดูแลระบบควรตรวจสอบ และปรับปรุงข้อมูลอยู่เสมอ

  33. ศูนย์พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (ศสษ)English Language Development Center (ELDC) 6. ข้อคิดเห็นต่อเว็บไซต์ • การกำหนดมาตรฐานหลักสูตร และการวางแผนการฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษ มีการวางแผนที่ดี ดังจะเห็นได้จากมีการกล่าวอ้างถึงความร่วมมือในการวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาความต้องการฝึกทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ ของกลุ่มเป้าหมาย ผ่านทางแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ในเว็บไซต์ และนักวิจัยในเครือข่ายความร่วมมือ • สื่อผสมบางรายการ (Multimedia) มีข้อจำกัดในเรื่องการใช้ ซึ่งบางครั้งไม่สามารถใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกรุ่น

  34. โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy)โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy) 1. URL: http://traffy.nectec.or.th/ 2. ผู้จัดทำเว็บไซต์: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

  35. โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy)โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy) 3. เนื้อหาสาระความรู้ Traffy โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจรแบบ Real Time เป็นโครงการความร่วมมือของกรุงเทพมหานครและศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ เพื่อแก้ไขปัญหาจราจร โดยระบบ Traffy จะรายงานสภาพจราจรในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลบนแผนที่ Google Mapผ่านระบบอินเตอร์เน็ต

  36. โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy)โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy) 3. เนื้อหาสาระความรู้ ผู้ใช้สามารถการวางแผนก่อนออกเดินทางและตรวจสอบสภาพจราจรขณะเดินทางเพื่อหลีกเลี่ยงเส้นทางที่มีความติดขัดช่วยให้ลดระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ระบบ Traffy ประกอบด้วยระบบย่อย 2 ระบบคือ1) ระบบ Traffy ผ่าน WebBrowser2) ระบบ Traffy ผ่านโทรศัพท์ เคลื่อนที่ (J2ME, Symbian OS และ Windows Mobile)

  37. โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy)โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy) 3. เนื้อหาสาระความรู้ ฟังก์ชั่นการทำงานของระบบ Trafffy 1.แสดงระดับความคับคั่งของการจราจรบนถนนสายต่างๆ แบบ Real Time บนแผนที่ Google Map ซึ่งระดับความติดขัดจะแสดงไว้ 3 ระดับ ได้แก่ ติดขัดมาก ติดขัดปานกลาง และคล่องตัว สังเกตได้จากเส้นสีที่แสดงบนแผนที่ โดยเส้นสีส้ม สีโทนแดงแสดงว่ารถติด สีน้ำตาลแสดงถึงหนาแน่นปานกลาง สีเขียวหมายถึงสภาพจราจรคล่องตัวเดินทางสะดวก

  38. โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy)โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy) 3. เนื้อหาสาระความรู้ ฟังก์ชั่นการทำงานของระบบ Trafffy 2.ภาพเคลื่อนไหวแสดงสภาพจราจรจากกล้อง CCTV ในถนนที่ได้ติดตั้งกล้องไว้ พร้อมๆ กับข้อมูลความเร็วและจำนวนรถ ที่ได้จากการประมวลผลภาพถ่ายดังกล่าว 3.แสดงข้อมูลระดับความติดขัดให้ดูง่ายขึ้นโดยแสดงในลักษณะป้ายจราจรอัจฉริยะเช่นเดียวกับป้ายอัจฉริยะตามสี่แยก

  39. โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy)โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy) 3. เนื้อหาสาระความรู้ ฟังก์ชั่นการทำงานของระบบ Trafffy 4.ทำนายระดับความติดขัดของการจราจรในอนาคตได้ล่วงหน้า 10 และ 30 นาที จากเครื่องมือที่เรียกว่า Traffic Time Machine โดยวิธีการ ทำนายจะใช้หลักการทาง Machine Learning และสถิติของข้อมูลระดับ ความติดขัดในอดีต และผลของการ ทำนายจะแสดงบนเส้นสี เขียว น้ำตาล ส้ม บนแผนที่

  40. โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy)โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy) 3. เนื้อหาสาระความรู้ ฟังก์ชั่นการทำงานของระบบ Trafffy 5.แสดงข้อมูลจราจรอื่นๆ เช่น จุดที่เกิดอุบัติเหตุ จุดเสี่ยง จุดก่อสร้าง ระดับความติดขัด โดยอาสาสมัครและตำรวจทางหลวง โดยใช้ โทรศัพท์มือถือแบบ Symbian และ Windows Mobile โดยข้อมูลที่อาสาสมัครรายงานเข้ามาจะแสดงเป็น Icon บนแผนที่ เมื่อคลิกเข้าไปจะเห็นรายละเอียดของข้อมูล เช่น วัน เวลา สถานที่ ภาพถ่าย ความเร็ว ท่านสามารถความเห็นเหมือนหรือความเห็นต่างกับข้อมูลที่อาสาสมัครส่งเข้ามาได้ผ่านเว็บได้เช่นกัน

  41. โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy)โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy) 3. เนื้อหาสาระความรู้ ฟังก์ชั่นการทำงานของระบบ Trafffy 6.แนะนำเส้นทางการเดินทาง โดยกำหนด ต้นทาง และปลายทาง ลงบนแผนที่ ก็จะสามารถบอกเส้นทางการเดินทางที่เหมาะสม ว่าต้องผ่านถนนใดบ้าง เลี้ยวซ้ายเลี้ยวขวาตรงไหนอย่างไรและสภาพจราจรในปัจจุบันและอนาคต 30 นาที ของเส้นทางนั้นเป็นอย่างไร

  42. โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy)โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy) 4. ความทันสมัยของข้อมูล • ข้อมูลในเว็บไซต์เป็นข้อมูลแบบ Real Time ข้อมูลในเว็บจึงมีปรับปรุงอยู่ตลอดเวลา ทำให้ข้อมูลมีความใหม่อยู่ตลอดเวลา

  43. โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy)โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy) 5. จุดเด่นและความหน้าสนใจของเว็บไซต์ • การรายงานสภาพการจราจรแบบ Real Time ทำให้ผู้ใช้สามารถวางแผนการเดินทางได้ และผู้ใช้สามารถเข้าดูข้อมูลได้ทั้งจากหลากหลายช่องทาง ทั้งผ่านทาง Web Browser และผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (J2ME, Symbian OS และ Windows Mobile) ทำให้ผู้ใช้สะดวกในการเข้าใช้ และสามารถตรวจสอบสภาพการจราจรได้แม้ขณะอยู่ในรถ

  44. โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy)โครงการพัฒนาระบบประเมินและรายงานสภาพจราจร(traffy) 6. ข้อคิดเห็นต่อเว็บไซต์ • โดยภาพรวมของระบบ ถือได้ว่าค่อนข้างสมบูรณ์ทีเดียว แต่ในส่วนที่แสดงภาพจากกล้อง CCTV มีให้ดูได้เพียงไม่กี่จุด ซึ่งจากสภาพจริง กล้อง CCTV ที่ติดตั้งจริงน่าจะมีมากกว่าที่ปรากฏในระบบ และถ้าสามารถมองเห็นแบบ Real Time ได้จากทุกจุดน่าจะช่วยให้สามารถวางแผนการเดินทางได้ดียิ่งขึ้น

  45. ศูนย์กลางความรู้แห่งชาติ(Thailand Knowledge Center) 1. URL: http://www.tkc.go.th/ 2. ผู้จัดทำเว็บไซต์: กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร

  46. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) 3. เนื้อหาสาระความรู้ • เป็นเว็บไซต์ศูนย์กลางความรู้แห่งชาติที่รวบรวม ข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่าง ๆ เพื่อให้บริการแก่ประชาชนทั่วไปที่สนใจค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมบนระบบอินเทอร์เน็ต โดยมีความสำคัญในประเด็นต่างๆ ดังนี้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย (ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้)

  47. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) 3. เนื้อหาสาระความรู้ • บริการเว็บที่เป็นศูนย์รวมความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ คลังความรู้ด้านเกษตร กฎหมาย กีฬา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ท่องเที่ยว การศึกษา ความรู้ทั่วไป ภาษาวรรณกรรม ปรัชญาวิศวกรรมเทคโนโลยี สาขาธุรกิจศิลปวัฒนธรรม สุขภาพ หน่วยงานราชการ และองค์กร เว็บไซต์ภายใต้กระทรวง ICT ข่าวประชาสัมพันธ์ต่างๆของกระทรวง ทั้งของไทยและต่างประเทศ ที่มีให้บริการบนระบบอินเทอร์เน็ต โดยได้รวบรวมลิงค์ ของความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ ของประเทศไทย ที่มีให้บริการอยู่บนระบบอินเทอร์เน็ต มาให้บริการในเว็บ

  48. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) 3. เนื้อหาสาระความรู้ • มีบริการพื้นที่แก่หน่วยงานต่างๆ ที่มีความรู้ในรูปแบบดิจิทัล แต่ไม่มีอุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระบบเครือข่ายและระบบค้นหาที่มีประสิทธิภาพ และต้องการเผยแพร่ความรู้นั้นๆ ให้มาเผยแพร่บนระบบของ TKC ได้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณของประเทศ

  49. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) 3. เนื้อหาสาระความรู้ • มีเวทีในการแลกเปลี่ยน และเรียนรู้ ระหว่างกลุ่มคน ในเรื่องเกี่ยวกับ ความรู้ และประสบการณ์ในสาขาวิชาต่างๆ โดยให้บริการต่างๆ เช่น 1. บริการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกลุ่มผู้ปฏิบัติงานในสาขาวิชาต่างๆ หรือ ที่เรียกว่าชุมชนนักปฏิบัติ เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และวิธีการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงาน อันจะเป็นการพัฒนาความรู้ และประสบการณ์ของสมาชิกในกลุ่มให้มีความรู้ในระดับใกล้เคียงกัน

  50. ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย(Research Learning Center) 3. เนื้อหาสาระความรู้ 2. เป็นเวทีสนทนาวิชาการออนไลน์กับผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาต่างๆ สำหรับเด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป โดยไม่จำกัดเวลา และสถานที่ เป็นเวทีให้ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ สร้างเนื้อหาในรูปอิเล็กทรอนิกส์ หรือบันทึกความรู้ ในสาขาที่เขามีความเชี่ยวชาญในรูปแบบต่างๆ เช่น Text File, PDF File, PPT File, Image File และ Multimedia ผ่านเว็บของศูนย์ฯได้ทันที โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่

More Related