1 / 79

สถิติในงานระบาดวิทยา

สถิติในงานระบาดวิทยา. วัตถุประสงค์. ระบุลักษณะข้อมูลและระดับการวัดได้ รู้และเข้าใจความหมายของสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมานได้ เลือกใช้สถิติที่เหมาะสม นำเสนอได้อย่างถูกต้อง ใช้เครื่องมือ(โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลได้). หัวข้อ. สถิติพรรณนา อัตรา อัตราส่วน สัดส่วน ข้อมูลและการวัด

baxter-kemp
Télécharger la présentation

สถิติในงานระบาดวิทยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถิติในงานระบาดวิทยา

  2. วัตถุประสงค์ • ระบุลักษณะข้อมูลและระดับการวัดได้ • รู้และเข้าใจความหมายของสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมานได้ • เลือกใช้สถิติที่เหมาะสม • นำเสนอได้อย่างถูกต้อง • ใช้เครื่องมือ(โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลได้)

  3. หัวข้อ • สถิติพรรณนา อัตรา อัตราส่วน สัดส่วน • ข้อมูลและการวัด การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง • สถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแตกต่าง การทดสอบความสัมพันธ์ การนำเสนอข้อมูล 4.การนำเสนอข้อมูล

  4. ข้อมูลแบ่งตามระดับของการวัด มี 4 ระดับ ดังนี้คือ

  5. ประชากร ค่าพารามิเตอร์ ทฤษฎีความน่าจะเป็น ตัวอย่าง สถิติเชิงอนุมาน ค่าสถิติ สถิติเชิงพรรณนา

  6. เครื่องมือทางระบาดวิทยาเครื่องมือทางระบาดวิทยา อัตรา(RATE) , อัตราส่วน(RATIO) สัดส่วน(PROPORTION) นันทนา สุขมา

  7. วัดสภาวะสุขภาพและการเกิดโรค ภัย ไข้ เจ็บ • วัดความถี่ของการเกิดโรค • วัดความสัมพันธ์ของการเกิดโรคกับปัจจัย • ประเมินผลกระทบ

  8. อัตรา(RATE) สูตรทั่วไป หรือ a/a+b x K • ตัวเศษเป็นส่วนหนึ่งของตัวส่วน มีค่าเป็นบวก 1.1 อัตราป่วย (morbidity rate) • อัตราอุบัติการ (Incidence rate) • อัตราความชุก(Prevalence rate)

  9. 1.2 อัตราตาย (Mortality Rtae) • อัตราตายอย่างหยาบ (Crude death rate) • อัตราตายเฉพาะ (Specific death rate) • อัตราเฉพาะอายุ เพศ สาเหตุ 1.3 อัตราผู้ป่วยตาย(Case Fataliry Rate)

  10. 1.1 อัตราป่วย (Morbidity rate) 1.1.1 อัตราอุบัติการ (Incidence rate) • ผู้ป่วยใหม่(new case) • ช่วงเวลา(period of time) • ประชากรเสี่ยง

  11. ตัวอย่าง โรค ตัวตั้ง ตัวหาร • อุจจาระร่วง ปี 2549 • ไข้เลือดออกในเด็ก ก่อนวัยเรียน จ.นครราชสีมาปี 2549 • บาดทะยักเด็กแรกเกิด อ.สตึก ปี 2549 • มะเร็งปากมดลูก หญิงวัยเจริญพันธ์ อ.ชุมพลบุรี ปี 2549 • อุบัติเหตุในช่วงเทศกาล สงกรานต์ จ.บุรีรัมย์ ปี 2550

  12. ความสำคัญ • ทราบถึงโอกาสหรือความเสี่ยงต่อการเกิดโรคของคนในชุมชนหนึ่ง • ศึกษาสาเหตุของการเกิดโรค • เป็นเครื่องบ่งชี้มาตรการและการดำเนินงานในการป้องกันควบคุมโรค

  13. 1.1.2 อัตราความชุกของโรค (Prevalence rate) • จำนวนผู้ป่วยทุกราย • จุดเวลา(point of time), ช่วงเวลา (Period of time) • ประชากรทั้งหมด หรือประชากรเฉลี่ย ,กลางปี สูตรทัวไป • บอกขนาดของปัญหาในขณะนั้น • บอกความชุกของโรค

  14. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อกับอัตราความชุกปัจจัยที่มีผลกระทบต่อกับอัตราความชุก • เพิ่ม • ระยะเวลาการเกิดโรคยาว เช่น โรคติดเชื้อเรื้อรัง และโรคไร้เชื้อ • ระยะเวลาที่ผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษา • มีผู้ป่วยใหม่เพิ่มขึ้น • มีการผู้ป่วยเคลื่อนย้ายเข้ามา และผู้ไม่ป่วยเคลื่อนย้ายออก จากพื้นที่ • มีการรายงานโรคที่ครบถ้วย ครอบคลุมขึ้น

  15. ลด • โรคที่มีระยะการเกิดโรคสั้นหรือโรคติดเชื้อเฉียบพลัน • ผู้ป่วยใหม่ลดลง • ผู้ป่วยย้ายออก ผู้ไม่ป่วยย้ายเข้า • มีการรักษาที่ดี

  16. อัตราความชุกของผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลินในกลุ่มประชากรที่เลือก ของประเทศต่างๆ ประเทศ กลุ่มประชากร (ปี) อัตราความชุก (%) ฟิจิ 20+ 13.5 อินโดนีเซีย 15+ 1.7 อิสราเอล 40-70 7.7 สหรัฐอเมริกา 20-74 6.9

  17. 1.2 อัตราตาย (Mortality Rate) • 1.2.1 อัตราตายอย่างหยาบ • เป็นการวัดทุกสาเหตุการตายของชุมชนในทุกกลุ่มอายุ • บ่งถึงสภาวะอนามัยของชุมชน • บอดถึงสภาวะเศรษฐกิจและสังคม และการครองชีพ • ใช้เปรียบเทียบระหว่างประเทศ • สูตรทั่วไป

  18. 1.2.2 อัตราตายเฉพาะ ( Specific death rate) • บอกคุณภาพการบริการทางการแพทย์ • บอกลักษณะเฉพาะของโรค • Age -Specific Death Rate • Sex -Specific Death Rate • Cause -Specific Death Rate

  19. 1.3 อัตราผู้ป่วยตาย (case fatarity rate ,death of case ratio) • สูตร • ความสำคัญ • บอกความรุนแรงของโรค • บอกคุณภาพการบริการทางการแพทย์

  20. อัตราส่วน (Ratio) • เป็นการเปรียบเทียบตัวเลข ตั้งแต่ 2 ตัวขี้นไป ไม่จำเป็นที่ตัวเศษต้องเป็นส่วนหนึ่งของส่วน ปกติมักใช้ตัวที่มีค่าน้อยที่สุดเป็นตัวหารเพื่อให้ได้ค่าเปรียบเทียบออกมาเป็น 1ต่อ , 1 : • การอ่านค่า อ่านเป็นเท่า

  21. ตัวอย่าง • อัตราส่วนผู้ป่วยเอดส์สะสม เขต13 ชาย:หญิง = 1:2

  22. สัดส่วน(Proportion) • บอกร้อยละของการกระจายทั้งหมด • ใช้เมื่อไม่สามารถคำนวณหาอัตราได้ • ผลรวมของเหตุการณ์ทั้งหมดเท่ากับ 1 หรือนิยมทำเป็นร้อยละ

  23. ตัวอย่าง Rate = 13/150 =0.09 =9 % Rate = 8/50 = 0.16 16 %

  24. อายุ (ปี) >=50 < 25-49 < 25

  25. ตัวอย่าง การใช้อัตราป่วยในการสอบสวนโรค • อัตราป่วย (attact rate)จำแนกตามชนิดของอาหาร อาหาร กลุ่มผู้ป่วย(n=80) กลุ่มเปรียบเทียบ(n=80) หอยแครงลวก 100% (80) 24% (19) ทะเลเดือด 88% (70) 62% (50) ยำทะเล 75% (60) 72% (58) โค้ก 20% (16) 20% (16)

  26. ตัวอย่างการใช้อัตราป่วยในการสอบสวนโรคตัวอย่างการใช้อัตราป่วยในการสอบสวนโรค อัตราป่วย (ร้อยละ)จำแนกตามชั้นเรียน ชั้นเรียน อัตราป่วย(n) ป 4. 100% (40/40) ป 3. 93.8% (75/80) ป 2. 83.3% (50/60) ป1 26.6% (16/60)

  27. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง : เป็นค่าตัวแทนของข้อมูล 1 ชุด ค่าเฉลี่ยของข้อมูลทุกหน่วยจากข้อมูลทั้งหมด • Means • Mode • Median ค่าข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด ค่าข้อมูลที่มีตำแหน่งอยู่ตรงกลาง **สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณ

  28. อาการและอาการแสดง ร้อยละของผู้ป่วย

  29. สถิติเชิงอนุมานและการทดสอบสถิติเชิงอนุมานและการทดสอบ

  30. การศึกษาที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่งการศึกษาที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง Cross-sectional descriptive study การศึกษาย้อนหลัง Retrospective descriptive study การศึกษาไปข้างหน้า Prospective descriptive study อดีต อนาคต รูปแบบการศึกษา ปัจจุบัน

  31. อัตราอุบัติการณ์ อัตราความชุก ประ ชากร ขนาดของปัญหา ตัว อย่าง การกระจาย บุคคล สถานที่ เวลา จำนวน ร้อยละ อัตรา ค่าเฉลี่ย(SD) ค่ามัธยฐาน(min,max)

  32. ทดสอบเปรียบเทียบ ตัว อย่าง 1 1.ความแตกต่าง ค่าเฉลี่ย สัดส่วน ประ ชากร นำเสนอ -ค่าที่แตกต่าง,ขนาดความสัมพันธ์ -ประมาณค่าที่ 95 %CI -p-value ตัว อย่าง 2 2.หาค่าความสัมพันธ์ ขนาดความสัมพันธ์ ทดสอบความสัมพันธ์ทางสถิติ

  33. RR=a/a+b .......... c/c+d 2 x 2 tables OR=ad/bc ....

  34. การอ่านค่า RR และ OR • < 1 ; <=0 RR,OR < 1 เป็นปัจจัยป้องกันมากกว่าปัจจัยเสี่ยง นั้นคือ กลุ่มได้รับปัจจัยป่วยน้อยกว่ากลุ่มไม่ได้รับปัจจัย • =1 ไม่มีความสัมพันธ์เนื่องจากกลุ่มที่ได้รับปัจจัยกลับไม่ได้รับปัจจัยมีโอกาสป่วยเท่ากัน • >1 มีความสัมพันธ์ กลุ่มที่ได้รับปัจจัยมีโอกาสป่วยมากกว่ากลุ่มไม่ได้รับปัจจัย เป็น…….เท่า

  35. ปัจจัยที่ทำการ จำนวน อัตราป่วย OR/RR 95 %CI p- ทดสอบ ตัว ( ร้อยละ) lower upper value อย่าง n ) 1.------------ กลุ่มผู้ป่วย กลุ่มควบคุม การนำเสนอผลการศึกษา

  36. การตรวจสอบข้อมูล การทดสอบ - เปรียบเทียบ - ความสัมพันธ์ การประมาณค่า -แบบจุด -แบบช่วง continuous x s2 r b p categories คำถาม การวิจัย การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การ วัด การ กระจาย sampling อัตรา อัตราส่วน สัดส่วน + สถิติพรรณนา สมมติฐาน ตัวอย่าง สถิติอนุมาน พารา เมตริกซ์ ค่าสถิติ ทฤษฎี ความน่าจะเป็น นอนพารา เมตริกซ์ พารามิเตอร์ ประชากร m s2 r b p

  37. ที่มา :บัณฑิต ถิ่นคำรพ. คู่มือปฏิบัติการชีวสถิติ.พิมพ์ครั้งที่ 2. โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา;ขอนแก่น .2543.หน้า 13

  38. การนำเสนอข้อมูล

  39. SOME IMPORTANT VARIABLES WHAT & HOW MUCH TIME WHEN ? PLACE WHERE ? PERSON WHO ?

  40. การนำเสนอข้อมูล • ไม่มีแบบแผน (Informal Presentation) • . บทความ(Textual Presentation) • . บทความกึ่งตาราง • - มีแบบแผน • . ตาราง • . กราฟ • . แผนภูมิ , แผนที่

  41. การนำเสนอข้อมูล • ไม่มีแบบแผน (Informal Presentation) • . บทความ(Textual Presentation) • . บทความกึ่งตาราง • - มีแบบแผน • . ตาราง • . กราฟ • . แผนภูมิ , แผนที่ • ชนิดของตาราง • ตารางลักษณะเดียว (One way table) • ตารางสองลักษณะ (Two way table) • ตารางซับซ้อน (Complex table)

  42. ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลประเภทบทความตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลประเภทบทความ (Textual Presentation) “ จากรายงานผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงอย่างแรงรายสัปดาห์ ที่ศูนย์ระบาดวิทยาภาคเหนือได้รับจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดต่าง ๆ ในเขตรับผิดชอบ ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค - 31 ธ.ค. 2545 พบว่ามีผู้ป่วยทั้งหมด 232 ราย เป็นผู้ป่วยชาวไทยร้อยละ 94.40 (219 ราย) เป็นผู้ป่วยต่างชาติร้อยละ 5.60 (13 ราย) แยกเป็น Passive case 160 ราย Active case 72ราย โดยผู้ป่วยรายแรกเป็นผู้ป่วยในจังหวัดเพชรบูรณ์ เริ่มป่วยเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2545 ผู้ป่วยรายสุดท้ายเป็นผู้ป่วยในจังหวัดลำปางเริ่มป่วยเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2545”

  43. ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลประเภทบทความกึ่งตารางตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลประเภทบทความกึ่งตาราง (Semi-tabular Presentation) ตั้งแต่ปี 2527 จนถึง 31 สิงหาคม 2547 เขต 1 มีรายงานผู้ป่วยเอดส์สะสม รวมทั้งสิ้น 83,719 ราย ตาย 31,506 ราย โดยมีรายงานผู้ป่วยจำแนกตามจังหวัดต่าง ๆ ดังนี้

  44. ระดับน้ำตาล (mg%) ตารางแสดงการแจกแจงความถี่ของระดับน้ำตาลในเลือดเด็กจำนวน 100 คน ความถี่ ความถี่สัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์สะสม 52-55 4 4 4 56-59 12 12 16 60-63 16 16 32 64-67 27 27 59 68-71 13 13 72 72-75 19 19 91 76-79 44 95 80-83 5 5100 รวม100 100

More Related