1 / 18

สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)

สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture). น.ท.ไพศาล โมลิสกุลมงคล. บทที่ 14 มัลติโปรเซสเซอร์ ( Multiprocessors ). โครงสร้างมัลติเพิลโปรเซสเซอร์. ระบบที่ยึดเหนี่ยวกันแบบหลวม. ระบบประกอบด้วยจำนวนคอมพิวเตอร์ที่มีความเป็นอิสระ และแยกห่างจากกัน

bela
Télécharger la présentation

สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture) น.ท.ไพศาล โมลิสกุลมงคล

  2. บทที่ 14มัลติโปรเซสเซอร์(Multiprocessors)

  3. โครงสร้างมัลติเพิลโปรเซสเซอร์โครงสร้างมัลติเพิลโปรเซสเซอร์

  4. ระบบที่ยึดเหนี่ยวกันแบบหลวมระบบที่ยึดเหนี่ยวกันแบบหลวม • ระบบประกอบด้วยจำนวนคอมพิวเตอร์ที่มีความเป็นอิสระ และแยกห่างจากกัน • การติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบติดต่อกันด้วยอินเทอร์เฟซ (Interface) ที่ใช้โปรโตคอล (Protocol) เดียวกัน • การติดต่อสื่อสารคอมพิวเตอร์ในระบบส่วนใหญ่เป็นแบบอนุกรมที่มีความเร็วสูง • การติดต่อกันระหว่างคอมพิวเตอร์สามารถทำได้อย่างทั่วถึงทำให้ผู้ใช้จากสถานที่ต่าง ๆ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวก

  5. ระบบที่ยึดเหนี่ยวกันแบบปานกลางระบบที่ยึดเหนี่ยวกันแบบปานกลาง • ระบบเฉพาะกิจที่ออกแบบสำหรับแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง • ตัวอย่างที่ชัดเจนคือระบบมัลติเพิลโปรเซสเซอร์ (Multiple Processor) • เป็นตัวอย่างของระบบคอมพิวเตอร์แบบกระจาย (Distributed Computer System) • ช่วยให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม • ลดค่าใช้จ่ายในการสื่อสารข้อมูล • ลดค่าใช้จ่ายรวมของทั้งระบบ • ความน่าเชื่อถือของระบบจะดีขึ้น เนื่องจากเมื่อโปรเซสเซอร์ตัวใดตัวหนึ่งเสีย ระบบยังคงสามารถทำงานต่อได้

  6. ระบบที่ยึดเหนี่ยวกันอย่างเหนียวแน่นระบบที่ยึดเหนี่ยวกันอย่างเหนียวแน่น • โปรเซสเซอร์ทุกตัวสามารถเข้าถึงหน่วยความจำหลักหรือหน่วยความจำร่วม (Share Memory) ได้ • โปรเซสเซอร์แต่ละตัวอาจจะมีหน่วยความจำส่วนตัวได้ • โปรเซสเซอร์แต่ละตัวใช้ระบบปฏิบัติการร่วมกัน • โปรเซสเซอร์แต่ละตัวใช้ทรัพยากรอื่น ๆ ร่วมกัน เช่น อินพุต/เอาต์พุต และตัวควบคุม (Controller) • โปรแกรมและข้อมูลต่าง ๆ จะถูกเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลักที่เป็น โกลบอล (Global Memory) • โปรเซสเซอร์อยู่ใกล้กันมาก และสามารถใช้บัสแบบขนานร่วมกันได้ • โปรเซสเซอร์แต่ละตัวสามารถทำงานร่วมกัน หรือสลับภาระงานกันได้

  7. องค์ประกอบพื้นฐานสำหรับระบบมัลติโปรเซสเซอร์องค์ประกอบพื้นฐานสำหรับระบบมัลติโปรเซสเซอร์ • ส่วนที่ทำการประมวลผล(Processing Element : PE) • ส่วนที่เป็นสวิตช์(Switch) • ส่วนเส้นทางเชื่อม(Interconnection Path)

  8. รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์ • รูปแบบบัสร่วม (Common Bus)

  9. รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์ • รูปแบบหน่วยความจำที่มีหลายพอร์ต (Multiport Memory)

  10. รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์ • รูปแบบการเชื่อมต่อผ่านอินพุต/เอาต์พุต (Connect through I/O)

  11. รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์ • รูปแบบบัสวินโดว์ (Bus Window)

  12. รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ที่ใช้ DMA

  13. รูปแบบการประมวลผล

  14. รูปแบบการประมวลผล • คำสั่งเดี่ยวข้อมูลเดี่ยว (Single Instruction Single Data : SISD)

  15. รูปแบบการประมวลผล • คำสั่งเดี่ยวหลายชุดข้อมูล (Single Instruction Multiple Data : SIMD)

  16. รูปแบบการประมวลผล • หลายชุดคำสั่งข้อมูลเดี่ยว (Multiple Instruction Single Data : MISD)

  17. รูปแบบการประมวลผล • หลายชุดคำสั่งหลายชุดข้อมูล (Multiple Instruction Multiple Data :MIMD)

  18. ตัวอย่างมัลติโปรเซสเซอร์ตัวอย่างมัลติโปรเซสเซอร์

More Related