1 / 48

เครือข่ายข้อมูลและสารสนเทศ

เครือข่ายข้อมูลและสารสนเทศ. อินเตอร์เน็ต(INTERNET).

beth
Télécharger la présentation

เครือข่ายข้อมูลและสารสนเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เครือข่ายข้อมูลและสารสนเทศเครือข่ายข้อมูลและสารสนเทศ

  2. อินเตอร์เน็ต(INTERNET) เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ต่างๆหลากหลายเครือข่ายในโลกนี้เข้าด้วยกันก่อให้เกิดการแลกแปลี่ยนข้อมูล การสื่อสารที่เป็นประโยชน์อย่างมหาศาล อินเตอร์เน็ตจึงกลายเป็นสังคมขนาดใหญ่ที่เกิดขึ้นในโลกคอมพิวเตอร์โดยถูกขนานนามว่า “ไซเบอร์สเปซ”(Cyberspace)

  3. พ.ศ.2512 มีการนำคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกัน มีชื่อเรียกสมัยนั้นว่า “อาร์พาเน็ต”(ARPAnet Research Projects Agency Network)เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์จำนวนมากเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน และการสื่อสารที่เป็นประโยชน์อย่างมหาศาลองค์กรทางทหาร และมหาวิทยาลัยนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกับเครือข่ายเป็นจำนวนมาก การขยายตัวของเครือข่ายนั้น ถีบตัวสูงขึ้น เมื่อองค์กรเอกชน และบริษัทต่างๆ นำเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาเชื่อม

  4. ต่อด้วย จนกลายเป็นระบบอินเตอร์เน็ตในปัจจุบัน ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญที่สุดต่อการกำเนิดและได้รับคำยกย่องว่าเป็น”บิดาแห่งอินเตอร์เน็ต”ก็คือดร.เลียวนาด คลายอินร็อก(Dr.Leonard Kleinrock)ศาสตราจารย์ทางด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยแห่งแห่งรัฐแคลิฟอร์เนีย ณ นครลอสแอนเจอรีส (University of California,Los Angeles :UCLA)ซึ่งเป็นผู้ได้รับมอบหมายจากARPAให้ทำการวิจัยเพื่อสร้างARPANET

  5. สำเร็จในช่วงเดือนตุลาคม ค.ศ.1969 ในประเทศไทยนั้นเริ่มมีการเชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในปีพ.ศ.2530 โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(วิทยาเขตหาดใหญ่) เป็นจุดแรก ปีพ.ศ.2535 จุฬาลงกรมหาวิทยาลัยได้มีการเชื่อมต่อกับเครือข่าย UUNET ของบริษัทเอกชนสหรัฐอเมริกา ต่อมาเอกชนหลายแห่งได้มีการขอต่อเชื่อมระบบนี้และเรียกชื่อเครือข่ายนี้ว่า ไทยเนต ศูนย์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ NECTEC ได้จัดเครือข่ายขึ้นมีชื่อเรียกว่า

  6. ไทยสาร ประกอบด้วยมหาวิทยาหลายแห่งได้เชื่อมต่อกับUUNET ทีซีไอพี ภาษากลางบนอินเตอร์เน็ต การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทั่วโลกที่ต่างรุ่น ต่างแบบกัน จะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้จะต้องอาศัยภาษากลางมีชื่อเรียกว่า “โปรโตคอล”(Protocol)โปรโตคอลมาตราฐานที่ใช้ในการสื่อสารบนอินเตอร์เน็ตมีชื่อเรียกว่า “ทีซีพีไอพี”(TCP/IP:Transmission Controcol /

  7. /Internet Protocol) TCP/IPจะแบ่งข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะส่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งนั้นออกเป็นส่วนย่อยๆเรียกว่า “แพ็คเก็ต”(Packet)โดยในระบบจะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า”เราเตอร์”(Router) เป็นตัวที่จัดหาเส้นทางที่ดีที่สุดทุกแพ็คเก็ต แพ็คเก็ตในแต่ละเส้นทางจะไปรวมกันที่จุดหมายปลายทางเดียวกัน และถูกนำมารวมกันเป็นข้อมูลที่สมบูรณ์อีกครั้ง

  8. หมายเลขอินเตอร์เน็ต IP address เป็นหมายเลขประจำตัวเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องซึ่งจะไม่ซ้ำกันกับเครื่องอื่นในโลกโดยประกอบด้วย ตัวเลข 4 ชุดเรียงกัน มีเครื่องหมายจุด(.)เป็นตัวคั่นตัวเลขแต่ละชุด ซึ่งแต่ละชุดจะมีค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 255 หน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแลเรื่องนี้และคอยจัดสรร IP address หน่วยงานนี้มีชื่อว่า InterNIC (Internet Network Information Center)

  9. ชื่อโดเมน • ชื่อโดเมน เป็นการนำตัวอักษรมาใช้แทน • IP address ที่เป็นตัวเลขเพื่อสะดวกในการจดจำ • โดยมีการจัดตั้งคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่นี้โดยเฉพาะ • มีชื่อเรียกว่า DNS (Domain Name Server)ชื่อโดเมน • นิยมตังให้สอดคล้องกับชื่อของบริษัทหรือองค์กรที่ • เป็นเจ้าของ

  10. ชื่อโดเมนจะแบ่งออกเป็น 3ส่วนใหญ่ ๆ ซึ่งจะ ให้ข้อมูลว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นอยู่ที่ไหนแต่ละส่วนจะแยกกันด้วยจุด riy ส่วนนี้หหหแสดงชื่อองค์กร ac ส่วนนี้แสดงประเภทขององค์กร riy.ac.th th ส่วนนี้แสดงที่ตั้งทางภูมิศาสตร์หรือ ชื่อประเทศ

  11. Com : Comercialnet : network servicegov :governmentalmil : militaryedu: Educationalor : other oganizationac : Academic

  12. การเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ตการเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต 1.การเชื่อมต่อโดยตรง การเชื่อมต่อแบบนี้ จะเป็นการนำระบบเข้าเชื่อม โดยตรงกับสายหลัก (Back Bone)ของอินเตอร์เน็ต โดย ผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า “เก็ตเวย์”(gateway) หรือ “เราท์เตอร์”(route) ร่วมกับสายสัญญาณความเร็วสูงต้องติดต่อ โดยตรงกับอินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา

  13. 2. การเชื่อมต่อผ่านผู้ให้บริการ ผู้ให้บริการเชื่อมต่อเข้าระบบอินเตอร์เน็ต (internet Service Provider) “ไอเอสพี”(ISP)เป็น องค์กร ๆ หนึ่ง ที่ทำการติดตั้งและดูแลเครื่องให้ บริการ(Server)ที่ต่อตรงกับระบบอินเตอร์เน็ตซึ่งอนุญาตให้ผู้ที่สมัครเป็นสมาชิกขององค์กร นำระบบของตนเข้ามาเชื่อมต่อได้

  14. 2.1 การเชื่อมต่อแบบองค์กร(Corporate User Provider) 2.2 การเชื่อมต่อส่วนบุคคล(Individual User Services) ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต ด้านธุรกิจ-การค้า ช่วยให้ติดต่อธุรกิจ เช่นการซื้อขายสิน ค้า เป็นไปด้วยความสะดวกและรวดเร็ว E-Commerce (Electronic commerce) ด้านการศึกษา ช่วยให้การค้นหาข้อมูลทางวิชาการได้ทุก สาขาวิชา จากแหล่งหอสมุดของมหาวิทยาลัยโลก

  15. การติดต่อสื่อสาร • ช่วยให้เราสามารถรับส่งข่าวสารได้รวดเร็วทันใจมีการใช้ E-mail(Electronic mail) • ด้านความบันเทิง • เราสามารถฟังรายการสด ดูหนัง ฟังเพลง อ่านหนังสือพิมพ์หรือวารสารต่างๆผ่านระบบ Internetได้

  16. อันตรายจากอินเตอร์เน็ตอันตรายจากอินเตอร์เน็ต 1.ทำให้คนบางกลุ่มใช้ระบบอินเตอร์เน็ต ในการจารกรรมข้อมูลของผู้อื่น 2.ใช้อินเตอร์เน็ตในทางที่ผิด 3.ใช้ละเมิดสิทธิของผู้อื่น

  17. อินทราเน็ต(Intranet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานภายในองค์กรนั้น ๆ โดยนำเอาคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่มาทำการเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลภายในองค์กร เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน เดิมของอินเตอร์เน็ตนั้น ยังเป็นเครือข่ายที่ไม่ค่อยจะปลอดภัยนักจึงได้มีการคิดค้นวิธีการชำระเงินผ่านอินเตอร์เน็ตโดยปลอดภัยมากขึ้นมาหลายวิธีเช่นกัน แต่วิธีที่นิยมใช้มากวิธีหนึ่งก็คือ การใช้ Secure Electronic Transaction protocol

  18. อินทราเน็ตใช้เครือข่ายและเทคโนโลยี TCP/IP และเครื่องมือตลอดจนการบริหารต่าง ๆ ของอินเตอร์เน็ต อินทราเน็ตจะถูกแยกออกจากระบบอินเตอร์เน็ตด้วย Fire Wall ซึ่งเป็นส่วนผสมระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์สำหรับป้องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาติเข้าสู่ระบบอินทราเน็ต

  19. - อินทราเน็ตนั้น จะมีซอฟต์แวร์ต่างๆที่หาได้ในท้องตลาดทั่วไป เช่น Web Browser - ส่วนประกอบสำคัญของอินทราเน็ต คือ ระบบอีเมล์ ซึ่งจะมีการเหมือนกับอีเมล์ของอินเตอร์เน็ตจะออกแบบมาเพื่อส่งข้อมูลภายในองค์กรเท่านั้น

  20. - อินทราเน็ต จะทำให้คนสามารถทำงานร่วมกันทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้ - อินทราเน็ตทำให้พนักงานเข้าร่วมประทางวีดีโอเป็นประจำได้ ซึ่งจะทำให้สามารถประชุมกับพนักงานในส่วนอื่นๆของประเทศของโลกก็ได้โดยจะเห็นภาพ

  21. - องค์สามารถที่จะให้บริการลูกค้าที่ต้องการซื้อสินค้าหรือบริการผ่านทางอินเตอร์เน็ตได้โดยเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตเข้ากับระบบการขายของบริษัทซึ่งเป็นอินทราเน็ต

  22. ประโยชน์ของอินทราเน็ตสำหรับองค์กรมีดังนี้ประโยชน์ของอินทราเน็ตสำหรับองค์กรมีดังนี้ 1. สามารถเผยแพร่เอกสารที่ต้องการสื่อสารให้ พนักงานทราบผ่านอินทราเน็ต 2. ลดช่องว่างในการประสานงานระหว่างพนักงาน 3. สามารถเพิ่มต่อระบบอินทราเน็ตกับฐานข้อมูล 4. ลดเวลาในการเรียนรู้ เพราะพนักงานเป็นอยู่

  23. การใช้งานอินเตอร์เน็ต และอินทราเน็ต บริการอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต มีบริการต่างๆ หลายรูปแบบแต่ก็พอแยกประเภทออกได้ดังนี้ - บริการข้อมูลมัลติมีเดีย ได้แก่ บริการ World Wide Web (WWW) - บริการโอนย้ายข้อมูล ได้แก่ บริการ FTP

  24. - บริการค้นข้อข่าวสาร ได้แก่ WAIS, Archie, veronica และ Gopher - บริการติดต่อข่าวสาร ได้แก่ บริการ Telnet - บริการด้านรับส่งข่าวสาร ได้แก่ บริการ E-mail, IRC, และ UseNet - บริการด้านนำเสนอข่าวสารและความคิดเห็น ได้แก่ บริการ UseNet

  25. แนะนำการใช้บริการข้อมูลมัลติมีเดียแนะนำการใช้บริการข้อมูลมัลติมีเดีย บริการ Web Sever หรือบางทีเราเรียกว่า WWW ผู้ที่จัดทำWeb Server ก็คือ ผู้ที่ดูแลระบบอินเตอร์เน็ต สำหรับ Web Server นั้น Web Server ก็หมายความถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่เราเรียกกันว่า “เว็บไซต์”(Web Site)

  26. ระบบเครือข่ายยูสเน็ต (USENET) เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกัน ด้วยระบบบีบีเอส ( BBS : Bulletin Board System ) เป็นการสื่อสารในเรื่องข่าวสารเป็นหลักโดยมีชื่อเรียกว่า “ กลุ่มข่าวสาร” (Newsgroups) โดยมีแหล่งส่งข่าวซึ่งเรียกว่า “ ยูสเน็ตเซิร์ฟเวอร์”

  27. ระบบ อารซีย์(Archie)ระบบฐานข้อมูล(Gopher)ระบบสืบค้นเวส์(Wais)Wid Area Information Servers

  28. การใช้บริการมัลติมีเดียการใช้บริการมัลติมีเดีย Browser เช่น Internet Explorer ,Netscape Mosaic

  29. การติดต่อสื่อสารและการส่งข้อมูลด้วยอีเมล์การติดต่อสื่อสารและการส่งข้อมูลด้วยอีเมล์ อิเล็กทรอนิกส์เมล์ (Eleotronic mail) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า “อีเมล์” (E-mail) เป็นสิ่งที่มีการใช้งานกันมากที่สุดบนระบบอินเตอร์เน็ต วิธีการใช้อีเมล์อย่างหนึ่งคือ Mailing list หรือรายชื่อผู้รับเมล์จะเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงกลุ่มคน

  30. การติดต่อสื่อสารและการส่งข้อมูลด้วยอีเมล์การติดต่อสื่อสารและการส่งข้อมูลด้วยอีเมล์ • ข้อมูลของอีเมล์จะถูกส่งด้วยวิธีการเดียวกับข้อมูลของอินเตอร์เน็ต อีเมล์ยังสามารถแนบ (Attach) ไฟล์แบบไบนารี (Binary File) เช่น ไฟล์รูปภาพ ไฟล์วีดิโอ ไฟล์เสียง และไฟล์เก็บโปรแกรมหรือเอ็กซีคิวไฟล์ (Execute file) ไปกับอีเมล์

  31. โครงสร้างของอีเมล์ อีเมล์แต่ละฉบับจะประกอบขึ้นด้วยข้อมูล ซึ่งโดยปกติจะอยู่ในรูปของรหัส ASCII เป็นมาตรฐานเดียวกันทำให้คอมพิวเตอร์อ่านข้อความโดยไม่ต้องขึ้นกับประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการหรือฮาร์ดแวร์ใด ๆ รหัส ASCLL จะถูกเปลี่ยนเป็นตัวอักษรอย่างที่เราเห็นบนจอภาพ

  32. โครงสร้างของอีเมล์ ตัวอย่าง เข้าเว็บไซต์ที่ให้บริการ E-mail ฟรี เช่น www.hotmail.com, www.bangkok.com,www.siammail.com,www.thai.com เป็นต้น

  33. อีเมล์ทำงานอย่างไร • เมื่อส่งอีเมล์ฉบับหนึ่งออกไป มันจะถูกส่งไปเป็นสายของแพ็กเก็ตโดใช้โปรโตคอล TCP/IP • เราท์เตอร์ (Router) จะค้นหาที่อยู่ปลายทางของแต่ละแพ็คเก็ต • เมื่อแพ็กเก็ตนั้นมาถึงปลายทางมันจะถูกประกอบขึ้นเป็นอีเมล์ทั้งฉบับที่ผู้รับอ่านได้

  34. การใช้เมล์ลิ้งลิส เราสามารถส่งจดหมายฉบับเดียวไปยังคนทั้งกลุ่มได้ • เราสามารถเข้าไปยังอินเตอร์เน็ตหลาย ๆ อย่าง เช่น FTP Server ผ่านทางอีเมล์ • เราสามารถใช้อินเตอร์เน็ตเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนอีเมล์ระหว่างผู้ใช้บริการออนไลน์

  35. การติดต่อสื่อสารและการส่งข้อมูลด้วยเอฟทีพีการติดต่อสื่อสารและการส่งข้อมูลด้วยเอฟทีพี “การดาวน์โหลด” (Down Load) หรือการโอนย้ายไฟล์จากอินเตอร์เน็ตมายังคอมพิวเตอร์ของเราไฟล์เหล่านี้มีหลายประเภท ซึ่งมักจะทำโดยการใช้ File transfer protocol หรือเรียนสั้นๆว่า เอฟทีพี (FTP) นอกจากนี้ FTP ยังใช้ใน “การอัพโหลด” (Up Load) ไฟล์จากคอมพิวเตอร์ของเราไปยังเครื่องอื่นบนอินเตอร์เน็ตได้

  36. FTP ก็เหมือนบริการอื่น ๆ บนอินเตอร์เน็ตที่ทำงานในรูปแบบ Client/Server โดยเราจะต้องรับซอฟต์แวร์ FTP Client เพื่อทำการติดต่อกับ FTP Server จะต้องมีโปรแกรมที่เรียกว่า FTP Deamon ซึ่งทำให้เราดาวน์โหลดหรืออัพโหลดไฟล์ได้

  37. เมื่อ World Wide Wed เป็นที่นิยมกันมาก การดาวน์โหลดไฟล์ก็ยิ่งใช้ง่ายตามไปด้วย เราสามารถคลิกลิงค์ที่ชี้ไปยังที่ต้องการได้โดยตรง World Wide Wed ก็จะทำการดาวน์โหลดไฟล์มาให้ทันที

  38. FTP ทำงานอย่างไร • FTP ทำงานในรูปแบบ Client/Server ต้องมีซอฟต์แวร์ที่เป็น Client ซึ่งรันอยู่บนคอมพิวเตอร์ของเรา การทำ FTP แต่ละครั้ง(หรือเรียก FTP Session ) จะเริ่มโดยการรันซอฟต์แวร์FTP client เพื่อติดต่อเข้าไปยัง FTP Server

  39. โปรแกรม FTP Server ที่เรียกว่า FTP Deamon จะเป็นตัวที่ทำการโอนย้ายไฟล์ทั้งหมด • เมื่อเราล็อกอินเข้าไปยัง FTP Server การเชื่อมต่อแบบนี้เรียกว่า Command Link จะถูกเปิดขึ้นระหว่างคอมพิวเตอร์ของเรา และ Server • เมื่อเราสั่งคำสั่งเพื่อดาวน์โหลดไฟล์ การเชื่อมต่อชุดที่สองจะเริ่มเปิดขึ้น ซึ่งเป็นแบบนี้ที่เรียกว่า Data Connection หรือ Data Link

  40. การเชื่อมต่อแบบนี้จะถูกเปิดขึ้นเป็นแบบใดแบบหนึ่งในสองโหมด คือ โหมดแอสกี (ASCII) และโหมดไบนารี(Binary) ไฟล์จะถูกดาวน์โหลดจากเซิร์ฟเวอร์ไปยังคอมพิวเตอร์ของเราโดยผ่าน Data Connection • เมื่อดาวน์โหลดไฟล์เสร็จ และ Data Connection ถูกปิดลงแล้ว ก็จะเหลือแต่ Command Link ที่ยังเปิดอยู่ การออกจากระบบ หรือ Log off ซึ่ง Command Link ก็จะปิดลง

  41. เทคนิคการค้นในเครื่องสืบค้นเทคนิคการค้นในเครื่องสืบค้น • 1. การใช้อักษรตัวเล็ก (Lower Case) หรือตัวใหญ่ (Upper Case) ให้ผลการค้นไม่แตกต่างกัน • 2. เชื่อมคำด้วยเครื่องหมาย OR ซึ่งจะให้ผลการค้นมีจำนวนมากมายเกิน • 3. การเชื่อมคำสำคัญตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป AND +ทำให้มีคำทุกคำที่กำหนดออกมา

  42. 4. ตัวเชื่อม NOT หรือใช้เครื่องหมาย-เชื่อมระหว่างคำจะทำให้มีคำสำคัญปรากฎอยู่ก่อนเครื่องหมาย-แต่ไม่มีความสำคัญที่อยู่หลังเครื่องหมาย-ออกมา

  43. 5. ใช้เครื่องหมายคำพูด (Quotation) คร่อม คำสำคัญ หากคำสำคัญนั้นเป็นคำผสม 6. ใช้ตัวอักษร t และเครื่องหมาย : นำหน้าคำสำคัญ 7. เทคนิคต่าง ๆ เหล่านี้สามารถใช้ผสมกันได้

  44. การเลือกใช้สารสนเทศทางวิชาการในอินเทอร์เน็ตการเลือกใช้สารสนเทศทางวิชาการในอินเทอร์เน็ต 1. เลือกใช้สารสนเทศจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ - เป็นองค์กรที่มีตัวตนจริงสามารถตรวจสอบได้ - ไม่มีการเปลี่ยนรหัสยูอาร์แอล หรือ DNS บ่อยๆ - มีการเผยแพร่หัสยูอาร์แอล หรือ DNS อย่างเปิด เผย

  45. -เป็นแหล่งทที่อยู่ในการควบคุมของ องค์กรของรัฐ 2. ใช้สารสนเทศทางวิชาการที่เขียนเผย แพร่โดยผู้ทรงคุณวุฒิและมีความน่า เชื่อถือในสาขาวิชานั้น ๆ

  46. 3. สารสนเทศทางวิชาการนั้นควรมีการอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของเนื้อหา 4. สารสนเทศที่ได้จากบางบริการมีคุณค่าชั่วระยะเวลาหนึ่ง 5. สารสนเทศที่ได้จากเนื้อหาใน e-mailไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้

  47. 6. ใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยง (Link) ในการบริการแบบ WWW

  48. จบ

More Related