380 likes | 627 Vues
ประเด็นที่เสนอเพื่อพิจารณา. 1. กรมฯเสนอตัวเข้ารับการประเมินผลงานปี 2551 ต่อกพร.เพื่อชิงรางวัล ( ดูผลการประเมินปี 2550 เพื่อทราบสถานการณ์ทั้ง 7 หมวดของ PMQA)
E N D
ประเด็นที่เสนอเพื่อพิจารณาประเด็นที่เสนอเพื่อพิจารณา • 1.กรมฯเสนอตัวเข้ารับการประเมินผลงานปี2551ต่อกพร.เพื่อชิงรางวัล (ดูผลการประเมินปี2550เพื่อทราบสถานการณ์ทั้ง7หมวดของPMQA) 2.การกำหนดทิศทางและประเด็นเน้นหนักของกลยุทธระดับกรมและการจัดสรรงบประมาณที่สอดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการระดับกรม(SDA)และกระทรวง(PSA)
คณะแพทย์-นักวิชาการกรม&กทม.ไปศึกษาดูงานระบบการเตรียมพร้อมภาวะฉุกเฉิน(สิงหาคม2550)คณะแพทย์-นักวิชาการกรม&กทม.ไปศึกษาดูงานระบบการเตรียมพร้อมภาวะฉุกเฉิน(สิงหาคม2550)
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสาธารณะ ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ • การกำหนด วิสัยทัศน์ ค่านิยม ทิศทาง ผลการ ดำเนินการที่คาดหวัง และการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ • การสร้างบรรยากาศการให้อำนาจตัดสินใจ นวัตกรรมและความคล่องตัว • การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม • การวัดและการตรวจติดตาม การมีจริยธรรม องค์กร • ความโปร่งใสตรวจสอบได้ • ความรับผิดชอบ • การปกป้อง ผลประโยชน์ ของประเทศชาติ • การทบทวน ผลการดำเนินการ • การนำผลมาปรับปรุงส่วนราชการ • การดำเนินการกรณีที่การปฏิบัติงานมีผลกระทบ ต่อสังคม • การดำเนินการต่อความกังวลของสาธารณะ • การสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ ชุมชนที่สำคัญ
สรุปภาพรวมผลตัวชี้วัด Department Scorecard : DSC ของกรมควบคุมโรค ในรอบ 9 เดือน (ตุลาคม 2549-มิถุนายน 2550)
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดด้านประสิทธิผลของกรมควบคุมโรคมีสถานะในภาพรวม เป็นสีแดง โดยจำแนกตัวชี้วัดเป็น สีเขียว :13 ตัวชี้วัด (29.5%) ประกอบด้วยตัวชี้วัดระดับกระทรวง 3 ตัวชี้วัด (6.8%) กลุ่มภารกิจฯ 1 ตัวชี้วัด (2.3%) ระดับกรมควบคุมโรค 9 ตัวชี้วัด (20.5%) สีเหลือง :2 ตัวชี้วัด (4.5%) เป็นตัวชี้วัดระดับกรมควบคุมโรคทั้ง 2 ตัว สีแดง :29 ตัวชี้วัด (65.9%) เป็นตัวชี้วัดระดับกระทรวงฯ 4 ตัวชี้วัด (9.1%) ระดับกลุ่มภารกิจฯ 5 ตัวชี้วัด (11.4%) ตัวชี้วัดระดับกรมฯ 20 ตัวชี้วัด (45.5%) เมื่อพิจารณาผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่มีสถานะเป็นสีแดงจะอยู่ในระหว่างการดำเนินงาน การจัดเก็บข้อมูล เปรียบเทียบสถานะ/จำนวนตัวชี้วัดจำแนกตามกลุ่ม สธ./ภารกิจสธ./กรม กลุ่มภารกิจสธ. 1 KPI (2.3%) กระทรวง 3 KPI (6.8%) กระทรวง 4 KPI (9.1%) กลุ่มภารกิจ 5 KPI (11.4%) กรม 9 KPI (20.5%) กรม 20 KPI (45.5%) กรม 2 KPI(4.5%)
แผนภูมิแสดงสถานะ KPI ตาม DSC กรมฯ ปี 2550 รอบ 9 เดือน มิติประสิทธิผล 44 KPI มิติคุณภาพ 9 KPI 13 KPI 29.5% 29 KPI 65.9% 6 KPI 66.7% 2 KPI 22.2% 2 KPI 4.5% 1 KPI 11.1% มิติการพัฒนาองค์กร 10 KPI มิติประสิทธิภาพ 7 KPI 1 KPI 14.3% 4 KPI 40% 3 KPI 42.9% 3 KPI 30% 3 KPI 42.95% 3 KPI 30%
KPI (นน.) มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล กรม คร. (DSC) ปี 50 ณ 3 ม.ค. 50
ความหมายของระดับความสอดคล้องความหมายของระดับความสอดคล้อง และท่าทีการดำเนินการในแต่ละระดับ µµµµµ = สอดคล้องทุกระดับเสนอผู้บริหารอนุมัติโครงการ µµµµ=ไม่สอดคล้อง(1.)ผลผลิตกับ(2.)ลักษณะกิจกรรมประสานผู้รับผิดชอบปรับปรุง µµµ =ไม่สอดคล้อง (1.)“ผลผลิตกับ(2.)ลักษณะกิจกรรม (3.)-วิธีการดำเนินงานกับ (4.)วัตถุประสงค์โครงการ” ประสานผู้รับผิดชอบปรับปรุงกิจกรรมและวิธีดำเนินงาน µµ= ไม่สอดคล้อง(1.)ผลผลิตกับ(2.)ลักษณะกิจกรรม(3.)วิธีการดำเนินงานกับ(4.)วัตถุประสงค์ของ โครงการ(5.)กลุ่มผู้ใช้ประโยชน์ของโครงการกับ(6)กลุ่มผู้ดำเนินการของกลุ่มภารกิจ ประสาน ผอ. พิจารณาปรับเปลี่ยนโครงการ • = ไม่สอดคล้อง(1.)ผลผลิตกับลักษณะกิจกรรม(2.) วิธีการดำเนินงานกับวัตถุประสงค์โครงการ (3.)กลุ่มผู้ใช้ประโยชน์ของโครงการกับกลุ่มผู้ดำนินการของกลุ่มภารกิจ (4.)วัตถุประสงค์ของโครงการกับเป้าประสงค์ของกลุ่มภารกิจ (หรือผลผลิต) ประสาน ผอ. พิจารณายกเลิกโครงการ ***************************************************************************************** (หมายเหตุ):โครงการที่กรมหรือสำนักโอนเงินให้ส่วนราชการอื่นเป็นผู้ดำเนินการยังไม่เคยประเมินความสอดคล้องและสถานภาพของผู้ใช้ประโยชน์
ผลการวิเคราะห์ความสอดคล้องผลการวิเคราะห์ความสอดคล้อง
กลุ่มภารกิจที่ 1 การพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ • 1.มาตรฐานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ • 2.พัฒนานโยบายระดับชาติและท้องถิ่น • 3.การใช้มาตรการทางกฎหมายป้องกัน ควบคุมโรคฯ Product • KPI • จำนวนมาตรฐานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ • ระดับความสำเร็จของการพัฒนาเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคฯ • การใช้มาตรการทางกฎหมายเพื่อการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ผลผลิตของกลุ่มภารกิจนโยบายผลผลิตของกลุ่มภารกิจนโยบาย
ตารางที่ 2 ภาพรวมระดับผลผลิต
กลุ่มภารกิจที่ 2 การพัฒนาข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ (รวม76 โครงการจาก18หน่วยงาน) • รายงานสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ(10โครงการ) • จัดตั้งศูนย์ประสานพัฒนาข่าวกรองระดับชาติ/ เขต สำรวจรวบรวมข้อมูลสถานการณ์โรคฯ(5โครงการ) • จัดทำโครงการร่วมกับหน่วยงานประเมิน Model คาดการณ์แนวโน้มในอนาคต และจัดทำ Foresight ประเมิน Technology สำคัญ(1โครงการ) • พัฒนาฐานข้อมูลสำหรับข่าวกรอง Product
โครงการฯ ปี 51 โครงการพัฒนากลไกของศูนย์ข่าวกรอง โครงการทดสอบร่างมาตรฐานข่าวกรอง โครงการจัดตั้งเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ โครงการพัฒนาบุคลากรด้านข่าวกรองระดับกลาง โครงการนำเทคโนโลยีมาใช้กับฐานข้อมูล
Product ของ กลุ่มภารกิจที่ 3 (ปี 2550) เป้าหมายผลผลิต • จัดตั้งศูนย์อำนวยการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ (12)(14.38ล้าน) • พัฒนา PHER Team ระดับสำนักฯ/สคร.(12)(3.67ล้าน) • จัดทำมาตรฐานการพัฒนาระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ (Command System)((5) (4.92ล้าน) • ซ้อมแผนรับมือในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระดับชาติ/เขต(4) • การพัฒนาองค์ความรู้ในการบริหารคลังพัสดุในภาวะฉุกเฉินฯ(0.84ล้าน)
กลุ่มภารกิจที่ 4:การสื่อสารสาธารณะ
ข้อเสนอ ปี 51 1. ดำเนินงานเรื่อง Brand ต่อเนื่อง 2. ควรปรับ product ให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยเพิ่มเติมในเรื่องดังต่อไปนี้ 2.1 การพัฒนาภาคีพันธมิตร 2.2 การสื่อสารสาธารณะในภาวะฉุกเฉิน ด้านสาธารณสุข 2.3 สร้างศักยภาพในการสื่อสาสาธารณะ และการตลาดเชิงสังคม โดยเฉพาะใน โรคและพฤติกรรมที่เป็นเป้าหมายของ กระทรวง ผลที่ได้จริง 1.ประชาชนได้รับการถ่ายทอด องค์ความรู้ 2. มีการพัฒนาคุณภาพระบบสื่อสาร ความเสี่ยงและการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 3. อยู่ระหว่างหาข้อตกลงร่วมกับ ผู้นำองค์กรเรื่องการกำหนด Brand
กลุ่มภารกิจที่ 5:มี 3 Sub Products ได้แก่ • พัฒนาหลักสูตร(1โครงการ-5.59 ล้าน) • พัฒนาเครือข่ายการฝึกอบรม(4โครงการ- 9.02ล้าน) • การฝึกอบรมที่ดำเนินการระหว่างพัฒนา หลักสูตร
กิจกรรมหลัก • ประชุมคณะทำงาน ผู้เชี่ยวชาญ • ประชุมเชิงปฏิบัติการและจัดอบรมระยะสั้น • ประสานความร่วมมือหน่วยงานเครือข่าย • ตรวจประเมินสภาพแวดล้อมการทำงานและสภาวะสุขภาพ • พัฒนาสมรรถนะบุคลากร • วิเคราะห์ พัฒนา ปรับปรุงโครงสร้าง ระบบงาน และสถานที่ • จัดหาเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ในการสาธิต ฝึกอบรม * โครงการที่คัดเลือกจากสำนักส่วนกลาง • โครงการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมสำหรับผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5.5949 ล้าน • โครงการพัฒนาเครือข่ายประชุมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือไข้หวัดนก ไข้หวัดใหญ่และอุบัติใหม่ 1.500 ล้าน • โครงการพัฒนาเครือข่ายเพื่อการฝึกอบรมด้านโรคจากการประกอบอาชีพฯ 1.500 ล้าน • โครงการพัฒนาเครือข่ายเพื่อการฝึกอบรมด้านโรคติดต่อนำโดยแมลง 4.69 ล้าน • โครงการพัฒนาเครือข่ายเพื่อการฝึกอบรมด้านโรคเอดส์ 2.3451 ล้าน • โครงการจัดอบรมระยะสั้นเรื่องการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อในโรงพยาบาล 1.200 ล้าน ผลที่คาดว่าจะได้รับ • หลักสูตรฝีกอบรม สำหรับ อปท. 2. พัฒนาเครือข่ายเตรียมความพร้อม • พัฒนาศักยภาพบุคลากร หน่วยงาน และเครือข่ายด้านสาธารณสุข 4. สร้างนโยบายและกลยุทธ์การป้องกันควบคุมโรค • ศูนย์ฝึกและสาธิตการบริการอาชีวอนามัยสามารถรองรับบทบาทภารกิจที่ต้องปฏิบัติ
ผลที่ได้ • หลักสูตรฝึกอบรม /เอกสาร คู่มือ สื่อ และสิ่งพิมพ์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ • ชุดนิทรรศการด้านเทคโนโลยีที่ใช้การป้องกันควบคุมโรค • ทราบความต้องการในการฝึกอบรมหลักสูตรและผล สัมฤทธิ์ของการอบรม • ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ปัญหา • ขาดหน่วยงานกลางรับผิดชอบบริหารจัดการงบประมาณของกลุ่มภารกิจ • แนวทางการดำเนินงานของกลุ่มภารกิจไม่ชัดเจน ทำให้ สคร.ดำเนินงานล่าช้า ซ้ำซ้อน • บางโครงการไม่ตอบ Product ข้อเสนอ ปี 51 • ทบทวนคณะทำงานฯ และกลไกการบริหารจัดการ • กลุ่มภารกิจทบทวน ผลการดำเนินงาน Roadmap Product /Sub Product กลุ่มผู้ใช้ประโยชน์ กลุ่มเป้าหมายดำเนินงาน ปี 2551 • ป. เชิงปฏิบัติการ พัฒนาแผนงานของกลุ่มภารกิจ / โครงการ / กิจกรรม / งบประมาณ / สน./ สบ./ สคร./ กอง / ผู้รับผิดชอบหลัก ดำเนินการ ให้ได้ Product / Sub Product ตามที่กำหนดในข้อ2
การปรับเปลี่ยนกระบวนการทํางานและคุณลักษณะของกิจกรรมการฝึกอบรมการควบคุมโรคและภัยสุขภาพการปรับเปลี่ยนกระบวนการทํางานและคุณลักษณะของกิจกรรมการฝึกอบรมการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
โครงการภาพรวม ของกลุ่มภารกิจที่ 6 3 ข้อมูล ณ วันที่ 9 กรกฎาคม 2550
Sub Product 6.1 ผลงานวิจัยให้มีคุณภาพ ทันต่อความต้องการ 67.1937 ล้าน กิจกรรม • ทบทวนวรรณกรรมและเอกสารที่เกี่ยวข้อง • เลือกกลุ่ม เป้าหมายที่จะศึกษา กำหนดระเบียบวิธีวิจัย • จัดทำแบบสอบถาม/สำรวจ • ชี้แจง/อบรมทีมงาน • รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล • เขียนรายงาน • โครงการวิจัย (80 โครงการ 58.4076 ล้าน) ข้อเสนอ ปี 51 1. กรมฯกำหนดกรอบวงเงินที่จัดสรรเบื้องต้นสำหรับการวิจัยปี 51ให้ชัดเจน 2. คณะกรรมการฯ ควรเร่งรัดการพิจารณาโครงร่างวิจัยปี 51 ให้แล้วเสร็จภายใน 30 กันยายน 50 3. มาตรฐานการวิจัย อาจกำหนดเป็น 2 ระดับ(ระดับคุณภาพสูง,ระดับฝึกหัด) ผลที่คาดไว้ ผลงานวิจัยมีคุณภาพ ทันต่อความต้องการ 80 เรื่อง ผลที่จริง โครงการวิจัย 73 โครงการ 46.0638 ล้าน ดำเนินการได้ล่าช้า Gap เทียบกับ Map ผลไม่เป็นไปตามเป้าหมาย • จำนวนโครงการวิจัยน้อยกว่าเป้าหมาย • การดำเนินงานล่าช้ากว่าที่กำหนด • มีการยกเลิกโครงการเนื่องจากดำเนินการไม่ทัน • ประเด็นการวิจัยมีความหลากหลาย 14
การใช้ระเบียบวิธีTechnology Road-mapสำหรับพัฒนาแผนที่นำทาง • ใคร ??บทบาทของผู้ใช้บริการทางวิชาการของกรมควบคุมโรคยังปรับเปลี่ยนไปตลอด ๕ ปี ข้างหน้า จึงต้องพิจารณาแนวโน้มให้สอดคล้องกับบริบททางสังคมและการเมือง • อะไร ?ความต้องการผลผลิต (Product) และบริการ (Service) จากผู้ใช้บริการในระดับต่างๆในอนาคตจะแปรเปลี่ยนไปตามการโครงสร้างและบทบาทภายใต้การปฏิรูปฯ • อย่างไร ?การปรับระบบและกระบวนการภายใน (Internal Process) จำต้องตอบสนองต่อความต้องการ และเทคโนโลยีควบคุมโรคสำหรับช่วงเวลา ๕ ปีข้างหน้า
ลดโรค + พฤติกรรมสุขภาพถูกต้อง ภายนอกกรม ผลลัพธ์ และผลกระทบต่อการควบคุมโรคของสถานบริการ /หน่วยงานส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น ภายนอกกรม Strategy Map กรมควบคุมโรค ปี 2551-2553 การประสานภารกิจกับสหภาคีเครือข่าย-สหสถาบันเพิ่มคุณค่าแก่ผู้ใช้บริการและเพิ่มประสิทธผล 2.พัฒนาข่าวกรองโรคและภัยคุกคามสุขภาพและ ความพร้อมในการตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉินทางสาธารณสุข 45. . 3..พัฒนากลยุทธการสื่อสารสาธารณะ-การตลาดเพื่อสังคมและการบังคับใช้กฎหมายในพื้นที่ 1.พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ 4วิจัยและพัฒนาคุณค่าผลผลิตทางวิชาการ. /การจัดการความรู้ 5.การฝึกอบรม-สัมมนา-พัฒนาหลักสูตร 6.บูรณาการกลยุทธ์,แผนและการติดตามประเมินผล ภายในกรม ) พัฒนาองค์กรให้เกิดการเรียนรู้ การนำองค์กร-การจัดการกระบวนการ และกำกับการดำเนินการให้เป็นไปตามเป้าประสงค์กลยุทธ์ และเป้าหมายการให้บริการ 3.การบริหารการเงินการคลัง 1. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2. พัฒนาระบบการบริหารจัดการทั่วไป 4.พัฒนาระบบสารสนเทศและการบริหารจัดการ
นโยบาย กระทรวงสาธารณสุข 1. สนับสนุนโครงการตามพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ 2. พัฒนายุทธศาสตร์ด้านสุขภาพในการแก้ปัญหาชายแดนภาคใต้ 3. พัฒนานโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 4. ขับเคลื่อนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. พัฒนาการมีส่วนร่วมขบวนการสุขภาพภาคประชาชนและ“องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น”โดยใช้ พรบ.สุขภาพแห่งชาติเป็นกลไก ให้บรรลุดัชนีสุขภาพ 6.พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบบริการสุขภาพทั้งปกติและฉุกเฉิน กระจายอำนาจด้าน สุขภาพสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7. สร้างเสริมสุขภาพควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญโดยใช้การมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน 8. พัฒนาระบบวิจัย 9. พัฒนาการแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก 10.สร้างวัฒนธรรมองค์กรเน้นความเรียบง่ายมีความสมานฉันท์
กลุ่มโรคที่เป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศและพื้นที่ (*) • โรคติดต่อทั่วไปที่เป็นปัญหาประจำท้องถิ่นเช่นอุจจาระร่วง อาหารเป็นพิษ โรคติดต่อจากสัตว์สู่คน ไข้หวัดนก-ไข้หวัดใหญ่ ตับอักเสบ พยาธิใบไม้ตับ • โรคติดต่อนำโดยแมลง เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรียชายแดนและพื้นที่ท่องเที่ยว ไข้สมองอักเสบ • โรคอันเนื่องมาจากพฤติกรรมเสี่ยงและติดต่อยังผู้คลุกคลีใกล้ชิดเช่นโรคเอดส์ กามโรค และวัณโรค • โรคจากพฤติกรรมบริโภค เช่น โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เส้นโลหิตตีบตัน( หัวใจ-สมอง-แขนขา ) • การบาดเจ็บ-พิการ-เสียชีวิตจากอุบัติเหตุการจราจร • โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม-การบาดเจ็บในโรงงาน **************************************** ( *)=ล้วนต้องการกลยุทธการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ)
บทเรียนจาก ปี2550และข้อเสนอแนะสำหรับปี2551-2553 • 1)แผนที่นำทาง(Strategic Roadmap)และแผนปฏิบัติงานของกรมควรกำหนดให้สอดคล้องกับนโยบายกระทรวง(Agenda Based)และแผนที่กลยุทธ(Strategy Map)ใหม่ของกรมที่มุ่งไปสู่การลดโรคและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของชุมชนภาคพื้นที่(Area Based & Local Administration) • 2)จากผลการประเมินตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)พบว่าการกำหนดทิศทางองค์กร,การกำกับดูแลที่ดีและการทบทวนผลการดำเนินงานของหน่วยงาน-ส่วนราชการแล้วยังรวมถึงความรับผิดชอบการสนับสนุนสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนที่สำคัญแลนำไปสู่ การRe-branding & Re-positioning “สคร.”-งานของกรมระดับพื้นที่ที่settingsของ “อปท. เครือข่ายสื่อมวลชน- และอาสาสมัคร”(ในฐานะผู้ใช้ประโยชน์จากบริการ)
ข้อเสนอแนะการเปลี่ยนแปลง(2551-2553)(ต่อ)ข้อเสนอแนะการเปลี่ยนแปลง(2551-2553)(ต่อ) • 3)การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ-และการนำกลยุทธไปปฏิบัติ” (หมวด 2:PMQA) เราต้องการDoing the right thingsตอบสนองเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ด้าน-ที่สำคัญคือการจัดสรรทรัพยากร -การหวังผลของการดำเนินการ-การทำแผนและโครงการมีการสื่อสารและคาดคะเนความเสี่ยงเพื่อตอบสนองเป้าหมายการให้บริการและกลยุทธหลัก • 4)การจัดการทรัพยากรบุคคล(หมวด5:PMQA) และการสร้างคุณค่า(Value Creation)ให้กับกระบวนงานของกรมและส่วนราชการอื่น เพื่อให้ส่งผลต่อผู้รับบริการ- เครือข่ายและผู้มีส่วนได้เสียในการลดโรคและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(หมวด6:PMQA)เป็นภารกิจสำคัญและต้องกำกับดูแลให้มีความเชื่อมโยงภารกิจสอดคล้องกันทั้งกรม(ความมากน้อยของเงินงบประมาณที่จัดสรรไม่ใช่ประเด็นสำคัญ • >(Partnership strategy & Sharing intersectoral accountability)(:AIDS,En-Occ&NCDจะเห็นชัดในการแสวงหาพันธมิตรมาช่วยรับผิดชอบ)
Build up more experts & talent teams. Increase effort on strategic & technical networkings. (expert committees, technical taskforces, sharing intersectoral role and accountability.,Intelligent info.network.) Intersectoral seminars & R &D (built in HRD) Review ,revise and simplify essential epidemiological & operational indicators acceptable & applicable locally. Integration of similar activity and productivity among Inter-&Intra-bureau business group to avoid duplication of resources. Prediction model of future needs and trend analysis. More directive internal manpower development program to system thinking capability ; analytical and evaluative skills. แผนที่นำทาง(Roadmap) (พ.ศ.2551-2553) (สำนักและสถาบัน)
Re-branding & Re-positioning DDC:สคร.1-12:ผู้ประสานโครงการและร่วมพัฒนาภาคีเครือข่าย บทบาท คือ(1) พัฒนาภาคีเครือข่ายในชุมชนผสมผสานความร่วมมือในชุมชน เชื่อมโยงคน / เครือข่าย/หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับแหล่งความรู้ต่างๆ (2)สนับสนุนการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของอปท.(3)ปรับใช้วิธีการตลาดเพื่อสังคมที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะและร่วมออกแบบกระบวนการเรียนรู้แก่ชุมชนให้สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่มีคุณค่าและประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน ทั้งด้านสุขภาพและอื่นๆ (4)ร่วมจัดทำฐานข้อมูลข่าวกรองโรคและข้อมูลสุขภาพให้กับอปท.เพื่อจัดทำนโยบายและแผน
หน่วยงานส่วนภูมิภาค สสจ.-คปสอ.สอ. อปท. ความเชื่อมโยงของกลไกต่างๆ ในระบบสุขภาพแห่งชาติและท้องถิ่น รัฐสภา ครม. สภาที่ปรึกษา สภาพัฒน์ฯ ธรรมนูญ ว่าด้วย ระบบสุขภาพแห่งชาติ • ให้ข้อเสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ • บริหารกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ สคสช. สสส. กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงอื่นๆ ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับสุขภาพ สปสช. สวรส. • สร้างความรู้ • เชิงระบบ • บริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ • 37.5บาทต่อคน • (888อบต.) • ดำเนินงานด้านสุขภาพ เครือข่าย องค์กรพัฒนาสังคม-กองทุนสวัสดิการชุมชนและประชาคม กรม.คร - สคร.1-12, เครือข่าย วิชาชีพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่าย สื่อมวลชน เครือข่ายอื่นๆ เช่น เครือข่ายเอกชน (สวรส. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สสส.-สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, สปสช.-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ,สคสช.-สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ) สปรส.26 ธ.ค. 2548
สถานการณ์การดำเนินงานทางด้านสาธารณสุขในส่วนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสถานการณ์การดำเนินงานทางด้านสาธารณสุขในส่วนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • มีการจัดโครงสร้างและทีมงานขึ้นมาดำเนินงาน • บทบาทและกิจกรรมครอบคลุมในภาพรวมของงานทางด้านสาธารณสุข คือ ป้องกันโรค ส่งเสริมสุขภาพ รักษาพยาบาลและฟื้นฟูสุขภาพ • บางแห่งมีการก่อตั้งศูนย์บริการสุขภาพเอง • กิจกรรมในการป้องกันโรคมีความครอบคลุมทั้งโรคติดเชื้อและโรคไม่ติดเชื้อ รวมทั้งโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม • การดำเนินงานประกอบด้วยการรณรงค์ให้ความรู้ การเฝ้าระวังและสอบสวนโรค การให้บริการตรวจและรักษา รวมทั้งมาตรการทางกฏหมาย
กิจกรรมของกรมควบคุมโรคกิจกรรมของกรมควบคุมโรค • การกำหนดเป็นนโยบายและยุทธศาสตร์ของกรม • มีการดำเนินโครงการพิเศษต่างๆ: 1.โครงการพัฒนาภาคีเครือข่ายและนโยบายพื้นที่ฯ สคร.1-12 2. โครงการพัฒนาภาคีเครือข่ายการควบคุมโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนและการศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนาบทบาทการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคใน อปท. • สนับสนุนให้อปท.พัฒนาการจัดการความรู้ การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ การจัดทำฐานข้อมูลคลังความรู้ในชุมชน-เพื่อจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพและด้านการสาธารณสุขของอปท. • การจัดเตรียมคู่มือและแนวทางมาตรฐาน สำหรับอปท.
ข้อเสนอการจัดสัดส่วนงบประมาณ2551สำหรับแต่ละกลยุทธกรมหรือ 4เป้าหมายการให้บริการระดับกรม(SDA) :(งบดำเนินงาน1302.67 ล้านบาท) 1 )การพัฒนาวิชาการการจัดการและถ่ายทอดองค์ความรู้10.%=130.27ล้านบาท) =( วิจัยรายใช้จ่ายอื่น68.64 ล้านบาท+มาตรฐานวิชาการ 61.63 ล้านบาท ) 2)การพัฒนาระบบบริหาร จัดการมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์= 10% =-130.27ล้านบาท 3)การพัฒนาศักยภาพระบบการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค50% =651.34ล้านบาท ( 3.1)ประชาชนได้รับบริการป้องกันควบคุมโรคเฉพาะอย่างมี ประสิทธิภาพ 40% = (521ล้าน.บาท) (3.2)ระบบเฝ้าระวังโรค5ระบบที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น10% =( 130.27ล้านบาท) 4)ประชาชนเข้าถึงความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องยั่งยืน มีมาตรการทางสังคมที่เหมาะสมรวมทั้งการจัดการสิ่งแวดล้อมและการ ประกอบอาชีพที่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน25%=325.67ล้านบาท* * (80-90%ควรจัดลรรให้12สคร. แต่ต้นปี เพื่อสร้างกลไกเครือข่ายการปรับพฤติกรรมชุมชนในพื้นที่) 5)กันส่วนกลางสำหรับสนับสนุนพื้นที่และยุทธศาสตร์กระทรวง5%=(65.13 ล้านบาท)
“แสงสว่างมีในทุกแห่งที่ทำงานด้วยใจรักและเอื้อเฟื้อ”“แสงสว่างมีในทุกแห่งที่ทำงานด้วยใจรักและเอื้อเฟื้อ”