1 / 33

ระบบการชำระเงิน

ระบบการชำระเงิน. The Payment System. ความสำคัญของระบบการชำระเงิน. วัตถุประสงค์ในการศึกษา. ระบบการชำระเงิน : แบบจำลองการชำระหนี้. ความสำคัญของระบบการชำระเงิน. 1. Q : ในวันหนึ่ง ๆ เราอาจไม่ได้ใช้เงินที่มีอยู่ในการซื้อสินค้า เช่น ใช้เช็ค จะมีการชำระเงินกันอย่างไร.

bozica
Télécharger la présentation

ระบบการชำระเงิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบการชำระเงิน The Payment System

  2. ความสำคัญของระบบการชำระเงินความสำคัญของระบบการชำระเงิน วัตถุประสงค์ในการศึกษา ระบบการชำระเงิน : แบบจำลองการชำระหนี้

  3. ความสำคัญของระบบการชำระเงินความสำคัญของระบบการชำระเงิน 1 Q : ในวันหนึ่ง ๆ เราอาจไม่ได้ใช้เงินที่มีอยู่ในการซื้อสินค้า เช่น ใช้เช็ค จะมีการชำระเงินกันอย่างไร Q : ระบบการชำระเงินดังกล่าวมีปัญหาเกิดขึ้นหรือไม่

  4. วัตถุประสงค์ในการศึกษาวัตถุประสงค์ในการศึกษา 2 การขาดแคลนปริมาณเงินเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิด ผลกระทบต่อภาคการเงินหรือไม่ จากทฤษฎีปริมาณเงิน MV = PY เมื่อ M เหตุใด P จึงไม่ปรับลด ทำให้ระบบเศรษฐกิจเข้าสู่สมดุล อะไรเป็นสัญญาณบ่งชี้ว่า Md ≠ Ms การทำ OMO หรือนโยบายการเงินอื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา ทางการเงินนั้น มีอะไรบ้าง และมีกระบวนการอย่างไร

  5. ระบบการชำระเงิน 3 3.1 แบบจำลองการชำระหนี้ 3.2 การแลกเปลี่ยน (Trading) 3.3 สถาบันการเงินที่เกี่ยวข้อง

  6. 3.1 แบบจำลองการชำระหนี้ ข้อสมมติ • มีคน 2 ประเภท คือ 1. trade โดย currency • 2. trade โดย credit • ใช้ OLG model โดยเพิ่ม • 1. ตลาดหนี้ • 2. ช่องว่างระหว่างลูกหนี้ กับเจ้าหนี้

  7. ลักษณะแบบจำลอง • มีจำนวนเกาะ = I คู่ • แต่ละเกาะมี 2N คน • ประชากรมีอายุ 2 period • Period 1 มี intial old N คน • คนที่เกิดในเกาะลูกหนี้ มี endownment = y • (nonstorable goods) และแตกต่างกันไปแต่ละเกาะ • เมื่อแก่ก็จะไม่มี

  8. ลักษณะแบบจำลอง (ต่อ) • คนหนุ่มที่เกิดในเกาะเจ้าหนี้ มีendownment = y • (nonstorable goods) แตกต่างกันไปในแต่ละเกาะ • แล้วแก่ก็จะไม่มี • คนแก่ที่เกิดในเกาะลูกหนี้ ต้องการบริโภคสินค้าของเจ้าหนี้ • เมื่อหนุ่ม และไม่ต้องการบริโภคเมื่อแก่ • คนที่เกิดในเกาะเจ้าหนี้ ต้องการบริโภคสินค้าของลูกหนี้ • เมื่อแก่ และไม่ต้องการบริโภคเมื่อหนุ่ม

  9. ลักษณะแบบจำลอง (ต่อ) • Initial old creditors เป็นเจ้าของ fiat money • Stock จำนวนหนึ่ง = M ดอลลาร์ ในแต่ละเกาะของเจ้าหนี้ • 10.บน central island จะมี banker จำนวนมาก แต่ละคนไม่ • มี endownment ของตนเอง แต่มีเทคโนโลยีสำหรับการเก็บ • ข้อมูลและบังคับให้เป็นไปตามสัญญา • 11. สถาบันที่มีอำนาจในการพิมพ์เงินตั้งอยู่บน central island

  10. การแลกเปลี่ยน ( trading) 1. ในการ trading ใช้ fiat money เป็นสื่อกลาง 2. young debtor ต้องการบริโภคสินค้าจาก creditor แต่ไม่มีสินค้าที่สามารถ trade กับ creditor ได้โดยตรง 3. ลูกหนี้ไม่มีเงินในขณะที่แลกเปลี่ยนสินค้าจากเจ้าหนี้ 4. ลูกหนี้ใช้ promise to pay แลกเปลี่ยนสินค้ากับเจ้าหนี้ โดยจะจ่ายคืนใน period หน้า บน central island

  11. ข้อสังเกต 1. ราคาถูกกำหนดโดยดุลยภาพในตลาดเงิน 2. ปริมาณเงินเท่ากับ fiat money ในเกาะลูกหนี้ 3. Ny = Mvt = M / Pt Pt = M / Ny

  12. สถาบันการเงินกับบทบาทในการชำระหนี้สถาบันการเงินกับบทบาทในการชำระหนี้ กรณี 1 : เจ้าหนี้และลูกหนี้มาพร้อมกัน และไม่มีต้นทุนในการค้นหาไม่จำเป็นต้องมีสำนักหักบัญชี กรณี 2 : เจ้าหนี้และลูกหนี้มาไม่พร้อมกัน 2.1 เกิดOverlap : เจ้าหนี้และลูกหนี้ที่มาไม่ใช่คู่ของกัน หรือ เป็นคู่กันแต่มาไม่พร้อมกัน สำนักหักบัญชี ก็จะเข้ามามีบทบาทในการชำระหนี้ 2.2 ไม่เกิด Overlap : หากเกิดปัญหาสภาพคล่อง สำนักหักบัญชีจะออกFiat Money ดังนั้น สำนักหักบัญชีจึงมีความสำคัญ

  13. ความสำคัญของสำนักหักบัญชีจะมีขึ้น เมื่อเจ้าหนี้และลูกหนี้มาไม่พร้อมกัน ในกรณีที่เจ้าหนี้มาถึงก่อน การชำระหนี้จะเกิดปัญหาขึ้น เนื่องจากลูกหนี้มาถึงช้ากว่า จึงไม่มีเงินมาให้คืนเจ้าหนี้ จึงเกิดปัญหาการขาดแคลนสภาพคล่องเกิดขึ้น ธนาคารกลางจะมีวิธีจัดการกับปัญหาสภาพคล่องนี้อย่างไร

  14. การจัดหาสภาพคล่อง 1) กรณีปริมาณเงินคงที่ สมมติ : 1. Fiat Money เป็นสินทรัพย์ทางการเงินเพียงชนิดเดียว ซึ่งคนแก่จะได้เงินจากสำนักหักบัญชี เพื่อนำไปใช้จ่าย 2. Fiat Money คงที่ ภายใต้ปริมาณเงินคงที่ หากเจ้าหนี้มาถึงก่อนลูกหนี้ สำนักหักบัญชีก็จะไม่มีเงินมาจ่ายคืนเจ้าหนี้ได้ ทำให้เจ้าหนี้ไม่ต้องการที่จะปล่อยกู้ เกิดภาวะ Autarkic Equilibrium สวัสดิการในกรณีนี้ก็จะต่ำ

  15. หากมีการคลายข้อจำกัดออก ก็จะทำให้สวัสดิการสูงขึ้น เช่น สำนักหักบัญชีจะออก Fiat Money หรือธนบัตรเพื่อจ่ายเงินให้เจ้าหนี้กรณีมาถึงก่อนลูกหนี้ 2) กรณีปริมาณเงินไม่คงที่ สมมติ: ธนาคารกลางพิมพ์ Fiat Money ขึ้นชั่วคราว เพื่อจ่ายให้กับเจ้าหนี้ และใช้นโยบาย Discount Window

  16. ขั้นตอนนโยบาย : Discount window

  17. ธนาคารกลาง Fiat money ชั่วคราว เป็น real bill คิดดอกเบี้ยตามที่ประกาศไว้ ( discount rate ) ให้กู้ สำนักหักบัญชี แก้ปัญหาสภาพคล่อง เจ้าหนี้

  18. ธนาคารกลาง Fiat money Real bill Fiat money Real bill IOU ไปขอกู้ IOU กลับมา สำนักหักบัญชี Fiat money Fiat money IOU IOU เจ้าหนี้ ลูกหนี้

  19. พิสูจน์ว่าไม่เกิดเงินเฟ้อพิสูจน์ว่าไม่เกิดเงินเฟ้อ demand for money = stock of money Md = Ms Ny = M / Pt Pt = M / Ny เนื่องจาก ปริมาณเงิน ( M ) จำนวนประชากร (N) และ ผลผลิต ( Y) ไม่เปลี่ยนแปลง ดังนั้น ระดับราคาสินค้า(Pt) จึงคงที่ (ไม่เกิดเงินเฟ้อ)

  20. 3) กรณี ปริมาณเงินภายในไม่คงที่ 3.1 สำนักหักบัญชีพิมพ์ clearing house notes ที่มี reserve เต็มมูลค่า ขั้นตอน :

  21. สำนักหักบัญชี Clearing house note Clearing house note IOU IOU เจ้าหนี้ ลูกหนี้

  22. ปริมาณเงินทั้งหมดในแต่ละเกาะลูกหนี้ จะเท่ากับผลรวมของ fiat money ที่ถือโดยประชาชน (Mp ) และธนบัตรที่ออกโดยclearing house (Mb ) ดังนั้น M = Mp + Mb P = (Mp + Mb ) / Ny

  23. การออกธนบัตรที่มี reserve หนุนหลังเต็มจำนวน (full backed) ความต้องการถือ fiat money ของประชาชน จะเท่ากับ fiat money stock ทั้งหมด ลบด้วย bank reserve (Γ) Mp = M – Γ bank reserve จะเท่ากับ ปริมาณธนบัตรที่คาดว่าจะถูกนำมาชำระหนี้ : Γ = Mb

  24. ดังนั้น การถือcurrency ของประชาชน จะเท่ากับ Mp + Mb = ( M – Γ ) + Mb = M ดังนั้น P = (Mp+ Mb ) / Ny = M / Ny ดูลยภาพของกระบวนการนี้จึงเหมือนกับกรณี discount window คือการให้สภาพคล่องเต็มที่โดยไม่เกิดปัญหาเงินเฟ้อตามมา

  25. 3.2 สำนักหักบัญชี พิมพ์clearing house notes ที่มี reserve ไม่เต็มมูลค่า 1. clearing house notes และ fiat money ทดแทนกันได้สมบูรณ์ 2. ให้ bank reserve เท่ากับศูนย์ (Γ = 0) 3. ในขณะหนึ่งสำนักหักบัญชีมี fiat money อยู่ในมือ ซึ่งสามารถนำไปบริโภคได้ 4. ปริมาณเงินระบบเศรษฐกิจ เท่ากับ Mp+ Mb

  26. Mp = M – (Γ = 0) Mp = M Mp + Mb = M +Mb P = (Mp + Mb ) / Ny = (M + Mb ) / Ny > M / Ny ดังนั้น ในกรณีนี้จึงเกิด เงินเฟ้อ

  27. อัตราดอกเบี้ยในระยะสั้นอัตราดอกเบี้ยในระยะสั้น 1. Initial old banker ไม่สามารถออกธนบัตรเองได้ แต่เป็นเจ้าของ fiat money เท่ากับ M ยูนิต 2. เมื่อหนุ่ม banker ได้ endowment เป็นสินค้าจาก central island โดยไม่สามารถเก็บข้ามช่วงเวลาได้ 3. old banker ใช้เงินจำนวนนี้ไปซื้อสินค้าจาก young ที่ central island หรือจากเกาะลูกหนี้

  28. ถ้า M* < IM จะเกิดปัญหาสภาพคล่องเกิดขึ้น จะทำให้ไม่สามารถชำระคืนหนี้ได้ทั้งหมดในราคา parได้ M* = ความต้องการถือ fiat money ของ banker IM = ปริมาณหนี้ทั้งหมด เจ้าหนี้จะถูกบังคับให้ขายหนี้แก่ bankerในราคาลด(discount rate) ξ = M*/ IM < 1 ทำให้ ผลตอบแทนของเจ้าหนี้ ต่ำลง (ξ< 1 )ทำให้เจ้าหนี้ต้องการให้กู้น้อยลง ก็จะส่งผลเสียแก่ลูกหนี้ตามมา

  29. สมมติให้ธนาคารกลาง สามารถออกและให้กู้ fiat money ในจำนวนเท่ากับ ปริมาณหนี้ทั้งหมด และเงินกู้ของธนาคารกลางถูกกำหนดให้มีการจ่ายคืนด้วย fiat money ให้ ψ = gross nominal interest rate ที่ธนาคารกลางคิดเมื่อปล่อยกู้ ซึ่งก็คือ discount window นั่นเอง (ψ ≥ 1)

  30. หนี้แต่ละหน่วยสร้างต้นทุนแก่ banker เท่ากับ ξและได้ผลตอบแทนกลับมาเท่ากับ $1 ดังนั้น gross rate of return = 1 / ξ ธนาคารก็จะกู้เงินจากธนาคารกลาง จนกระทั่ง 1 / ξ = ψ ยิ่ง discount window ต่ำเท่าใด banker ก็จะกู้ยืมและปล่อยกู้มากเท่านั้น (arbritrage)

  31. ดังนั้น ธนาคารกลางจะควบคุมนโยบาย โดยพิจารณาจาก fiat money ที่ขาดไป แล้วปรับเพิ่ม ψ เพื่อเป็นการปรับปริมาณเงินให้สอดคล้องกับความต้องการของระบบเศรษฐกิจในขณะนั้น จะเห็นว่า ธนาคารกลางสามารดำเนินนโยบายในการควบคุมสภาพคล่องของระบบเศรษฐกิจ ซึ่งจะมีผลไปยังอัตราดอกเบี้ยระยะสั้น โดยจะไม่มีผลกระทบในระยะยาว

  32. การออก fiat money โดยสำนักหักบัญชีจะไม่ทำให้เกิดเงินเฟ้อ เนื่องจาก 1. fiat money จะถูกนำออกจากระบบเศรษฐกิจเมื่อมีการชำระหนี้เสร็จสิ้น 2. ในการแสวงหากำไรของสำนักหักบัญชีจะหยุดเมื่อ 1 / ξ = ψ ซึ่งก็จะทำให้ปริมาณเงินคงที่ ดังนั้นในการดำเนินนโยบาย เพื่อรักษาสภาพคล่องของธนาคารกลางก็จะไม่ทำให้เกิดภาวะเงินเฟ้อเนื่องจากปริมาณเงินคงที่

  33. THE END

More Related