1 / 52

แ น ว ท า ง เ ก ็ บ ตัวชี้วัด

เ ค ร ื อ ข ่ า ย จ ั ง ห ว ั ด ส ก ล น ค ร. แ น ว ท า ง เ ก ็ บ ตัวชี้วัด. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล. ป ร ะ จ ำ ป ี ง บ ป ร ะ ม า ณ 2562. โดย ปิ่นเพชร อำภรณ์ CNO_P จังหวัดสกลนคร. ถ ่ า ย ท อ ดระดับจังหวัดและองค์กรพยาบาลทุกแห่ง. ประเด็นนำเสนอ. ส่วนที่ 2. ส่วนที่ 1. Function based

Télécharger la présentation

แ น ว ท า ง เ ก ็ บ ตัวชี้วัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เครือข่ายจังหวัดสกลนครเครือข่ายจังหวัดสกลนคร แนวทางเก็บตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2562 โดย ปิ่นเพชรอำภรณ์ CNO_P จังหวัดสกลนคร ถ่ายทอดระดับจังหวัดและองค์กรพยาบาลทุกแห่ง QA 26 DEC 2018

  2. ประเด็นนำเสนอ ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1 Function based การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ตามภารกิจรับผิดชอบ Agenda based ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ บริการพยาบาลระดับประเทศ KPI 10 ตัว KPI 8 ตัว QA 26 DEC 2018

  3. Function based การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ตามภารกิจรับผิดชอบ ส่วนที่ 1 QA 26 DEC 2018

  4. Function based ร้อยละความสำเร็จขององคกรพยาบาลที่ผานการประเมินคุณภาพบริการ พยาบาลมีคะแนนรอยละ 60 ขึ้นไป รอยละความสำเร็จของหนวยบริการพยาบาลผูคลอดที่มารดาคลอดปกติมีการฝากครรภครบตามเกณฑคุณภาพ และทารกแรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500 กรัมขึ้นไป รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการพัฒนาระบบการเลี้ยงลูก ดวยนมแมและมีผลการเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียวตามเกณฑ รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพในชุมชนที่มีการจัดระบบ การประเมินและคัดกรองกลุมเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองตามเกณฑ์ รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่ดำเนินงานตามระบบ การดูแลแบบประคับประคองตามเกณฑ์ ระดับความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการพยาบาลการ ดูแลตอเนื่องของสถานบริการสุขภาพตามเกณฑ รอยละความสำเร็จของสถานบริการที่มีการเยี่ยมบานผูปวยติดเตียง และผูปวยไมมีภาวะแทรกซอนที่ปองกันได้ รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการพยาบาล เพื่อความปลอดภัยของผูปวยและบุคลากรพยาบาล (2P Safety) ผานเกณฑ์ QA 26 DEC 2018

  5. F1. ร้อยละความสำเร็จขององคกรพยาบาลที่ผานการประเมินคุณภาพ บริการพยาบาลมีคะแนนรอยละ 60 ขึ้นไป องค์กรพยาบาลที่ผานการประเมินคุณภาพบริการพยาบาลมีคะแนน รอยละ 60 ขึ้นไป : หมายถึง องคกรพยาบาล / กลุมการพยาบาล หรือองคกรที่ทำหนาที่คลายคลึงกันของสถานบริการสุขภาพ ที่มีการพัฒนา คุณภาพการพยาบาลของแตละงานบริการพยาบาลตามมาตรฐานการ พยาบาลในโรงพยาบาลของกองการพยาบาล (สำนักการพยาบาล, 2550) และไดดำเนินการประเมินคุณภาพตามเครื่องมือการประเมินคุณภาพของกองการพยาบาล โดยมีคะแนนผลการประเมินคุณภาพการพยาบาล ประจำปงบประมาณ 2562 ตามเกณฑการประกันคุณภาพการพยาบาล: การประเมินคุณภาพการบริหารการพยาบาล และงานบริการพยาบาล มากกวาหรือเทากับรอยละ 60 ขึ้นไป วัตถุประสงค์ : เพื่อยกระดับคุณภาพบริการพยาบาล ขององค์กรพยาบาลให้สูงขึ้น เกณฑ์เป้าหมาย : ร้อยละ 70 (ภาพรวมจังหวัด/เขต) เกณฑ์ประเมินความสำเร็จ : 5 ระดับ QA 26 DEC 2018

  6. F1. ร้อยละความสำเร็จขององคกรพยาบาลที่ผานการประเมินคุณภาพ บริการพยาบาลมีคะแนนรอยละ 60 ขึ้นไป ระดับที่ 1 คกก.QA เขตฯเข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเครือข่ายผู้บริหารฯ • ระดับที่ 2คกก.QA เขตฯวิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงานปี 2561 และจัดทำแผนระดับ • เขตถ่ายทอดแผนไปยังระดับจังหวัดและองค์กรพยาบาลทุกแห่งในเขตเพื่อให้ NSO • ตามเกณฑ์คุณภาพ • CNO_R/CNO_P : ทำแผนนิเทศติดตามให้คำปรึกษา เกณฑ์การประเมิน ความสำเร็จ • ระดับที่ 3 CNO_R/CNO_P และQA เขต นิเทศติดตามการนำแผนสู่การปฏิบัติตามแผน • QA เขตสรุปรายงานผลการนิเทศรอบแรก(ตค.-กพ.) /ส่งCNO_R+ผู้นิเทศภายใน 1 มีนาคม 2562 ระดับที่ 5 QA เขตสรุปรายงานนิเทศรอบ 6 เดือนหลัง(มีค.-สค.) และรายงาน ผลการดำเนินตามแผนฯภายใน 1 กย.2562 ระดับที่ 4 QA เขตติดตามรายงานผลKPI F1. เสนอต่อ CNO_R/CNO_P+ผู้นิเทศภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2562 QA 26 DEC 2018

  7. ระยะเวลาประเมินผล 6 เดือน ม.ค.–มี.ค. 62 3 เดือน ต.ค.–ธ.ค. 61 9 เดือน เม.ย.–มิ.ย. 62 12 เดือน ก.ค.–ก.ย. 62 ดำเนินการครบถ้วน ตามระดับทื่ 4 และรายงานในระบบผ่าน web application ดำเนินการครบถ้วน ตามระดับทื่ 5 (สรุปรายงานรูปเล่ม) ดำเนินการครบถ้วน ตามระดับทื่ 3 QA 26 DEC 2018

  8. สิ่งที่ดำเนินการ • การประเมินคุณภาพการพยาบาล • -ห้วงเวลา (กุมภาพันธ์-เมษายน 2562) • - รูปแบบ : 1. แบ่งโซนประเมินตนเองและ • นิเทศกำกับโดยคกก.โซน • หรือ 2. ประเมินโดยคกก.กลาง • ที่ประชุมมีมติ ประเมินแบบโซน และมีการนิเทศเครือข่ายโซนโดยทีมแม่ข่ายรพ.สกลนคร • 2. มีแผนการนิเทศและสรุปผลการนิเทศ • 2.1 รอบ 6 เดือนแรก (1 ตค. 2561-28 กพ. 2562) • 2.2 รอบ 6 เดือนหลัง(1 มีค. 2562-31 สค. 2562) • การประเมินคุณภาพการพยาบาล • -ห้วงเวลา (กุมภาพันธ์-เมษายน 2562) • - รูปแบบ : 1. แบ่งโซนประเมินตนเองและ • นิเทศกำกับโดยคกก.โซน • หรือ 2. ประเมินโดยคกก.กลาง • 2. มีแผนการนิเทศและสรุปผลการนิเทศ • 2.1 รอบ 6 เดือนแรก (1 ตค. 2561-28 กพ. 2562) • 2.2 รอบ 6 เดือนหลัง(1 มีค. 2562-31 สค. 2562) QA 26 DEC 2018

  9. F2. ร้อยละความสำเร็จของหน่วยบริการพยาบาลผู้คลอดที่มารดาคลอดปกติ มีการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คุณภาพ และทารกแรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500 กรัมขึ้นไป KEY WORDS วัตถุประสงค์ เพื่อวัดประสิทธิผลของการพยาบาลฝากครรภ์ เพื่อวัดประสิทธิผลการบริการพยาบาลผู้คลอด เพื่อเพิ่มอัตราการเกิดทารกแรกเกิดมากกว่าหรือเท่ากับ 2,500 กรัม 1. หญิงตั้งครรภ์ 2. ฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์กท.สธ. 3. คลอดปกติ 4. ทารกน้ำหนักตัวเฉลี่ยมากกว่า หรือเท่ากับ 2,500 กรัม เกณฑ์เป้าหมาย : ร้อยละ 80 โรงพยาบาลระดับ A – M2 QA 26 DEC 2018

  10. F2. ร้อยละความสำเร็จของหน่วยบริการพยาบาลผู้คลอดที่มารดาคลอดปกติ มีการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คุณภาพ และทารกแรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500 กรัมขึ้นไป ระดับที่ 1 ANC มีการวางแผนปชส. เช่นติดโปสเตอร์ให้คำปรึกษาในการ เชิญชวนมาฝากครรภ์ตามนัดและเป็นไปตามเกณฑ์ฯการฝากครั้ง(5 ครั้ง) ระดับที่ 2 ANC นำแผนปชส.ในการชักชวนมาฝากครรภ์ตามนัดและเป็นไปตามเกณฑ์ฯสู่การปฏิบัติ เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 3 ANC ปฏิบัติการตรวจครรภ์ตามมาตรฐานการบริการพยาบาลทางสูติกรรมและนัดให้มารับการตรวจครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ระดับที่ 5 LR ทำคลอดปกติให้กับหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ทารกแรกเกิดมีน.น.ตัวเฉลี่ย> 2500 gms. ระดับที่ 4 ANC จัดทำทะเบียน/ทำสัญลักษณ์แฟ้มหญิงตั้งครรภ์ครบตามเกณฑ์การฝากครรภ์ฯเพื่อส่งต่อข้อมูลให้กับ LR QA 26 DEC 2018

  11. การเก็บรวบรวมข้อมูล ทารกแรกเกิดน้ำหนัก <2,500 กรัม ทารกแรกเกิดน้ำหนัก > 2,500 กรัม เดือน รวม รวม E (ราย) C (ราย) A (ราย) B (ราย) D (ราย) A x 100 A+C สูตร = เก็บข้อมูลจากหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดปกติ QA 26 DEC 2018

  12. สิ่งที่ดำเนินการ ANC ทำตามขั้นตอนระดับที่ 1-4 LR ทำตามขั้นตอนระดับที่ 5 LR จัดทำรายงานประจำเดือน QA 26 DEC 2018

  13. F3. รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการพัฒนาระบบการเลี้ยง ลูกดวยนมแม และมีผลการเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียวตามเกณฑ KEY WORD วัตถุประสงค์ 1.เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในสถานบริการ สุขภาพ 2. เพื่อติดตามการจัดบริการพยาบาลการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในสถานบริการ สุขภาพ การดูแลการเลี้ยงลูกดวยนมแม หมายถึง การจัดบริการพยาบาลการเลี้ยงลูกดวยนมแมในสถานบริการสุขภาพตามบันได 10 ขั้นตอน ขององคการอนามัยโลก (WHO) ตามเกณฑ ในที่นี้หมายถึง การเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียวในระยะ 6 เดือนแรก กลาวคือตั้งแตเด็กแรกเกิดจนถึง6 เดือน กินนมแมอยางเดียว (รวมถึง ใน 24 ชั่วโมงแรกเกิด ดวย) การพัฒนาระบบการเลี้ยงลูกดวยนมแม่ หมายถึง สถานบริการสุขภาพมีการจัดใหมีระบบการดูแลใหมีการเลี้ยงลูกดวยนมแมตามเกณฑ ประเมินที่กำหนดไว ครบ 5 ระดับ เกณฑ์ประเมิน : 5 ระดับและมีทารกอายุ ต่ำกว่า6 เดือนกินนมแม่ อย่างเดียว>ร้อยละ 30 QA 26 DEC 2018

  14. เกณฑประเมิน • ระดับที่ 1 มีคลินิกนมแมและมิสนมแมหมายถึงมีหนวยงานและทีมทำงานที่เปนพยาบาลที่เรียกวา “มิสนมแม”(ตองผานการอบรมตามเกณฑ คือ ทฤษฎี 20 ชั่วโมงและปฏิบัติ 3 ชั่วโมง) ใหบริการดูแลการใหนมแมและใหคำปรึกษา แกปญหาแกพยาบาลประจำหอผูปวยในเรื่องการใหนมแม • ระดับที่ 2 มีข้อมูลสถานการณ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และแผนการดำเนินงาน • ระดับที่ 3 มีการกำหนดแนวปฏิบัติครอบคลุมบันได 10 ขั้นตอนของ WHO • ระดับที่ 4 มีการปฏิบัติตามแผนและแนวปฏิบัติที่กำหนด • ระดับที่ 5 มีข้อมูลผลลัพธ์ทารกต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว มากกว่า หรือเท่ากับร้อยละ 30 QA 26 DEC 2018

  15. สิ่งที่ดำเนินการ มีคลินิกนมแม่ มีพยาบาลผ่านการอบรม ทฤษฎี20 ชม.+ปฏิบัติ 3 ชม. 3. มีการกำหนดแนวทาง 10 ขั้นตอน (WHO) 4. มีสรุปรายงานประจำเดือน ประเด็น มีการดำเนินงาน? QA 26 DEC 2018

  16. F4. ร้อยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพในชุมชนที่มีการจัดระบบการประเมินและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองตามเกณฑ์ KEY WORDS วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยและได้รับการประเมิน/คัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคหลอด เลือดสมองอย่างทันท่วงที งานบริการพยาบาลในชุมชน กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง การจัดระบบการประเมินและคัดกรอง กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองตามเกณฑ์ กลุ่มเป้าหมาย :รพช. ระดับM2-F3 เกณฑ์ประเมิน : 5 ระดับ ต้องครบตามเกณฑ์ 5 ระดับ QA 26 DEC 2018

  17. เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 1 กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมของโรงพยาบาลชุมชน มีการสำรวจและค้นหากลุ่มเสี่ยง ระดับที่ 2 มีการจัดระบบ/แนวทางการประเมินและคัดกรองกลุ่มเสี่ยง โรคหลอดเลือดสมอง ระดับที่ 3 ส่งเสริมศักยภาพให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้และเข้าใจ การประเมินและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง ตามแนวทางการ ประเมินและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองที่กำหนด เพื่อช่วยเหลือประชาชนในชุมชนและแต่ละครัวเรือนที่ได้รับมอบหมาย ในกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง และมีการกำหนดช่องทางการสื่อสารระหว่าง พยาบาลและอาสาสมัครสาธารณสุขและระหว่างพยาบาลและอาสาสมัครสาธารณสุขกับกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง ระดับที่ 4 รณรงค์การประชาสัมพันธ์การประเมินและคัดกรองด้วยตนเองของกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองให้ประชาชนรับทราบอาการดังกล่าวเบื้องต้น เมื่อมีอาการดังกล่าวเบื้องต้น ให้รีบแจ้งทีมสุขภาพรับทราบหรือ โทรด่วน 1669 ระดับที่ 5 มีการจัดระบบส่งต่อกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองไปยังสถานบริการที่มีศักยภาพสูงกว่าได้อย่างทันท่วงทีภายใน 4.5 ชั่วโมง อย่างปลอดภัย QA 26 DEC 2018

  18. สิ่งที่ดำเนินการ กลุ่มงานด้านปฐมภูมิและองค์รวม มีแนวทางการประเมินและคัดกรอง ต้องมีสถิติข้อมูลจำนวนกลุ่มเสี่ยง 3. มีหลักฐานการส่งเสริมศักยภาพอสม. 4. มีระบบส่งต่อกลุ่มเสี่ยง ประเด็น มีการดำเนินงาน? QA 26 DEC 2018

  19. F5.รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่ดำเนินงานตามระบบF5.รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่ดำเนินงานตามระบบ การดูแลแบบประคับประคองตามเกณฑ์ KEY WORDS วัตถุประสงค์ เพื่อให้สถานบริการสุขภาพมีการดำเนินงาน ตามระบบการดูแลแบบประคับประคอง อย่างมีประสิทธิภาพ • 1. การดูแลแบบประคับประคอง • พยาบาลประคับประคอง • พยาบาลประคับประคอง :PCN) • พยาบาลประคับประคองของหนวยงาน : PCWN • พยาบาลประคับประคองของชุมชน :PCCN • 2. ความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่ดำเนินงานตามระบบการดูแลแบบประคับประคองตามเกณฑ์ • 3. การประเมินความพึงพอใจของครอบครัวผูปวยประคับประคอง เกณฑ์การประเมิน : 5 ระดับ :ความพึงพอใจของครอบครัว >ร้อยละ 80 QA 26 DEC 2018

  20. เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 3 โรงพยาบาลระดับ A, S, M1 กำหนดให้การดูแลแบบประคับประคองเป็นภารกิจส่วนหนึ่งของกลุ่มการพยาบาล มอบหมายให้มีพยาบาลรับผิดชอบ โดยพยาบาลวิชาชีพผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative Care และมีทีม PCWN ครอบคลุม หน่วยงานบริการผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอกที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งดำเนินการ ตามแนวปฏิบัติการดูแลข้างเตียง (Primary Palliative Care) โรงพยาบาลระดับ M2, F1 – F3 มี Palliative Care Nurse Manager/ Coordinator ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative Care และมีทีม PCWN ครอบคลุมหน่วยงานบริการผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอกที่เกี่ยวข้อง ระดับที่ 1 มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการดูแลแบบประคับประคอง หรือหน่วยงานดูแลแบบประคับประคอง ที่ประกอบด้วยบุคลากรพยาบาล และ/หรือสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง และมีการกำหนดแนวปฏิบัติการดูแลแบบ ประคับประคองของสถานบริการสุขภาพ ระดับที่ 2 มีการดำเนินงานตามแนวปฏิบัติการวางแผนจำหน่ายในกลุ่มที่ต้องการการดูแลแบบประคับประคอง ตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับบริการที่งานบริการผู้ป่วยนอก/ ผู้ป่วยในจนจำหน่ายส่งต่อในชุมชน เพื่อให้การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ระดับที่ 4 มีการดำเนินการตามแนวปฏิบัติการเยี่ยมโดยทีม Palliative care และมีโครงการ หรือกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ดำเนินงาน อย่างเป็นรูปธรรม ร่วมกับ สสจ. /สสอ./ รพ.สต./ องค์กรใน ท้องถิ่น และ/หรือองค์กรต่าง ๆ เช่น อปท., มูลนิธิ/ อาสาสมัครในชุมชน เป็นต้น ระดับที่ 5 มีการประเมินผลและรายงานสรุปผลการดูแลแบบ ประคับประคอง และมีการประเมินความพึงพอใจของครอบครัว ผู้ป่วย ประคับประคองต่อบริการพยาบาลแบบประคับประคอง ในภาพรวม มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 (มากกว่าหรือเท่ากับ 40 คะแนนขึ้นไป) ตามแบบประเมิน (PC_ND 2562) QA 26 DEC 2018

  21. สิ่งที่ดำเนินการ มีคกก.เป็นลายลักษณ์อักษร 2. มีแนวปฏิบัติการดูแลแบบประคับประคอง 3. มีการประเมินผลและรายงานสรุปผลการดูแลแบบ ประคับประคอง และมีการประเมินความพึงพอใจของครอบครัวผู้ป่วยฯต่อบริการพยาบาลแบบประคับประคองในภาพรวม มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 80 ประเด็น มีการดำเนินงาน? QA 26 DEC 2018

  22. F6. ระดับความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการพยาบาล การดูแลต่อเนื่องของสถานบริการสุขภาพตามเกณฑ์ KEY WORDS วัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา การจัดบริการพยาบาลการดูแลต่อเนื่องของสถานบริการสุขภาพ 1.การจัดบริการพยาบาลการดูแลต่อเนื่อง (Continuing care) ครอบคลุม 4 มิติ : การวางแผนจำหน่ายการส่งต่อและการบริการสุขภาพที่บ้าน 2. การวางแผนจำหน่าย (Discharge planning) :D METHOD 3. ระดับความสำเร็จของการจัดบริการพยาบาลการดูแล ต่อเนื่องตามเกณฑ์ ในที่นี้หมายถึง สถานบริการสุขภาพที่มี การดำเนินงานการจัดบริการ พยาบาลการดูแลต่อเนื่อง ครบทั้ง 5 ระดับ เกณฑ์การประเมิน : ระดับความสำเร็จ 5 ระดับ QA 26 DEC 2018

  23. เกณฑ์การประเมิน • ระดับที่ 1 มีพยาบาลผู้รับผิดชอบหลักและมีการวางแผนจำหน่ายโดย สหวิชาชีพ ผู้ป่วย/ครอบครัว • มีส่วนร่วมในการกำหนดแผนจำหน่ายตั้งแต่แรกรับ • ระดับที่ 2 มีระบบการประสานส่งต่อพยาบาลรับผิดชอบงานการดูแลต่อเนื่อง ระดับที่ 3 มีการดูแลตามแผนการดูแลต่อเนื่องร่วมกับทีมสุขภาพตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย แต่ละบุคคล ระดับที่ 4 มีการประเมินผลการดูแลต่อเนื่อง พร้อมทั้งปรับปรุงกระบวนการดูแลผู้ป่วยตามสภาพ ปัญหาใหม่ของผู้ป่วยแต่ละบุคคล เพื่อนำไปสู่ภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น ระดับที่ 5 มีการรายงานผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยต่อเนื่อง เพื่อนำข้อมูลป้อนกลับของผู้ป่วยจาก หน่วยรับการส่งต่อ และใช้ข้อมูลป้อนกลับของผู้ป่วยในการปรับปรุงระบบการวางแผน จำหน่ายและการส่งต่อ QA 26 DEC 2018

  24. สิ่งที่ดำเนินการ IPD มีผู้รับผิดชอบหลักและวางแผนการจำหน่าย มีระบบประสานส่งต่อพยาบาล COC มีการรายงานผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยต่อเนื่อง เพื่อนำข้อมูลป้อนกลับข้อมูลป้อนกลับของผู้ป่วยในการปรับปรุงระบบ ประเด็น มีการดำเนินงาน? QA 26 DEC 2018

  25. F 7. ร้อยละความสำเร็จของสถานบริการที่มีการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง และผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ วัตถุประสงค์ เพื่อติดตามและประเมินผล การดำเนินงานการเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยติดเตียง KEY WORDS ผู้ป่วยติดเตียง หมายถึง ผู้ป่วยกลุ่มที่เป็นโรคเรื้อรังหลายโรคและมี ภาวะแทรกซ้อนฯ การเยี่ยมบ้านผู้ป่วย หมายถึง การจัดบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้านของงาน บริการพยาบาลในชุมชนของสถานบริการสุขภาพฯ ภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ หมายถึง การเกิดภาวะ แทรกซ้อนที่บ้าน สามารถป้องกันไม่ให้เกิดได้ 4. ความสำเร็จของสถานบริการที่มีการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียงและผู้ป่วย ไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ : ครบทั้ง 5 ระดับ และผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้มากว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 เกณฑ์การประเมิน : ความสำเร็จ 5 ระดับ และผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อน ที่ป้องกันได้>ร้อยละ 80 QA 26 DEC 2018

  26. เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 1 สถานบริการสุขภาพสำรวจจำนวนผู้ป่วยติดเตียงที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ และมีการประสานส่งต่อ พยาบาลรับผิดชอบงานการดูแล ต่อเนื่องและงานบริการเยี่ยมบ้าน ระดับที่ 2 มีพยาบาลผู้รับผิดชอบหลักเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง และวางแผนการเยี่ยมบ้านติดเตียงเป็นรายกรณี ร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ ระดับที่ 3 มีการดำเนินการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยตามเกณฑ์คุณภาพงานเยี่ยมบ้าน และมีผลคะแนนการเยี่ยมบ้าน ครอบคลุมทั้ง Input, Process และ Output ระดับที่ 4 มีการประเมินผลการเยี่ยมบ้านอย่างต่อเนื่อง นำผลคะแนนการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยมาวางแผนการดูแลต่อเนื่อง พร้อมทั้งปรับปรุงกระบวนการ พยาบาลในการเยี่ยมบ้านและดูแลผู้ป่วยตามสภาพปัญหาใหม่ของผู้ป่วยแต่ละ บุคคล เพื่อนำไปสู่ภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น ระดับที่ 5 มีการรายงานผลลัพธ์การเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง เพื่อนำข้อมูลมาปรับปรุงระบบการเยี่ยมบ้าน รวมถึงมีการ รายงานผลลัพธ์ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 QA 26 DEC 2018

  27. สิ่งที่ดำเนินการ สำรวจผู้ป่วยติดเตียงในพื้นที่รับผิดชอบ มีข้อมูลจำนวนผู้ป่วยติดเตียง 2. มีการเยี่ยมบ้านมีผลคะแนนเยี่ยมบ้าน 3. มีผลลัพธ์การเยี่ยมและรายงานผลจำนวนผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ ประเด็น มีการดำเนินงาน? QA 26 DEC 2018

  28. F8. ร้อยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการพยาบาล เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยและบุคลากรพยาบาล (2P Safety) ผ่านเกณฑ KEY WORDS วัตถุประสงค์ 1. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัด บริการพยาบาลเพื่อความ ปลอดภัยของผู้ป่วย 2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัด บริการพยาบาลเพื่อความปลอดภัยและ สวัสดิภาพความเป็นอยู่ของบุคลากรพยาบาล การจัดบริการพยาบาลเพื่อความปลอดภัยของผูปวย และบุคลากรพยาบาล (2P Safety) 2. 2P Safety :การสรางระบบในการดูแลความปลอดภัย ผูปวย/ ผูใชบริการ (P: Patient Safety) ในหนวยบริการพยาบาล และ บุคลากรพยาบาล (P : Personnel Safety) ในการปฏิบัติงานใชแนวทาง ในการสรางความปลอดภัย SIMPLE 3. บุคลากรพยาบาล : พยาบาลวิชาชีพ 4. ความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการพยาบาลเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยและบุคลากรพยาบาล (2P Safety)ตามเกณฑ์ • เกณฑ์ประเมิน • ด้านผู้ป่วย • ด้านบุคลากรพยาบาล รพ.ระดับ A-M1 QA 26 DEC 2018

  29. เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 1. คณะกรรมการพัฒนาการจัดบริการพยาบาลเพื่อความปลอดภัยของผูปวย (Patient Safety) ประกอบดวยบุคลากรพยาบาลและ /หรือสหวิชาชีพที่เกี่ยวของ มีการประชุมอยางนอยทุก 3 เดือน ระดับที่ 2.วิเคราะหขอมูลความปลอดภัยของผูปวย และจัดทำแผนครอบคลุม SIMPLE ไดแก S: Safe Surgery มีแนวทางการผาตัดอยางปลอดภัย แนวทางการดมยาอยางปลอดภัย I : Infection มีแนวทางการป้องกันควบคุมการติดเชื้อ และการแพร่กระจายเชื้อในหน่วยบริการพยาบาล รวมทั้ง Prevention and Control Spread of Multidrug – Resistant Organisms (MDRO) มีแนวทาง การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาในผู้ป่วย M : Medication มีแนวทางการให้ยา เลือด และสารน้ำอย่างปลอดภัย P : Patient care มีแนวทางการดูแลผู้ป่วยอย่างปลอดภัย L: Line and Tubing มีแนวทางการใส่สายยางให้อาหาร (NG tube) ใส่สายสวนปัสสาวะ (Foley’s catheter) อย่างปลอดภัย E: Emergency มีแนวทางการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างปลอดภัย ดานผูปวย ระดับที่ 3 นำผลการวิเคราะห์ส่วนขาด มากำหนดแผนจัดทำแนวทางปฏิบัติฯของผู้ป่วยในการสร้างความปลอดภัย SIMPLE ระดับที่ 4 มีการดำเนินการตามแผนเพื่อความปลอดภัยผู้ป่วย ระดับที่ 5 มีการประเมินผลและรายงานสรุปผลการดำเนินการเพื่อความปลอดภัยผู้ป่วย ผ่านเกณฑ์ในระดับปานกลาง (คะแนน 16 - 23 คะแนน) ตามแบบสอบถาม (2P Safety _ND2562) QA 26 DEC 2018

  30. เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 1 คณะกรรมการด้านความปลอดภัย และสวัสดิภาพความเป็นอยู่ ของบุคลากรพยาบาล มีการประชุมอย่างน้อยทุก 3 เดือน ระดับที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูล ความปลอดภัย และสวัสดิภาพความเป็นอยู่ของบุคลากรพยาบาลครอบคลุม SIMPLE ได้แก่ S: Social media and communication มีแนวทางการใช้สื่อทางสังคมอย่างชาญฉลาด และมีแนวทางการสื่อสารข้อมูลความลับของผู้ป่วย ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ I: Infection and Exposure มีแนวทางการป้องกันการติดเชื้อจากการทำงาน M: Mental health and Medication มีแนวทางการดูแลบุคลากร ด้านความรู้สึกไม่ปลอดภัยจากการถูกคุกคามทางร่างกาย และจิตใจ/ แนวทางการดูแลบุคลากรที่ถูกฟ้องร้อง หรือตกเป็นจำเลย P: Process of Work มีแนวทางการดูแลบุคลากรด้านภาระงาน และแนวทางการป้องกันโรคจากการทำงาน L: Lane Traffic and Legal Issues มีแนวทางการดูแลความปลอดภัยของรถพยาบาล และการส่งต่อ E: Environment and Working Conditions มีแนวทางการสร้าง สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยในการทำงาน และมีแนวทางการสร้างสิ่งแวดล้อมฯ ด้านบุคลากรการพยาบาล ระดับที่ 3 นำผลการวิเคราะห์มากำหนดแผนจัดทำ แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพ ความเป็นอยู่ของบุคลากรพยาบาล ระดับที่ 4 มีการดำเนินการตามแผนเพื่อความปลอดภัย และสวัสดิภาพ ความเป็นอยู่ของบุคลากรพยาบาล ระดับที่ 5 มีการประเมินผลและรายงานสรุปผลการ ดำเนินการเพื่อความปลอดภัย และสวัสดิภาพความ เป็นอยู่ของบุคลากรพยาบาลผ่านเกณฑ์ในระดับ ปานกลาง (คะแนน 16-23 คะแนน) ตามแบบสอบถาม (2P Safety _ND2562) QA 26 DEC 2018

  31. สิ่งที่ดำเนินการ มีคกก.และประชุมทุก 3 เดือน 2. มีผลการวิเคราะห์ข้อมูล SIMPLE ทั้งบุคลากรและผู้ป่วย 3. แผน/จัดทำแนวทางปฏิบัติในการสร้างความปลอดภัย ประเด็น มีการดำเนินงาน? QA 26 DEC 2018

  32. Agenda based ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ บริการพยาบาลระดับประเทศ ส่วนที่ 2 QA 26 DEC 2018

  33. A1. ร้อยละของสถานบริการสุขภาพที่ผู้ใช้บริการงานผู้ป่วยใน มีคะแนนความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลตามเกณฑ์ วัตถุประสงค์ KEY WORDS เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลของผู้ใช้บริการในโรงพยาบาลงานผู้ป่วยในมาใช้ในการพัฒนาระบบบริการพยาบาลให้สอดคล้อง กับปัญหาความต้องการของผู้ใช้บริการ อย่างตรงประเด็นซึ่งจะส่งผล ให้ระบบ บริการพยาบาลมีคุณภาพเพิ่มการยอมรับ และพึงพอใจของผู้ใช้บริการ 1.ความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลงานผู้ป่วยใน 2. ความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาล ตามเกณฑ์ หมายถึง คะแนน ความพึงพอใจต่อการบริการพยาบาล สำหรับงานผู้ป่วยใน ตอนที่ 3 ข้อ 19 - 25 รวมจำนวน 7 ข้อ ได้คะแนนรวมมากกว่าหรือเท่ากับ 28 คะแนน ซึ่งอยู่ใน ระดับมากถึงมากที่สุด (เกณฑ์การให้คะแนนระบุในคำชี้แจงของแบบประเมิน) QA 26 DEC 2018

  34. A 2. รอยละของสถานบริการสุขภาพที่ผูใชบริการงานผูปวยนอก มีคะแนนความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลตามเกณฑ์ KEY WORDS วัตถุประสงค เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลของผู้ใช้บริการในโรงพยาบาล งานผู้ป่วยนอกมาใช้ในการพัฒนาระบบบริการพยาบาลให้สอดคล้อง กับปญหาความตองการของผูใชบริการอยางตรงประเด็น ซึ่งจะสงผลใหระบบบริการพยาบาลมีคุณภาพ เพิ่มการยอมรับและ พึงพอใจของผูใชบริการ ความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลงานผูปวยนอก หมายถึง การประเมิน ผลลัพธ์ของการพยาบาลจาก ความคิดเห็นของผู้ใช้บริการพยาบาลงานผู้ป่วยนอก ความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลผานเกณฑในที่นี้หมายถึง คะแนนความพึงพอใจตอการบริการสำหรับ งานผูปวยนอก ตอนที่ 3 ขอ 15 - 21 รวม จำนวน 7 ขอ ไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับ 28 คะแนน อยูในระดับมาก ถึงมากที่สุด QA 26 DEC 2018

  35. A 3. ร้อยละของสถานบริการสุขภาพผู้ที่ใช้บริการในชุมชน มีคะแนนความพึงพอใจ ในคุณภาพบริการพยาบาลตามเกณฑ์ KEY WORDS วัตถุประสงค์ ความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลของ ประชาชน/ผู้ใช้บริการ 2. ความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาล ตามเกณฑ์ ในที่นี้หมายถึง คะแนน ความพึงพอใจ ของผู้ใช้บริการในชุมชน ส่วนที่ 2 ข้อ 1–10 รวมจำนวน 10 ข้อ ได้คะแนนรวมมากกว่าหรือ เท่ากับ 40 คะแนน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด 3. ประชาชน/ผู้ใช้บริการ หมายถึง ผู้ใช้บริการ งานการพยาบาลในชุมชน สำหรับโรงพยาบาล ศูนย์/ทั่วไป และผู้ใช้บริการพยาบาลในกลุ่มงาน บริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม สำหรับ โรงพยาบาลชุมชน เช่น ใช้บริการในคลินิก การ เยี่ยมบ้าน/ดูแลสุขภาพที่บ้าน บริการสุขภาพ เคลื่อนที่อื่นๆในชุมชน เป็นต้น เพื่อนำผลการประเมินความพึงพอใจในคุณภาพบริการพยาบาลของประชาชน มาใช้ในการพัฒนาระบบบริการพยาบาลให้สอดคล้องกับปัญหาความต้องการของประชาชนอย่างตรงประเด็น ซึ่งจะส่ง ผลให้ระบบบริการพยาบาลมีคุณภาพ เพิ่มการยอมรับและพึงพอใจของประชาชน QA 26 DEC 2018

  36. A 4. ร้อยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการดำเนินงาน สร้างเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน KEY WORDS วัตถุประสงค์ การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน หมายถึง การที่ผู้สูงอายุมีการล้มลง หรือทรุดตัวลง เนื่องจากการเสียสมดุลในการทรงตัว ทั้งทางเดิน พื้นที่ยืน และการ พลัดตกจากที่สูง เช่น เก้าอี้ เตียง บันได เป็นต้น ระหว่างอยู่ที่บ้านหรือสถานที่อื่นๆในชุมชน ไม่นับรวมการพลัดตกหกล้มขณะพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ผู้สูงอายุ หมายถึง กลุ่มประชากรที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป ครอบคลุมทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ ติดสังคม ติดบ้าน และติดเตียง ความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการดำเนินงานสร้างเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน หมายถึง สถานบริการ สุขภาพที่มีการดำเนินงานสร้างเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังการพลัดตกหกล้ม ของผู้สูงอายุในชุมชน ตามเกณฑ์ระดับที่ 1 - 5 และมีอัตราการพลัดตกหกล้ม ของผู้สูงอายุในชุมชน น้อยกว่าร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับจำนวนประชากร ผู้สูงอายุทั้งหมดในเขตรับผิดชอบ เพื่อเสริมสร้างสุขภาพความ แข็งแรงของกล้ามเนื้อและลดปัจจัยเสี่ยงต่อการพลัดตก หกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน เกณฑ์การประเมิน : ความสำเร็จ 5 ระดับ QA 26 DEC 2018

  37. เกณฑ์การประเมิน • ระดับที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุในชุมชน กำหนดสาเหตุการพลัดตกหกล้ม ของผู้สูงอายุ จำแนกกลุ่มติดสังคม ติดบ้านและติดเตียง • ระดับที่ 2 จัดทำแผน/โครงการ/กิจกรรมการสร้างเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ จำแนกกลุ่มติดสังคม ติดบ้านและติดเตียง • ระดับที่ 3 ดำเนินการตามแผน/โครงการ/กิจกรรมที่กำหนด • ระดับที่ 4 ประเมินผลแผน/โครงการ/กิจกรรมที่กำหนด • ระดับที่ 5 รวบรวม วิเคราะห์ อัตราการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน • จำแนกกลุ่มติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง และโดยรวมน้อยกว่าร้อยละ 20 • เมื่อเทียบกับจำนวนประชากรผู้สูงอายุทั้งหมดในเขตรับผิดชอบ QA 26 DEC 2018

  38. สิ่งที่ดำเนินการ มีผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุในชุมชน มีแผนงาน/โครงการ ข้อมูลการพลัดตกหกล้มผู้สูงอายุในชุมชนจำแนกตาม 3.1 กลุ่มติดสังคม 3.2 กลุ่มติดบ้าน 3.3 ติดเตียง QA 26 DEC 2018

  39. A 5.ร้อยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการพยาบาล แผลกดทับผู้สูงอายุที่บ้านตามเกณฑ์ KEY WORDS วัตถุประสงค์ 1. แผลกดทับ 2. ความสำเร็จของการจัดบริการพยาบาล แผลกดทับผู้สูงอายุที่บ้านตามเกณฑ์ 3. ระดับการหายของแผลกดทับ เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ติดเตียงในชุมชน QA 26 DEC 2018

  40. เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุติดเตียงและมีแผลกดทับในชุมชน ประสานครอบครัวเพื่อนัดการให้บริการพยาบาลที่บ้าน ระดับที่ 2 จัดทำแผนการพยาบาลที่บ้านสอดคล้องกับข้อมูลผู้สูงอายุ รวมถึง การดูแลแผลกดทับ ระดับที่ 3 ให้บริการพยาบาลผู้สูงอายุติดเตียงที่มีแผลกดทับที่บ้านตามแผนการพยาบาล ประเมินลักษณะแผลกดทับ ให้คะแนนแผลกดทับตามแนวทางที่ กำหนดให้การพยาบาล ประเมินผลและจัดทำแผนการพยาบาลที่บ้านอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับปัญหาความต้องการ ระดับที่ 4 ประเมินผลการพยาบาลที่บ้าน การดูแลแผลกดทับ และการหายของแผล ให้คะแนนแผลกดทับตามแนวทางที่กำหนด ระดับที่ 5 รวบรวม วิเคราะห์ อัตราการหายของแผลกดทับของผู้สูงอายุติดเตียง ในชุมชนตามแนวทางที่กำหนด โดยการหายของแผลกดทับเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ระดับของแผลตำแหน่งใด ตำแหน่งหนึ่ง บางส่วน หรือทั้งหมดของผู้สูงอายุ ติดเตียงในชุมชน มากกว่าร้อยละ 30 เมื่อเทียบ กับจำนวนประชากรผู้สูงอายุติดเตียงทั้งหมดในเขตรับผิดชอบ QA 26 DEC 2018

  41. สิ่งที่ดำเนินการ มีผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุติดเตียงที่มี แผลกดทับในชุมชน มีแผนการพยาบาล ข้อมูลการวิเคราะห์ อัตราหายของแผล QA 26 DEC 2018

  42. A 6. ร้อยละความสำเร็จของคลินิกหมอครอบครัวที่มีการจัดบริการพยาบาลตามแนวทางที่กำหนด KEY WORDS • การจัดบริการพยาบาลตามแนวทางที่กำหนด • หมายถึง การจัดบริการพยาบาลในคลินิกหมอครอบครัวตาม • แนวทางที่กองการพยาบาลพัฒนาและเผยแพร่สู่การปฏิบัติ • ผ่านเกณฑ์ระดับ 2 ขึ้นไป ซึ่งแนวทางครอบคลุมปัจจัยนำเข้า • กระบวนการและผลลัพธ์ • ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับ 1 หมายถึง ผลรวมของคะแนนปัจจัย • นำเข้า กระบวนการและผลลัพธ์ ได้น้อยกว่า 20 คะแนน • ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับ 2 หมายถึง ผลรวมของคะแนนปัจจัย • นำเข้า กระบวนการและผลลัพธ์ อยู่ระหว่าง 20 - 27 คะแนน • ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับ 3 หมายถึง ผลรวมของคะแนนปัจจัย • นำเข้า กระบวนการและผลลัพธ์ ได้มากกว่า 27 คะแนน วัตถุประสงค์ เพื่อให้คลินิกหมอครอบครัวจัด บริการพยาบาลตามแนวทางที่กำหนด 2.เพื่อติดตามการจัดบริการพยาบาล ในคลินิกหมอครอบครัว QA 26 DEC 2018

  43. เกณฑ์การประเมิน • ระดับที่ 1 มีการวิเคราะห์ภาวะสุขภาพของประชาชน และการเจ็บป่วยของผู้ป่วยในพื้นที่ • รับผิดชอบ • ระดับที่ 2 มีพยาบาลวิชาชีพร่วมเป็นคณะกรรมการจัดบริการพยาบาลคลินิกหมอครอบครัว • และมีการวางแผนการดำเนินงานบริการพยาบาลคลินิกหมอครอบครัว • ระดับที่ 3 ดำเนินการงานคลินิกหมอครอบครัวครอบคลุมงานบริการพยาบาล การส่งเสริม • การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสุขภาพ ทั้งใน/นอกสถานบริการ • สุขภาพและในชุมชน • ระดับที่ 4 มีการประเมินผลการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว และนำมาพัฒนาปรับปรุง • การจัดบริการพยาบาลคลินิกหมอครอบครัวอย่างต่อเนื่อง • ระดับที่ 5 มีการประเมินการจัดบริการพยาบาลในคลินิกหมอครอบครัวตาม • PCC_ND2562 ผ่านเกณฑ์ระดับ 2 ขึ้นไป QA 26 DEC 2018

  44. A 7. รอยละความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการพยาบาลอาชีวอนามัย ในเขต Hot Zone ตามแนวทางที่กำหนด KEY WORDS วัตถุประสงค การพยาบาลอาชีวอนามัยหมายถึง การปฏิบัติการพยาบาลเฉพาะทางที่มุงเนนการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยใหกับคนทำงาน ครอบคลุมทั้งการ สงเสริมสุขภาพ การรักษา การฟนฟูสุขภาพและการปองกันการเจ็บปวย บาดเจ็บและอันตรายจากปจจัยเสี่ยงตางๆ ที่สัมพันธกับงาน เขต Hot Zone หมายถึง พื้นที่ที่ถูกกำหนดใหเปนพื้นที่เสี่ยงมลพิษ สิ่งแวดลอม ตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ในป 2561 ทั้งหมด 46 จังหวัด ความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่มีการจัดบริการการพยาบาลอาชีวอนามัยในเขต Hot Zone ตามแนวทางที่กำหนด เพื่อติดตามและประเมินผล การจัดบริการพยาบาล อาชีวอนามัยในเขต Hot Zone ของสถานบริการสุขภาพ • HOT ZONE • จำนวน 46 แห่งทั้งประเทศ • จำนวน 4 แห่งในเขตฯ 8 • โรงพยาบาล • ระดับ A-M1 QA 26 DEC 2018

  45. A 8.ร้อยละของสถานบริการสุขภาพที่พยาบาลวิชาชีพมีความผูกพันต่อ องค์กรพยาบาลในระดับปานกลางถึงมาก KEY WORDS วัตถุประสงค์ ความผูกพันต่อองค์กรพยาบาล หมายถึง ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร การยอมรับเป้าหมายนโยบายการบริหารขององค์กรการทุ่มเทความพยายาม ในการปฏิบัติงานเพื่อองค์กรความห่วงใยในอนาคตขององค์กรและความ ต้องการที่จะดำรงความเป็นสมาชิกขององค์กร บุคลากรพยาบาล หมายถึง พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการด้านสุขภาพโดยตรง แก่ผู้ป่วยและประชาชน ทั้งผู้ที่ให้บริการพยาบาลในสถานบริการและในชุมชน ความผูกพันต่อองค์กรพยาบาลระดับปานกลางถึงมาก หมายถึง คะแนน ความคิดเห็นต่อข้อคำถามเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์กรพยาบาล ตอนที่ 2 ของแบบสอบถามความผูกพันต่อองค์กรพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 27 ข้อ ได้คะแนนรวมมากกว่าหรือเท่ากับ 81 คะแนน อยู่ในระดับปานกลาง ถึงมาก (เกณฑ์การให้คะแนนระบุในคำชี้แจงของแบบประเมิน) เพื่อนำผลการประเมินความผูกพันต่อองค์กรพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลขององค์กรพยาบาล เพื่อเสริมสร้างความผูกพันอย่างตรงประเด็น ส่งผลให้บุคลากรรักในองค์กรและตั้งใจปฏิบัติงานให้มีประสิทธิผลประสิทธิภาพ และคุณภาพมากยิ่งขึ้น QA 26 DEC 2018

  46. A 9. ร้อยละความสำเร็จขององค์กรพยาบาลที่มีการดำเนินงานตามแนวทางที่กำหนด และมีอัตราการคงอยู่ของบุคลากรพยาบาลตามเกณฑ์ KEY WORDS วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาและประเมินผลการดำเนินงานเพื่อการคงอยู่ของบุคลากรพยาบาล 1.การคงอยู่ของบุคลากรพยาบาล 2. บุคลากรพยาบาล หมายถึง ผู้สำเร็จการศึกษา จากหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ และสามารถประกอบ อาชีพในด้านบริการสุขภาพอนามัยทั้งในส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือภาคเอกชน 3.แนวทางการดำเนินงานเพื่อการคงอยู่ของบุคลากร พยาบาล หมายถึง แนวทางที่กองการพยาบาล กำหนดขึ้นให้องค์กรพยาบาลของโรงพยาบาลมี 5 องค์ประกอบ • เกณฑ์การประเมิน • 5 ระดับ โรงพยาบาลระดับ A-M1 QA 26 DEC 2018

  47. เกณฑ์การประเมิน ระดับที่ 1 องค์กรพยาบาลของสถานบริการสุขภาพรับฟังคำอธิบายตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อการคงอยู่ของบุคลากรพยาบาล ในการการปฏิบัติการ เรื่อง “ปฏิรูประบบบริการพยาบาลในยุค DIGITAL HEALTH” ในระหว่างวันที่ 14-16 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรมริชมอนด์ ถนนรัตนาธิเบศร์ นนทบุรี ระดับที่ 2 องค์กรพยาบาลของสถานบริการสุขภาพกำหนดแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรม ตามปัจจัยที่ส่งผลต่อคงอยู่ของบุคลากรพยาบาลที่วิเคราะห์ ได้ในปี 2561 (ตามเอกสารแนบท้าย) ระดับที่ 3 องค์กรพยาบาลของสถานบริการสุขภาพ ดำเนินงานตามแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรม โดยมีนักวิชาการพยาบาล ผู้นิเทศการพัฒนาบริการพยาบาลประจำเขตสุขภาพ ผู้บริหารการพยาบาล และคณะกรรมการ ทรัพยากรบุคลากรพยาบาลขององค์กรพยาบาล เป็นที่ปรึกษา ติดตามกำกับ ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ระดับที่ 4 คณะกรรมการทรัพยากรบุคลากรพยาบาลขององค์กรพยาบาลในสถานบริการสุขภาพ ประเมินอัตราการคงอยู่ของบุคลากรพยาบาล ภายหลังการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแบบฟอร์มที่กำหนด ระดับที่ 5 ผู้นิเทศทางการพยาบาลรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปรายงานการดำเนินงาน โดยกำหนดค่าเป้าหมายอัตราการคงอยู่ของบุคลากรพยาบาลที่ระดับร้อยละ 95 เกณฑ์เป้าหมาย QA 26 DEC 2018

  48. สิ่งที่ดำเนินการ นำปัจจัยที่ส่งผลต่อคงอยู่ฯที่วิเคราะห์ในปี 2561 มากำหนดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมและเป้าหมาย ประเมินการคงอยู่ภายหลังการดำเนินแผนงาน/โครงการ QA 26 DEC 2018

  49. A 10. ระดับความสำเร็จของสถานบริการสุขภาพที่องค์กรพยาบาลมีการนำดัชนีองค์กร ที่มีความสุข (Happy Public Organization Index) ไปใช้ตามแนวทางที่กำหนด KEY WORDS องค์กรพยาบาลที่มีการนำดัชนีองค์กรที่มีความสุข (Happy Work Place Index) ไปใช้ตามแนวทางที่กำหนด หมายถึง องค์กรพยาบาลของสถานบริการสุขภาพทุกระดับที่มีการดำเนินการ พัฒนาองค์กรพยาบาล เพื่อส่งเสริม ความสุขในการทำงานของบุคลากรพยาบาลครบทั้ง 5 ระดับ บุคลากรพยาบาล หมายถึง พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการ ด้านสุขภาพโดยตรง แก่ผู้ป่วยและประชาชน จำแนกเป็นข้าราชการ พนักงานของรัฐ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข และลูกจ้างชั่วคราว ทั้งผู้ที่ให้บริการพยาบาลในสถาน บริการและในชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อนำผลการประเมินดัชนีความสุขของบุคลากรพยาบาล (Happy Public Organization Index) มาใช้ในการพัฒนา องค์กร ส่งเสริมความสุขในการทำงานอย่างตรงประเด็น สนับสนุนให้พยาบาลเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน การทำงาน QA 26 DEC 2018

  50. เกณฑ์การประเมิน • ระดับที่ 1 มีการชี้แจงแนวทางการวัดและนำดัชนีความสุขของบุคลากรพยาบาล • ไปใช้ • ระดับที่ 2 มีการประเมินดัชนีความสุข (Happy Public Organization Index) • ของบุคลากรพยาบาล • ระดับที่ 3 มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลดัชนีความสุขของบุคลากรพยาบาล • ระดับที่ 4 มีการทำแผนพัฒนาความสุขของบุคลากรพยาบาล • ระดับที่ 5 มีการดำเนินการตามแผนพัฒนาความสุขของบุคลากรพยาบาล และประเมินผลตามแบบประเมินสุขภาวะภาครัฐ (Happy Public Organization Index) QA 26 DEC 2018

More Related