1 / 71

โครงการ สพร. สัญจร

โครงการ สพร. สัญจร. สำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ. กระทรวงการต่างประเทศ. 22 กุมภาพันธ์ 255 4. วัตถุประสงค์ของโครงการฯ. เพื่อชี้แจงบทบาทของ สพร. และแนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์. 2. บทบาทของ สพร. ต่อ ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา

brede
Télécharger la présentation

โครงการ สพร. สัญจร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการ สพร. สัญจร สำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ 22 กุมภาพันธ์ 2554

  2. วัตถุประสงค์ของโครงการฯวัตถุประสงค์ของโครงการฯ • เพื่อชี้แจงบทบาทของ สพร. และแนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯ • เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์ 2

  3. บทบาทของ สพร. ต่อ ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ระหว่างประเทศ 3

  4. ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา (Official Development Assistance – ODA)

  5. ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา (ODA) ความร่วมมือทางการเงิน(Soft Loan)  ความร่วมมือแบบให้เปล่า(Grant Aid)  ความร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation)

  6. การให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาของไทยการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาของไทย  ความร่วมมือทางการเงิน(Soft Loan)  ความร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation)

  7. หน่วยงานดำเนินงาน -สนง.พัฒนาเศรษฐกิจประเทศเพื่อนบ้าน - สพพ. (Neighboring Countries Economic Development Agency - NEDA) ความร่วมมือทางการเงิน (Soft Loan)

  8. หน่วยงานดำเนินงาน สนง.ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ – สพร. (Thailand International Development Cooperation Agency – TICA) ความร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation)

  9. สำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ระหว่างประเทศ (สพร.) Thailand International Development Cooperation Agency (TICA) กระทรวงการต่างประเทศ

  10. WHO IS TICA

  11. กวส. - สพร. สนง.ความร่วมมือ เพื่อการพัฒนา ระหว่างประเทศ กรมวิเทศสหการ กรมวิเทศสหการ สำนักนายก รัฐมนตรี ก.ต่างประเทศ ก.ต่างประเทศ 2506 - 2545 2545 - 2547 2547 -

  12. ความเป็นมาของ สพร. • พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 กำหนด ให้โอนกรมวิเทศสหการไปเป็นส่วนราชการภายใต้สังกัดกระทรวงการต่างประเทศ และยุบเลิกภายใน 2 ปี • ในปี 2547 กระทรวงการต่างประเทศดำเนินการยุบเลิก กรมวิเทศสหการและจัดตั้งสำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ (สพร.)

  13. อำนาจหน้าที่ สพร. • จัดทำแผน ศึกษา วิเคราะห์นโยบาย ดำเนินโครงการ ติดตามและประเมินผล • บริหารการให้ความช่วยเหลือแก่ต่างประเทศ • ร่วมมือกับต่างประเทศในการพัฒนาทั้งทวิภาคี และพหุภาคี

  14. อำนาจหน้าที่ สพร. • บริหารความร่วมมือด้านทุนต่างประเทศ • ประสานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ • บริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความรู้และผลงาน การพัฒนา

  15. ภารกิจหลักของ สพร. • ให้ความร่วมมือทางวิชาการแก่ประเทศที่กำลังพัฒนาต่างๆ • หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาภายใต้กรอบความร่วมมือและความตกลงระหว่างประเทศทั้งในระดับ ทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี

  16. ภารกิจหลักของ สพร. • พัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อนบ้านและประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคต่าง ๆ • อำนวยสิทธิพิเศษและพัสดุโครงการความร่วมมือเพื่อการพัฒนา

  17. โครงสร้าง สพร. ผอ. สพร. รอง ผอ. สพร. รอง ผอ. สพร. ภารกิจความร่วมมือหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา ภารกิจให้ความร่วมมือเพื่อ การพัฒนากับต่างประเทศ ภารกิจความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สำนักผู้อำนวยการ ภารกิจอำนวยสิทธิพิเศษและพัสดุโครงการ ส่วนวางแผนและติดตามผลการให้ความร่วมมือกับต่างประเทศ กลุ่มงานบริหารงานทั่วไป ส่วนความร่วมมือหุ้นส่วนทวิภาคี ส่วนบริหารงบประมาณความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ส่วนความร่วมมือเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1 ส่วนให้ความร่วมมือกับต่างประเทศ 1 กลุ่มงาน สารสนเทศและประชาสัมพันธ์ ส่วนความร่วมมือหุ้นส่วนพหุภาคี ส่วนความร่วมมือเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2 ส่วนอำนวยสิทธิพิเศษและพัสดุโครงการ ส่วนให้ความร่วมมือกับต่างประเทศ 2

  18. ที่มาของนโยบาย/แนวทางที่มาของนโยบาย/แนวทาง

  19. มติ ครม. นโยบายรัฐบาล ด้านการต่างประเทศ/ การพัฒนา ยุทธศาสตร์ตาม กรอบความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ คณะกรรมการนโยบาย ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และวิชาการกับต่างประเทศ นโยบายของ ประเทศคู่ร่วมมือ ความร่วมมือ เพื่อการพัฒนา

  20. นโยบาย/แนวทางการให้ความร่วมมือฯนโยบาย/แนวทางการให้ความร่วมมือฯ • ส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม • ส่งเสริมการค้าการลงทุนของไทย • ส่งเสริมโอกาสการพัฒนาขีดความสามารถเชิงวิชาการของหน่วยงานไทย • แลกเปลี่ยนความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ วิชาการ • ความร่วมมือระหว่างสถาบัน ไทย - ต่างประเทศ

  21. กลไกการดำเนินงานความร่วมมือ ในประเทศ คณะกรรมการนโยบายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และวิชาการกับต่างประเทศ • คณะอนุกรรมการรวบรวมข้อมูลการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • คณะทำงานจัดทำยุทธศาสตร์การให้ความร่วมมือทางวิชาการ

  22. กลไกการดำเนินงานความร่วมมือฯ ระหว่างประเทศ • การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือ (Joint Commission) • การประชุมความร่วมมือวิชาการประจำปี (Annual Consultation)

  23. แนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯแนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯ • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และพัฒนาสถาบัน • สนับสนุนการดำเนินงานในรูปแผนงาน/โครงการให้เกิดผลเป็นรูปธรรม

  24. แนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯแนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯ • พัฒนาความร่วมมือลักษณะหุ้นส่วน - แหล่งผู้ให้ : Partnership, Trilateral (North – South – South Cooperation) - ประเทศคู่ร่วมมือ : พัฒนาไปด้วยกัน (South – South Cooperation) (South – South – South Cooperation)

  25. แนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯแนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯ • คำนึงถึงความสามารถและความต้องการเร่งด่วนของประเทศคู่ร่วมมือ • ประโยชน์ร่วมกันทั้งฝ่ายไทยและฝ่ายประเทศคู่ร่วมมือ

  26. แนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯDemand – driven Approach

  27. ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ พ.ศ.2550-2554 • ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนารายประเทศ (CLMV) และภายใต้กรอบ ACMECS พ.ศ. 2551-2554 • ร่างยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของไทย - แอฟริกา และไทย - เอเชียกลาง พ.ศ. 2552-2554

  28. ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของไทย 2550-2554 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมและสนับสนุนบทบาทของไทย ในการเป็นศูนย์กลางด้านการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ในระดับนานาชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ ระดับนานาชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมบทบาทและขีดความสามารถของ ผู้เชี่ยวชาญ อาสาสมัครและสถาบันของไทยสู่สากล

  29. ยุทธศาสตร์ที่ 4 การดำเนินงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนา เชิงรุก ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของไทย 2550-2554 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมความร่วมมือเพื่อการพัฒนาในระดับ ภูมิภาค/อนุภูมิภาค ยุทธศาสตร์ที่ 6 การขยายความร่วมมือแบบหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 7 การส่งเสริมความร่วมมือภาครัฐ – เอกชน และภาค ประชาสังคมในการดำเนินงานความร่วมมือเพื่อ การพัฒนา

  30. ประเภทของความร่วมมือทางวิชาการประเภทของความร่วมมือทางวิชาการ • ผู้เชี่ยวชาญ • ทุนศึกษา/ฝึกอบรม/ดูงาน • วัสดุ/อุปกรณ์ • อาสาสมัครเพื่อนไทย(Friend from Thailand)

  31. รูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนารูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • ความร่วมมือแบบทวิภาคี (Bilateral Programme - แผนงาน (Country Program) - โครงการเต็มรูป

  32. รูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนารูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา 2. หลักสูตรฝึกอบรมนานาชาติประจำปี (Annual International Training Courses: AITC) ปี 2554 – 2556 จำนวน 16 หลักสูตร ใน 4 สาขาหลัก Sufficiency Economy, Food Security, Public Health, Global Warming

  33. รูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนารูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา 3. หลักสูตรศึกษาระดับปริญญาโทหลักสูตร นานาชาติประจำปี (Thai International Postgraduate Programme: TIPP) ปี 2554 – 2556 จำนวน 14 สาขา ใน 4 สาขาหลัก Sufficiency Economy, Food Security, Public Health, Global Warming

  34. รูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนารูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศกำลังพัฒนา (Technical Cooperation among developing Countries: TCDC) • ความร่วมมือกับองค์การระหว่างประแทศจัดหลักสูตรศึกษา/ฝึกอบรม/ดูงานในประเทศไทย (Third Country Training Programme: TCTP)

  35. สาขาความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสาขาความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • เกษตรและพัฒนาชนบท • ศึกษา • สาธารณสุข • ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน

  36. สาขาความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสาขาความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • พัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง • พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพลังงาน

  37. กลุ่มประเทศเป้าหมายความร่วมมือฯกลุ่มประเทศเป้าหมายความร่วมมือฯ การกำหนดกลุ่มประเทศเป้าหมาย • ผลกระทบเชิงบวกต่อประเทศไทยและคู่ร่วมมือ • วาระเร่งด่วนของโลกและปัญหาที่เผชิญร่วมกันในภูมิภาค • ฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ร่วมมือ เป็นตัวกำหนดแนวทางการดำเนินงานให้ความร่วมมือ

  38. กลุ่มประเทศเป้าหมายในแต่ละภูมิภาคกลุ่มประเทศเป้าหมายในแต่ละภูมิภาค • กลุ่มประเทศยากจน • กลุ่มประเทศที่มีเศรษฐกิจค่อนข้างดี และใกล้เคียงกับไทย หรือดีกว่า

  39. กลุ่มประเทศเป้าหมายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กลุ่มประเทศเป้าหมายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • กลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า • กลุ่มประเทศที่มีระดับการพัฒนาใกล้เคียงกับไทย ได้แก่ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน • ประเทศเกิดใหม่ในภูมิภาค คือ ติมอร์ เลสเต้

  40. กลุ่มประเทศเป้าหมายตามลำดับความสำคัญกลุ่มประเทศเป้าหมายตามลำดับความสำคัญ • กลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน (C L M V) • กลุ่มประเทศในเอเชียใต้และหมู่เกาะแปซิฟิก (บังคลาเทศ ภูฎาน) • กลุ่มประเทศแอฟริกา • กลุ่มประเทศลาตินอเมริกาและแคริบเบียน • กลุ่มประเทศในตะวันออกกลาง

  41. รูปแบบของความร่วมมือฯรูปแบบของความร่วมมือฯ กลุ่มประเทศยากจน - ไทย เป็น ผู้ให้ - ไทย ร่วมกับแหล่งผู้ให้อื่น กลุ่มประเทศที่มีเศรษฐกิจใกล้เคียงกับไทย หรือ ดีกว่า - ร่วมกันออกค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานร่วมกัน

  42. Colombo Plan MGC ACMECS ASEAN GMS IMT-GT BIMST-EC กรอบความร่วมมือที่สำคัญ

  43. กรอบความร่วมมือในภูมิภาคกรอบความร่วมมือในภูมิภาค GMS : Greater Mekong Sub-Region Ayeyawady- Chao Phraya- Mekong Economic Cooperation Strategy ACMECS : Emerald Triangle Cooperation ETC:

  44. กรอบความร่วมมือในภูมิภาคกรอบความร่วมมือในภูมิภาค MGC : Mekong - Ganga Cooperation JDS: Joint Development Strategy Indonesia Malaysia Thailand Growth Triangle IMT-GT:

  45. Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical & EconomicCooperation BIMSTEC: ASEAN IAI: Initiative for Association of South - East Asian Nations Integration

  46. ความร่วมมือในกรอบภูมิภาค และอนุภูมิภาคต่าง ๆ • GMS • ACMECS • BIMSTEC • IMT- GT • ASEAN – IAI • PIF • CARICOM • FEALAC • Etc. • COLOMBO PLAN • APEC • ASEM • ACD

  47. งบประมาณความร่วมมือเพื่อการพัฒนางบประมาณความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ล้านบาท 900 810 ขอจัดสรร 800 ได้รับอนุมัติ 700 581 547 543 600 532 511 509 480 468 500 422 370 350 345 400 280 300 235 162 200 100 0 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554

  48. เหตุผลของการให้ความร่วมมือเหตุผลของการให้ความร่วมมือ • พันธะต่อประชาคมโลก - ประเทศที่มีความพร้อมและเข้มแข็งช่วยเหลือประเทศที่ยังขาดแคลนและยากจน - ข้อผูกพันต่อการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ

  49. เหตุผลของการให้ความร่วมมือเหตุผลของการให้ความร่วมมือ • การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ตามแนวชายแดน • แก้ไขวิกฤติและลดปัญหาความยากจนของประเทศที่กำลังพัฒนา

  50. ประโยชน์ที่ไทยได้รับ • ส่งเสริมบทบาทของไทยในภูมิภาคต่างๆ • ความไว้วางใจและความเชื่อมั่นที่มีต่อไทย • เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ และความมั่นคง

More Related