1 / 14

บทเรียนเพาเวอร์ พอยท์

บทเรียนเพาเวอร์ พอยท์. ชุดที่ 1. เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. โรงเรียนนาเชือกวิทยา สรรพ์. สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้. เข้าใจเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิต ในเรื่องการเลื่อนขนาน การ สะท้อน การหมุน และสามารถนำไปใช้ได้.

Télécharger la présentation

บทเรียนเพาเวอร์ พอยท์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทเรียนเพาเวอร์พอยท์ ชุดที่ 1 เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนาเชือกวิทยาสรรพ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2

  2. จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ เข้าใจเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิต ในเรื่องการเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน และสามารถนำไปใช้ได้

  3. การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน

  4. การเปลี่ยนตำแหน่งรูปสามเหลี่ยม ABCบนระนาบโดยการเลื่อนขนาน A A’ เลื่อน B C B’ C’

  5. การเปลี่ยนตำแหน่งรูปสามเหลี่ยม ABCบนระนาบโดยการพลิกรูป พลิก A A’ B B’ C C’ l

  6. การเปลี่ยนตำแหน่งรูปสามเหลี่ยม ABCบนระนาบโดยการหมุน หมุน A B’ A’ B C C’

  7. การดำเนินการดังกล่าวทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเฉพาะการดำเนินการดังกล่าวทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเฉพาะ ตำแหน่งเท่านั้นส่วนรูปทรงและขนาดยังคงเท่าเดิม การเปลี่ยนแปลงทางเรขาคณิตในลักษณะนี้ เรียกว่า การแปลง(Transformation)

  8. การแปลงทางเรขาคณิต(Transformation) คือ การดำเนินการซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในเรื่องของ ตำแหน่ง และ/หรือ รูปทรงและ/หรือ ขนาดของวัตถุ

  9. การแปลงที่เป็นการเคลื่อนที่คงรูป สัมพันธ์กับการเท่ากันทุกประการ การแปลงแบบนี้รูปที่เกิดขึ้นจะยังคงรักษาระยะห่างระหว่างจุดสองจุดใด ๆ หลังการแปลง กับระยะห่างระหว่างจุดสองจุดในรูปต้นแบบก่อนการแปลง ได้แก่ การเลื่อนขนาน(Translation) การสะท้อน (Reflection) การหมุน (Rotation)

  10. รูปเรขาคณิตก่อนการแปลง จะเรียกว่า รูปต้นแบบ ส่วนรูปเรขาคณิต หลังการแปลง เรียกว่า ภาพ ที่ได้จากการแปลง A A’ รูปต้นแบบ ภาพ B C B’ C’

  11. ความสัมพันธ์ระหว่างรูปต้นแบบกับภาพความสัมพันธ์ระหว่างรูปต้นแบบกับภาพ เลื่อน A’ A จุด A เป็นรูปต้นแบบของจุด A’ (อ่านว่า เอ ไพร์ม) จุด A’ เป็นภาพที่ได้จากการแปลงจุด A กล่าวว่า จุด Aสมนัยกับจุด A’

  12. กำหนดรูป  ABC เป็นรูปต้นแบบ รูป  A’B’C’ เป็นภาพที่ ได้จากการแปลง  ABC A รูปต้นแบบ A’ ภาพ B C B’ C’ l จุด A สมนัยกับจุด A’ จุด B สมนัยกับจุด B’ จุด C สมนัยกับจุด C’

  13. กำหนดรูป  PQR เป็นรูปต้นแบบ รูป  P’Q’R’ เป็นภาพที่ได้จากการแปลง  PQR หมุน P Q’ P’ Q R R’ จุด P สมนัยกับจุด P’ PQ และ P’Q’ เป็นด้านที่สมนัยกัน จุด Q สมนัยกับจุด Q’ PR และ P’R’ เป็นด้านที่สมนัยกัน QR และ Q’R’ เป็นด้านที่สมนัยกัน จุด R สมนัยกับจุด R’

  14. สรุป รูปต้นแบบและภาพที่ได้จากการแปลงทางเรขาคณิต ภาพ การเลื่อนขนาน รูปต้นแบบ การสะท้อน ภาพ รูปต้นแบบ l การหมุน ภาพ รูปต้นแบบ

More Related