1 / 16

การสร้างแรงจูงใจ เพื่อเสริมสร้างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

การสร้างแรงจูงใจ เพื่อเสริมสร้างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. กรอบและประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของ ก.พ.ร. ปีงบประมาณ 2547. ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ.

Télécharger la présentation

การสร้างแรงจูงใจ เพื่อเสริมสร้างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างแรงจูงใจ เพื่อเสริมสร้างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี กรอบและประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของ ก.พ.ร. ปีงบประมาณ 2547

  2. ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 บัญญัติให้การบริหารราชการและ การปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ลดขั้นตอน ตอบสนองความต้องการประชาชน รวมทั้งมีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ

  3. ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2550) ยุทธศาสตร์ที่ 1 กำหนดให้มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน ปรับปรุงระบบการประเมินผลการดำเนินงาน โดยจัดให้มีการเจรจาและจัดทำข้อตกลงว่าด้วยผลงานประจำปี ให้สอดรับกับแผนยุทธศาสตร์และแผนดำเนินงานรายปีกับหัวหน้าส่วนราชการไว้ล่วงหน้า รวมทั้งให้มี การติดตามประเมินผลทุกสิ้นปี และใช้เป็นเงื่อนไขในการให้เงินรางวัลประจำปีแก่ส่วนราชการ

  4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย • 1. ปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน STRATEGY • 2. ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน STRUCTURE • 3. ปรับรื้อระบบการเงินและการงบประมาณ SYSTEM • 4. สร้างระบบการบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทน STAFF SKILL • 5. ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม SHARE VALUE&STYLE • 6. เสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย • 7. เปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม

  5. ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี ได้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติราชการและสั่งการให้ส่วนราชการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  6. มาตรา 6 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีได้แก่ การบริหารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ดังต่อไปนี้ พระราชกฤษฎีการว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (1) เกิดประโยชน์สุขของประชาชน Customer-Drien (2) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ Result-Based Management (3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ Efficiency and Value of Money (4) ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น Business Process Reengineering (5) มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์ Strategic Vision Management (6) ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ Quality Service (7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ Result-Oriented

  7. หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 9 (1) ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้ล่วงหน้า มาตรา 9 (2) รายละเอียดแผนปฏิบัติราชการต้องมี ขั้นตอน ระยะเวลา งบประมาณใน แต่ละขั้นตอน เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์และตัวชี้วัดความสำเร็จ มาตรา 9 (3) ส่วนราชการต้องจัดให้มีการติดตามและประเมินผลตามแผนฯ มาตรา 14 ให้จัดทำเป็นแผนฯ 4 ปี โดยนำนโยบายรัฐบาลมาดำเนินการ อย่างน้อยต้องมีสาระ สำคัญเกี่ยวกับการกำหนดเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของส่วนราชการบุคคลที่ รับผิดชอบ ประมาณการรายรับ รายจ่าย ทรัพยากรที่ต้องใช้ระยะเวลาดำเนินงาน และติดตามประเมินผล โดย ก.พ.ร. อาจเสนอต่อ ค.ร.ม. เพื่อกำหนดมาตรการ การกำกับ โดยวิธีการจัดทำความตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร

  8. หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 43 ส่วนราชการอาจจัดให้มีการประเมินผลภาพรวมของผู้บังคับ บัญชาแต่ละระดับ มาตรา 45 จัดสรรเงินเพิ่มเติมพิเศษเป็นบำเหน็จความชอบแก่ส่วนราชการที่ ดำเนินการให้บริการที่มีคุณภาพและเป็นไปตาม เป้าหมายที่กำหนด มาตรา 46 จัดสรรเงินรางวัลเพิ่มประสิทธิภาพแก่ส่วนราชการที่สามารถเพิ่มผล งานโดยไม่เพิ่มค่าใช้จ่ายและเกิดความคุ้มค่าต่อภารกิจแห่งรัฐ

  9. การเข้าสู่ระบบการเสริมสร้างแรงจูงใจประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 2 จังหวัดทั้งหมดและส่วนราชการ ระดับกรม ที่ผู้ว่าราชการจังหวัด และหัวหน้าส่วนราชการได้รับคัดเลือก เข้าร่วม Action Learning Progeam วิธีการ ส่วนราชการระดับกรมที่ต้องทำการ พัฒนาการปฏิบัติราชการ ในระดับท้าทาย ส่วนราชการระดับกรมที่ต้องทำการพัฒนาการปฏิบัติราชการภาคบังคับ กลุ่มที่ 1

  10. ผลการปฏิบัติราชการที่ส่วนราชการต้องแสดงผลการปฏิบัติราชการที่ส่วนราชการต้องแสดง 1) เหมือนกลุ่มที่ 1 2) ประเด็นเพิ่มเติมตามที่ คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 วิธีการ 1) เหมือนกลุ่มที่ 1 2) ประเด็นเพิ่มเติมอีก 2 ใน 3 ของประเด็นทั้งหมดที่กำหนดไว้ กลุ่มที่ 1 1) การลดค่าใช้จ่าย 2) การลดอัตรากำลังหรือการจัดสรร 4) คุณภาพการให้บริการ อัตรากำลังให้ทำงานคุ้มค่า 5) ผลสำเร็จในการพัฒนาการปฏิบัติ 3) การลดระยะเวลาการให้บริการ ราชการ(1 กรม 1 ปฏิรูป)

  11. สิ่งจูงใจที่จัดให้แก่ส่วนราชการสิ่งจูงใจที่จัดให้แก่ส่วนราชการ

  12. สิ่งจูงใจที่จัดให้แก่ผู้บริหารระดับสูงของส่วนราชการสิ่งจูงใจที่จัดให้แก่ผู้บริหารระดับสูงของส่วนราชการ • 1. ผู้บริหารระดับสูงของส่วนราชการระดับกรมและจังหวัด จะได้รับ • สิ่งจูงใจ 2 ทาง คือ • + จากส่วนราชการต้นสังกัด • + จากที่จัดให้เฉพาะผู้บริหารระดับสูง • ซึ่งการได้รับสิ่งจูงใจขึ้นอยู่กับระดับการพัฒนาการปฏิบัติราชการ • และข้อตกลงที่ทำไว้ • 2. นำมาตราการเชิงลบมาใช้กับผู้บริหารระดับสูงที่ไม่สามารถบริหาร • ให้เกิดผลงานตามที่ได้ตกลงไว้

  13. มาตรการเชิงบวก สิ่งจูงใจที่จัดให้แก่ผู้บริหารระดับสูงของส่วนราชการ 1.การให้เข้าร่วมอบรม ดูงาน หรือเข้าร่วมการประชุมระดับชาติตาม ความประสงค์ของผู้บริหาร 2.การเลื่อนชั้นตราของเครื่องอสริยาภรณ์ชั้นสายสะพายได้เร็วขึ้น 3.การให้ได้ไปพักผ่อนกับครอบครัว รวมทั้งมีเงินก้นถุงให้ 4. การให้ไดรับการเชิดชูเกียรติคุณหรือโล่จากนายกรัฐมนตรี พ.ศ 2547 และได้รับใบประกาศเกียรติคุณหรือโล่จากนายกรัฐนกยกมนตรี 5.อื่นๆ ตามการตกลงของผู้บริหารของผู้บริหารระดับสูงกับคณะกรรมการเจรจาข้อตกลง

  14. มาตรการเชิงลบ สิ่งจูงใจที่จัดให้แก่ผู้บริหารระดับสูงของส่วนราชการ 1. เปลี่ยนให้ไปดำรงตำแหน่งอื่น 2. ให้ลาออกหรือมอบหมายให้บุคคลอี่นไปเป็นกรรมการใน ในคณะกรรมการต่างๆ แทน ทั้งนี้เพื่อจะได้ใช้เวลาในการพัฒนา การปฏิบัติราชการมากขึ้น 3.อื่นๆตามการตกลงของผู้บริหารระดับสูงกับคณะกรรมการ เจรจาข้อตกลงฯ

  15. การประเมินผลการดำเนินงานประเมินผลในเรื่องอะไรการประเมินผลการดำเนินงานประเมินผลในเรื่องอะไร

  16. กรอบการประเมินผลการพัฒนาการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการพัฒนาการปฏิบัติราชการ มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ แสดงความสามารถในการปฏิบัติราชการ เช่น การลดค่าใช้จ่าย การลดระยะเวลาการให้บริการ และความคุ้มค่าของการใช้เงิน เป็นต้น มิติที่ 2 มิติด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ แสดงคลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายตามที่ได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนผู้รับบริการ เช่น ผลสำเร็จในการพัฒนาการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร แสดงความสามารถในการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงขององค์กร เช่น การลดอัตรากำลัง การมอบอำนาจการตัดสินใจ การอนุมัติ อนุญาต ไปยังระดับปฏิบัติการ การนำระบบอิเลกทรอนิกส์มาใช้กับการปฏิบัติงาน เป็นต้น มิติที่ 3 ด้านคุณภาพการให้บริการ แสดงการให้ความสำคัญกับลูกค้าในการให้บริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ

More Related