1 / 60

การจัดทำรายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ ของหน่วยงานสนับสนุน

การจัดทำรายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ ของหน่วยงานสนับสนุน. วันจันทร์ที่ 2 มิถุนายน 255 1. รศ.นวลจิรา ภัทรรังรอง ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตัว เป็นที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์ เป็นกิจที่หนึ่ง

brigit
Télécharger la présentation

การจัดทำรายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ ของหน่วยงานสนับสนุน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำรายงานประจำปีการประเมินคุณภาพของหน่วยงานสนับสนุน วันจันทร์ที่ 2 มิถุนายน 2551 รศ.นวลจิรา ภัทรรังรอง ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  2. ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตัว เป็นที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์ เป็นกิจที่หนึ่ง ลาภ ทรัพย์ และเกียรติยศ จะตกมาแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งอาชีพ ไว้ให้บริสุทธิ์ พระบรมราชปณิธานของสมเด็จพระบรมราชชนก

  3. วาระการประชุม • คู่มือการจัดทำรายงานประจำปีการประเมินคุณภาพของหน่วยงานสนับสนุน 2. ตัวอย่างการพัฒนาตัวบ่งชี้เฉพาะของหน่วยงานสนับสนุน 2.1 ฝ่ายหอสมุดคุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร 2.2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ 2.3 กองกลาง 2.4 สำนักงานประกันคุณภาพ

  4. กระบวนการจัดทำรายงานประจำปีการประเมินคุณภาพของหน่วยงานสนับสนุนกระบวนการจัดทำรายงานประจำปีการประเมินคุณภาพของหน่วยงานสนับสนุน • การจัดทำแผน (เป้าหมาย) • กระบวนการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล • รูปแบบ SAR ของหน่วยงานสนับสนุน ปีการศึกษา 2550 • การกำหนดค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 • การเขียนผลการดำเนินงาน • SWOT Analysis

  5. 1. การจัดทำแผน (เป้าหมาย) • แผน(เป้าหมาย) 2550-2554 หลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมาย 1. พิจารณาผลการดำเนินงานในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา หรือ 2. พิจารณาเกณฑ์มาตรฐานของ สมศ. และ สกอ. หรือ 3. เป้าหมายของมหาวิทยาลัย 4. ท้าทาย 5. มีพัฒนาการ

  6. 2. กระบวนการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล ทำความเข้าใจกับความหมาย / กรอบเวลา การรวบรวมข้อมูลของแต่ละตัวบ่งชี้ การรวบรวมข้อมูล – Common data set การคำนวณผลการดำเนินงานของแต่ละตัวบ่งชี้ โดยนำข้อมูลจาก Common data set

  7. 2. กระบวนการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล (ต่อ) 1. ทุกคณะ/หน่วยงานตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้องและเผยแพร่ Common data set พร้อม หลักฐานบนเว็บไซต์ของหน่วยงานตามเวลาที่กำหนด พร้อมทั้งแจ้ง E-mail ไปยัง - ผู้รวบรวมข้อมูลส่วนกลาง : psu-qadc@group.psu.ac.th - QMR : psu-qmr@group.psu.ac.th - QAC : psu-qac@group.psu.ac.th - คณะ/หน่วยงานแจ้ง URL มายัง psu-qao@group.psu.ac.th เพื่ออำนวยความสะดวกแก่หน่วยงานกลางในการเข้าถึงข้อมูล 2.คณะ/หน่วยงานตรวจสอบข้อมูลบนเว็บไซต์ของผู้รวบรวมข้อมูลส่วนกลาง (recheck) 3. สำนักงานประกันคุณภาพนัดประชุมเพื่อตรวจสอบข้อมูลครั้งสุดท้ายเพื่อยึดถือข้อมูล ร่วมกันก่อนการจัดทำ SAR ของคณะ/หน่วยงาน กลุ่มสาขาวิชา และมหาวิทยาลัย

  8. 3. รูปแบบ SAR ของหน่วยงานสนับสนุนปีการศึกษา 2550 การจัดทำรายงานประจำปีของหน่วยงานสนับสนุน หน่วยงานสนับสนุนทุกหน่วยงานจะต้องรายงานผลการดำเนินงานซึ่งถือเป็นตัวบ่งชี้พื้นฐานเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนากระบวนการเทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking) ร่วมจำนวน 15 ตัวบ่งชี้ ซึ่งต้องรายงานและประเมินตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด (ยกเว้นเรื่องจำนวนครั้งความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ให้รายงานผลการดำเนินงานเพียงอย่างเดียว)

  9. 3. รูปแบบ SAR ของหน่วยงานสนับสนุนปีการศึกษา 2550 ส่วนประกอบของ SAR • ปก • คำนำ • สารบัญ • ข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยงาน • บทสรุปสำหรับผู้บริหาร • ตารางสรุปคะแนนและผลการประเมินตามภารกิจ • ตารางแสดงผลการดำเนินงาน และผลการประเมินตามภารกิจและตัวบ่งชี้ ผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษาที่รายงาน

  10. 3. รูปแบบ SAR ของหน่วยงานสนับสนุนปีการศึกษา 2550 ส่วนประกอบของ SAR • ผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษา 25xx (SAR-8) • แนวทางการพัฒนาและผลการพัฒนาตามรายงานผลการประเมินคุณภาพของปีที่ผ่านมาและตามรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง • ผลงานนวัตกรรมระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 25xx-4 – 25xx • แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) • ภาคผนวก

  11. แบบฟอร์มที่ 1 ปก (SAR-1) • รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ • ปีการศึกษา 25xx/ปีงบประมาณ 25xx • หน่วยงาน........................................... • วัน/เดือน/ปี

  12. แบบฟอร์มที่ 2 คำนำ (SAR-2) • คำนำ • วัตถุประสงค์ • ภารกิจที่รายงาน • ช่วงเวลาที่รายงาน • อื่น ๆ • ลงชื่อ .………………………. • ( ) • ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน • วัน/เดือน/ปี

  13. แบบฟอร์มที่ 3 สารบัญ (SAR-3) สารบัญ หน้า คำนำ สารบัญ ข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยงาน บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ตารางสรุปคะแนนและผลการประเมินตามภารกิจ ตารางแสดงผลการดำเนินงานและผลการประเมินตามภารกิจ และตัวบ่งชี้ ผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษาที่รายงาน แนวทางการพัฒนาและผลการพัฒนาตามรายงานผลการประเมินคุณภาพ ของปีที่ผ่านมาและตามรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ผลงานนวัตกรรม แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ภาคผนวก - ภาคผนวก ก - ภาคผนวก ข - ภาคผนวก ค - ภาคผนวก ง - อื่น ๆ

  14. แบบฟอร์มที่ 4 ข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยงาน (SAR-4) • ข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยงาน • ความเป็นมา • วัตถุประสงค์และ/หรือภารกิจหลัก • วิสัยทัศน์ • พันธกิจ • โครงสร้างส่วนราชการและการบริหาร • อื่น ๆ

  15. แบบฟอร์มที่ 5 บทสรุปสำหรับผู้บริหาร (SAR-5) • บทสรุปสำหรับผู้บริหาร • ……………………………………………… • ……………………………………………………………… • ผลการดำเนินงานตามภารกิจ • ภารกิจร่วมของหน่วยงาน • …………............................................................................................................................................................ • ภารกิจเฉพาะของหน่วยงาน • …………............................................................................................................................................................ • ภารกิจในฐานะผู้ขับเคลื่อนตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัย • ………….............................................................................................................................................................

  16. แบบฟอร์มที่ 6 (SAR-6)ตารางสรุปคะแนนและผลการประเมินตามภารกิจ

  17. แบบฟอร์ม 7 ตารางแสดงผลการดำเนินงาน และผลการประเมินตามภารกิจและตัวบ่งชี้ (SAR-7)

  18. แบบฟอร์ม 7 ตารางแสดงผลการดำเนินงาน และผลการประเมินตามภารกิจและตัวบ่งชี้ (SAR-7)

  19. แบบฟอร์มที่ 8 ผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษา 25xx (SAR-8)

  20. แบบฟอร์มที่ 8 (ต่อ) ผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษา 25xx (SAR-8)

  21. แบบฟอร์มที่ 9 (SAR-9)แนวทางการพัฒนาและผลการพัฒนาตามรายงานผลการประเมินคุณภาพของปีที่ผ่านมาและตามรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง

  22. แบบฟอร์มที่ 10 (SAR-10) ผลงานนวัตกรรมระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 25xx-4 – 25xx

  23. แบบฟอร์มที่ 11 (SAR-11) แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) • โครงการ – กิจกรรม • หน่วยงาน • คณะทำงานพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) • ข้อมูลทั่วไปของคณะ / หน่วยงาน วิสัยทัศน์ / พันธกิจ บุคลากร / นักศึกษา งบประมาณ / ผลงาน ฯลฯ • แผนงาน (Approach) • กระบวนการ (Process) หรือการปฏิบัติงานตามแผน (Deploy) • จุดแข็ง (Strength) หรือสิ่งที่ทำได้ดีในประเด็นที่นำเสนอ

  24. แบบฟอร์มที่ 11 (SAR-11) แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) • การประเมินทบทวนผลการดำเนินงาน (Assessment & Review) • กลยุทธ์ หรือ ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ • แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต • ผลการดำเนินงาน(Result) (เปรียบเทียบ 3 ปี) และ/หรือเปรียบเทียบกับหน่วยงานภายใน/ภายนอก • บทสรุป • เอกสารอ้างอิง

  25. แบบฟอร์มที่ 12 (SAR-12) ภาคผนวก ก ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินคุณภาพภายในหน่วยงานสนับสนุน

  26. แบบฟอร์มที่ 13 (SAR-13) ภาคผนวก ข การกำหนดแผน / เป้าหมายการดำเนินงานตามภารกิจและตัวบ่งชี้

  27. 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 • การกำหนดค่าน้ำหนักรวมของทุกภารกิจเท่ากับ 100 คะแนน • ตัวบ่งชี้ร่วมของหน่วยงานสนับสนุนจำนวน 40 คะแนน • ตัวบ่งชี้ตามภารกิจของหน่วยงานสนับสนุน 60 คะแนน • ส่วนหน่วยงานที่รับผิดชอบภารกิจในฐานะผู้ขับเคลื่อนตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัย ให้ยึดค่าน้ำหนักและเป้าหมายการดำเนินงานตามมหาวิทยาลัย

  28. 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน ร้อยละ 1-54 ร้อยละ55-79 >ร้อยละ 80 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 1. ประเมินตัวบ่งชี้ในแต่ละภารกิจ คะแนนเต็ม 5 คะแนน 1.1 ประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานของแต่ละตัวบ่งชี้ คะแนนเต็ม 3 คะแนน 1.1.1 การประเมินอิงเกณฑ์ เชิงปริมาณ เช่น ตัวบ่งชี้ 7.12 ร้อยละของบุคลากรประจำสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศและต่างประเทศ ถ้าไม่ถึงร้อยละ1 ประเมินได้ 0 คะแนน (ยกเว้น บางตัวบ่งชี้ที่เกณฑ์การประเมินเป็นระดับ อนุโลมให้ได้คะแนน 1 หากไม่เรียงข้อ)

  29. 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 1 2 >3 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 1.1.2 การประเมินอิงเกณฑ์ เชิงคุณภาพมี 2 แบบ 1. จำนวนระดับ 2. จำนวนข้อ เช่น ตัวบ่งชี้ 7.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอนและการวิจัย (ระดับ) ระดับคุณภาพ 6=มีการเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลของสถาบันผ่านเครือข่ายกับ สกอ.ตามรูปแบบมาตรฐานที่กำหนด 5 = มีการนำผลการประเมินในข้อ 3 และ 4 มาปรับปรุงระบบฐานข้อมูล 4 = มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ฐานข้อมูล 3 = มีการประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบฐานข้อมูล 2 = มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ 1 = มีนโยบายในการจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ

  30. 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน มีการดำเนินงาน 4ข้อ มีการดำเนินงาน ครบทุกข้อ มีการดำเนินงานไม่ครบ4ข้อ 4 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 1.1.3 การประเมินอิงเกณฑ์เชิงคุณภาพ จำนวนข้อ เช่น ตัวบ่งชี้ 7.1 สภาสถาบันใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและผลักดันสถาบันให้แข่งขันในระดับสากล (ข้อ) เกณฑ์การพิจารณา 1 = สภาสถาบันมีบทบาทสำคัญในการกำหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์และนโยบายของสถาบัน 2 = สภาสถาบันมีการติดตามผลการดำเนินงานตามภารกิจหลักของสถาบันมากกว่าปีละ2ครั้ง 3= มีการประชุมกรรมการสภาสถาบันอย่างต่ำร้อยละ 80 ของแผน ในการประชุมแต่ครั้งละมีกรรมการเข้าประชุมโดยเฉลี่ยอย่างต่ำร้อยละ 80 มีการส่งเอกสารให้กรรมการสภาสถาบันอย่างน้อย7 วันก่อนการประชุม 4= สภาสถาบันจัดให้มีการประเมินผลงานของอธิการบดีหรือผู้บริหารสูงสุดตามหลักเกณฑ์ที่ตกลงกันไว้ล่วงหน้า 5= สภาสถาบันมีการดำเนินงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาลและส่งเสริมการบริหารงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาลทั่วทั้งองค์กร

  31. 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 1.2 การประเมินอิงพัฒนาการ คะแนนเต็ม 1 คะแนน พิจารณาจาก - ผลการประเมิน (เทียบเกณฑ์) ปีการศึกษา 2548 (25xx-2) และผลการประเมินปีการศึกษา 2550 (25xx) - ถ้าผลการประเมินปีการศึกษา 2550 สูงกว่าผลการประเมิน ปีการศึกษา 2548 ไม่ต่ำกว่า 1 ระดับ ถือว่ามีพัฒนาการ หรือ ถ้าผลการประเมินปีการศึกษา 2550 อยู่ในระดับ 3 ก็ถือว่ามี พัฒนาการ - ถ้ามีพัฒนาการให้ 1 คะแนน - ถ้าไม่มีพัฒนาการให้ 0 คะแนน

  32. 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 - กรณีเป็นหน่วยงานที่ยังไม่มีผลการดำเนินงาน ปี 2548 (25xx-2) คะแนนพัฒนาการเท่ากับ 0 จึงมีคะแนนเต็มเท่ากับ 4 ในการประเมินปีการศึกษา 2550(25xx) ใช้สูตรเทียบผลการประเมินเต็ม 5 y = mx + c เมื่อ y = คะแนนใหม่ที่ปรับแล้ว x = คะแนนที่ประเมินได้ m = 4/3 c = (-1/3)

  33. ผลการประเมินปีการศึกษา 2548 ผลการประเมินปีการศึกษา 2550 การมีพัฒนาการ 0 0 ไม่มี 0 1 มี 0 2 มี 0 3 มี 1 0 ไม่มี 1 1 ไม่มี 1 2 มี 1 3 มี 2 0 ไม่มี 2 1 ไม่มี 2 2 ไม่มี 2 3 มี 3 0 ไม่มี 3 1 ไม่มี 3 2 ไม่มี 3 3 มี 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 ตารางการตัดสินพัฒนาการ

  34. 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 1.3 การประเมินประสิทธิผลตามแผนของหน่วยงานสนับสนุน ถ้าบรรลุตามแผน/เป้าหมายให้ 1 คะแนน ถ้าไม่บรรลุตามแผน/เป้าหมายให้ 0 คะแนน - KPIs ก.พ.ร. แผนงบประมาณ เป้าหมายของมหาวิทยาลัย - ตัวเลขแผนที่กำหนดไม่ควรต่ำเกินไป - ตัวเลขควรท้าทาย - พัฒนาการควร > ปี 2549

  35. 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 • การประเมินผลระดับภารกิจ • ใช้ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักผลการประเมินรายตัวบ่งชี้เป็นเกณฑ์ • สูตรการคำนวณคะแนนรายองค์ประกอบ • Σ(Wn × In) หรือ = (W1 × I1) + (W2 ×I2) +…+ (Wn × In) • ΣWn W1 + W2 +…+ Wn • W = ค่าคะแนนของตัวบ่งชี้ • I= ค่าคะแนนของตัวบ่งชี้จากการประเมิน • n= ลำดับที่ของตัวบ่งชี้ในแต่ละองค์ประกอบ n= 1,2,3.. n

  36. 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 ตารางสรุปผลการประเมินระดับภารกิจ

  37. 4. การกระจายค่าน้ำหนักรายภารกิจและตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพประจำปีการศึกษา 2550 • 3. การประเมินระดับหน่วยงาน • 1.1 หน่วยงานจะได้รับการรับรอง เมื่อได้คะแนนเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนัก ทั้ง 3 ภารกิจ (ภารกิจร่วมของหน่วยงาน, ภารกิจเฉพาะของ หน่วยงาน, ภารกิจในฐานะผู้ขับเคลื่อนตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัย) ตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป (3.51-5.00) • 1.2 หน่วยงานจะได้รับการรับรองแบบมีเงื่อนไข เป็นไปได้ คือกรณีที่ ผลการประเมินเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนักทั้ง 3 ภารกิจ (ภารกิจร่วมของ หน่วยงาน, ภารกิจเฉพาะของหน่วยงาน, ภารกิจในฐานะผู้ ขับเคลื่อนตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัย) อยู่ใน ระดับพอใช้ (2.51-3.50) • 1.3 หน่วยงานจะไม่ได้รับการรับรองเมื่อไม่เป็นไปตาม 1.1 หรือ 1.2

  38. ภารกิจ/ตัวบ่งชี้ เป็นตัวเลขตามแนวทางของสกอ./ สมศ./ม.อ. วิสัยทัศน์ 5. การเขียนผลการดำเนินงาน ส่วนที่ 1 รายละเอียดผลการดำเนินงาน สรุปความหมายของตัวเลขด้วยการบรรยาย (รายงานผลลัพธ์ก่อน แล้วตามด้วย ทำอย่างไร?) อธิบายเพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่าง Output/ Outcome กับ Process และ Input และกระบวนการ PDCA-Par สรุปผลการประเมิน เทียบเกณฑ์/เทียบพัฒนาการ/เทียบเป้าหมาย รวมคะแนนของตัวบ่งชี้

  39. 5. การเขียนผลการดำเนินงาน ส่วนที่ 2 วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค (SWOT Analysis) และกำหนด กลยุทธ์ และแนวทางพัฒนา เอกสารอ้างอิง

  40. 6. SWOT Analysis S=Strengths(จุดแข็ง) W=Weaknesses(จุดอ่อน) O=Opportunities(โอกาส) T=Threats(อุปสรรค) S+O=ปัจจัยเสริมสร้างศักยภาพขององค์กร W+T=ปัจจัยบั่นทอนศักยภาพขององค์กร

  41. S=Strengths(จุดแข็ง) • ความสามารถและสถานการณ์ภายในองค์กรที่เป็นบวก • นำมาใช้ประโยชน์ในการทำงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ • การดำเนินงานภายในองค์กรที่ทำได้ดี

  42. W S S S S องค์กร W W S W S S W=Weaknesses(จุดอ่อน) • สถานการณ์ภายในองค์กรที่เป็นลบและด้อยความสามารถ • องค์กรไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการทำงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ • การดำเนินงานภายในองค์กรที่ทำได้ไม่ดี

  43. S=Strengths(จุดแข็ง) W=Weaknesses(จุดอ่อน) • Man power • Money • Material • Management

  44. O=Opportunities (โอกาส) • ปัจจัยและสถานการณ์ภายนอกที่เอื้ออำนวยให้การทำงานขององค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ • สภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานขององค์กร

  45. T O O T T องค์กร O O T T=Threats(อุปสรรค) • ปัจจัยและสถานการณ์ภายนอกที่ขัดขวางการทำงานขององค์กร ให้บรรลุวัตถุประสงค์ • สภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นปัญหาต่อการดำเนินงานขององค์กร

  46. ปัจจัยภายนอก 9 ประการ • การเมือง(politics) • เศรษฐกิจ(economics) • สังคม(social) • เทคโนโลยี(technology) • นิเวศวิทยา(ecology) • การแข่งขัน(competition) • กฎหมาย(laws) • โครงสร้างพื้นฐาน(infrastructure) • ประชากร(demography)

  47. ใครคือผู้รับผิดชอบเขียน SWOT Analysis ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติ

  48. ระบบบริหารความเสี่ยง (PSU-QA-RM-MODEL) ทุกคณะ/หน่วยงาน นำจุดอ่อนและ/หรือข้อเสนอแนะ แผนบริหารความเสี่ยง/การควบคุมภายใน อธิการบดี คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน(คตง.)/คณะกรรมการตรวจสอบมหาวิทยาลัย

  49. การจัดทำ E-SAR

  50. ภารกิจในฐานะผู้ขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยภารกิจในฐานะผู้ขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย กองแผนงาน

More Related