1 / 16

ขั้นตอน การปฏิบัติงานในการตรวจประเมิน

การประชุมชี้แจงหลักเกณฑ์และเงื่อนไข คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน คู่มือวิธีการปฏิบัติงาน แบบฟอร์ม ที่เปลี่ยนแปลง วันที่ 8 มิ.ย 55 ณ. ห้องประชุมอานนท์ กรมประมง --------------------------------------- วาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ ข้อ 2.2.2 เรื่องที่เกี่ยวข้องกับผู้ตรวจประเมิน.

bruis
Télécharger la présentation

ขั้นตอน การปฏิบัติงานในการตรวจประเมิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมชี้แจงหลักเกณฑ์และเงื่อนไข คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน คู่มือวิธีการปฏิบัติงาน แบบฟอร์ม ที่เปลี่ยนแปลง วันที่ 8 มิ.ย 55 ณ. ห้องประชุมอานนท์ กรมประมง --------------------------------------- วาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ ข้อ 2.2.2 เรื่องที่เกี่ยวข้องกับผู้ตรวจประเมิน

  2. PM-AU-05วางแผนการตรวจประเมิน • จัดทำแผนตรวจประเมิน (F-AU-12) ก็ต่อเมื่อได้รับ F-AD-05 จาก ศรฟ. เท่านั้น • ตั้งทีมผู้ตรวจประเมิน /นัดเกษตรกร • หากมีการเปลี่ยนแปลงให้แจ้ง ศรฟ. ทราบทุกครั้งตามแบบแจ้งเปลี่ยนแปลงแผนฯ และทำรายงานการยืนยันแผนฯ ส่งทุกสิ้นเดือน ขั้นตอนการปฏิบัติงานในการตรวจประเมิน

  3. ทำการตรวจประเมิน (PM-AU-06,07,08) • การเตรียมการตรวจประเมิน • ระหว่างการตรวจประเมิน • หลังการตรวจประเมิน ขั้นตอนการปฏิบัติงานในการตรวจประเมิน

  4. ศึกษาคำขอรับการรับรองเอกสารประกอบการขอรับการรับรอง จัดทำกำหนดการตรวจประเมิน (F-AU-14) จัดเตรียมแบบประเมิน (Checklist) ศึกษาเกณฑ์การประเมิน และเอกสารประกอบ ได้แก่ แบบรายงานข้อบกพร่อง แบบแนวทางการแก้ไขจากผู้ผลิต/กลุ่มผู้ผลิต ทบทวนสมรรถนะระบบ(ต่ออายุ) (F-AU-35) แจ้งกำหนดการตรวจประเมินพร้อมกับรายชื่อคณะผู้ตรวจประเมิน ห้อง lab ที่ใช้ ให้แก่ผู้ขอรับการรับรองทราบและเห็นชอบ การเตรียมการตรวจประเมิน

  5. ตัวอย่างกำหนดการตรวจประเมินตัวอย่างกำหนดการตรวจประเมิน เอกสารแนบ

  6. เปิดประชุม โดยหัวหน้าผู้ตรวจประเมิน โดยดูรายการที่ชี้แจงในใบรายการประเมินสมรรถนะผู้ตรวจประเมิน (F-AU-11) เก็บข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงตามข้อกำหนด โดยการสัมภาษณ์ / คู่มือฟาร์ม / ดูบันทึก /ดูเอกสารหลักฐานประกอบ เก็บตัวอย่างสัตว์น้ำ / น้ำ / ปัจจัย (ถ้ามี) ทุกครั้งที่ตรวจประเมินครั้งแรกและตรวจต่ออายุ WI-AU-01,02,03,05 เก็บตัวอย่างปัจจัย สัตว์น้ำ น้ำ บางครั้งตามความเสี่ยง กรณีตรวจติดตาม ระหว่างการตรวจประเมิน

  7. ตรวจติดตามการใช้เครื่งหมายรับรอง / ข้อร้องเรียน (F-AU-86) กรณีตรวจติดตาม/ต่ออายุ ประชุมสรุป ระหว่างคณะผู้ตรวจประเมิน บันทึก checklist ให้เรียบร้อย เน้นให้สรุปว่าเป็นไปตามข้อกำหนดหรือไม่ มี ข้อเด่น ข้อด้อย ข้อสังเกต อะไรบ้างทุกครั้ง มีข้อบกพร่องหรือไม่ สำคัญมาก หรือสำคัญน้อย ประชุมปิด โดยหัวหน้าผู้ตรวจประเมินนำปิดประชุม โดย โดยดูรายการที่ชี้แจงในใบรายการประเมินสมรรถนะผู้ตรวจประเมิน (F-AU-11) ระหว่างการตรวจประเมิน

  8. ส่งตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ยาตกค้าง อย่างน้อย 2 ชนิด ตรวจวิเคราะห์น้ำ โดยเฉพาะ Total Coliform, Total Fecal Coliform คุณภาพน้ำทิ้งตาม มกษ. และส่งตรวจปัจจัยการผลิต (ถ้ามี) ปิดข้อบกพร่อง หากสำคัญมาก ต้องไปปิดที่ฟาร์ม หากสำคัญน้อยอาจให้เกษตรกรเสนอแนวทางการแก้ไขให้คณะผู้ตรวจประเมินพิจารณาเห็นชอบ ทั้งนี้ดูเงื่อนไขตาม PM-AU-06,07,08 ด้วย ส่งเอกสารตัวจริงการตรวจประเมิน ผลเนื้อ ผลน้ำ ผลปัจจัย ข้อบกพร่อง แนวทางการแก้ไข ให้ ศรฟ. เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ หลังการตรวจประเมิน

  9. กรณีที่เป็นข้อบกพร่องสำคัญมาก (major car) 1. พบสารตกค้างในเนื้อสัตว์น้ำ - พบยาเกินมาตรฐานที่กำหนด ให้แจ้งเกษตรกรไม่ให้การรับรอง โดยทำหนังสือจากหน่วยงานแจ้งเกษตรกร ให้สำเนาหนังสือและเอกสารการตรวจประเมินให้ ศรฟ. ด้วย - พบยาตกค้างในปริมาณต่ำ ไม่เกินมาตรฐาน ให้เป็นข้อบกพร่องสำคัญมาก ให้พยายามหาสาเหตุ ต้นตอของสาเหตุให้ได้ ประเด็นสำคัญ GAP กุ้งทะเลกรมประมง

  10. กรณีที่เป็นข้อบกพร่องสำคัญมาก (major car) 2. ข้อ การใช้ยาสัตว์ สารเคมี วัตถุอันตราย ที่ไม่ขึ้นทะเบียน 3. ผล TC เกินกำหนด นอกนั้นเป็นข้อบกพร่องสำคัญน้อย (minor car) ประเด็นสำคัญ GAP กุ้งทะเลกรมประมง

  11. การจำแนกข้อบกพร่องสำคัญมาก (major car) ข้อต้องปฏิบัติ ทุกข้อ • สำคัญน้อย (minor car) ข้อควรปฏิบัติ และ ข้อแนะนำ ทุกข้อ • จำนวนกุ้งที่ปล่อย เนื่องจากเป็นเรื่องของสวัสดิภาพสัตว์ ให้พิจารณาหากเป็นการจับแบบ partial ต้องระบุขนาดที่จับและการย้ายบ่อในคู่มือให้ชัดเจน • การรวมกลุ่ม หากในพื้นที่ไม่มีกลุ่มหรือชมรม ให้ระบุให้ชัดเจน • น้ำทิ้ง การเก็บตัวอย่าง การวิเคราะห์ต้องมีครบ หากมีการทิ้งน้ำ และบ่อที่เป็นน้ำมากกว่า 10 ไร่ขึ้นไป ประเด็นสำคัญ GAP กุ้งทะเล มกษ./Coc

  12. การจำแนกข้อบกพร่องสำคัญมาก (major car) ผ่าน/ไม่ผ่าน • การจำแนกข้อบกพร่องสำคัญน้อย (minor car) ข้อให้คะแนน ทุกข้อ • ทะเบียนฟาร์ม โดยเฉพาะกรณีกระชัง • สุขอนามัยฟาร์ม ; ที่เก็บอาหาร ห้องน้ำ สัตว์เลี้ยง • การวิเคราะห์น้ำทิ้ง • FMD, MD • การจดบันทึกข้อมูล • มักไม่ระบุรายละเอียด • การเขียนสรุป ข้อบกพร่อง แนวทางการแก้ไขข้อบกพร่อง ประเด็นสำคัญ GAP ปลานิล

  13. การจำแนกข้อบกพร่องสำคัญมาก (major car)สำคัญน้อย (minor car) • การเขียน ข้อบกพร่องและแนวทางการแก้ไข • การระบุ ระยะเวลาการแก้ไขข้อบกพร่อง • การตรวจสอบข้อบกพร่อง การจัดการข้อบกพร่อง

  14. PM-AU-02 คำขอ , PM-AU-12 หน่วยภายนอก • PM-AU-03,04,19 ผู้ตรวจประเมิน • PM-AU-06,07,08,14 การตรวจประเมิน • WI-AU-01 เก็บสัตว์น้ำ, WI-AU-12 ภายนอก • F-AU-14 กำหนดการตรวจประเมิน • F-AU-35ทบทวนสมรรถนะระบบ(ต่ออายุ) เอกสารที่มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข เพิ่มเติม

  15. F-AU-11 รายการประเมินสมรรถนะ • F-AU-86 ตรวจติดตามการใช้เครื่องหมายรับรอง / ข้อร้องเรียน • F-AU-87 ข้อตกลงปฏิบัติงานของผู้ตรวจประเมินภายนอก • F-AU-88 ข้อตกลงปฏิบัติงานฯ หน่วยภายนอก • กำลังขอข้อคิดเห็นเรื่อง mandayจะแก้ไขต่อไป เอกสารแนบ เอกสารที่มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข เพิ่มเติม

More Related